รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 11 ต.ต. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Friday October 18, 2024 14:51 —กระทรวงการคลัง

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? สถานการณ์เศรษฐกิจในเดือน ก.ย. 67 เงินเฟ้อทั่วไป เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 ต่อปี โดยปัจจัยสาคัญมาจาก

การสูงขึ้นของราคาน้ามันดีเซล ซึ่งสูงกว่าช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน รวมถึงผักสดบางชนิดได้รับผลกระทบ

จากสถานการณ์อุทกภัย และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นร้อยละ 0.8 ต่อปี ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ยอดจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ใหม่ยังคงหดตัวร้อยละ -15.5 ต่อปี ด้านการลงทุนภาคเอกชน ปริมาณรถยนต์

เชิงพา ณิชย์จ ดทะเบียนให ม่หดตัวร้อยล -21 .6 ต่อปี แล ดัชนีราคาวัสดุก่อ สร้างเ พิ่มขึ้น ร้อยล

0.5 ต่อปี และในด้านภาคการท่องเที่ยว วันที่ 30 ก.ย. ? 6 ต.ค. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 638,159 แสนคน

โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนโดยมีจานวนเพิ่มขึ้น โดยได้รับปัจจัยบวกจากช่วงวันหยุดยาวในตลาดหลัก

แ ล ห นี้ส ธ รณะ ค ง ค้า ง ณ สิ้น เ ดือ น ส . ค . 6 7 มีจ น วน ทั้ง สิ้น 1 1 .7 ล้า น ล้า น บ ท ห รือ คิด เ ป็น

ร้อยละ 64.02 ของ GDP ซึ่งยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกิน

ร้อยละ70 ของ GDP และหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว

? ปัจจัยท้าทายหลักที่ส่งผลกระทบเครื่องชี้เศรษฐกิจ ได้แก่ หนี้ครัวเรือนสูง นโยบายสินเชื่อเข้มงวด ทั้งนี้ ภาครัฐ

อาจพิจารณามาตรการแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือน ส่งเสริมนโยบายสินเชื่อที่ยืดหยุ่นมากขึ้น และภาครัฐอาจมี

มาตรการเพิ่มการใช้จ่าย/คน/ทริป ของนักท่องเที่ยวเนื่องจากมีแนวโน้มการใช้จ่าย/คน/ทริป ลดลง

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ก.ย. 67 เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.66ต่อปี

?

เงินเฟ้อทั่วไปเดือนกันยายน 2567 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 (YoY) โดยปัจจัยสาคัญมาจากการสูงขึ้นของราคาน้ามันดีเซล ซึ่งสูงกว่าช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน รวมถึงผักสดบางชนิดได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย อย่างไรก็ตาม ราคาแก๊สโซฮอล์และน้ามันเบนซินปรับลดลงในทิศทางที่สอดคล้องกับราคาน้ามันในตลาดโลก และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าเงินเฟ้อทั่วไปลดลง ร้อยละ -0.10 (MoM) เป็นผลจากราคาน้ามันเชื้อเพลิงในประเทศ (แก๊สโซฮอล์และน้ามันเบนซิน) และราคาผลไม้สดบางชนิดลดลง และเมื่อเทียบเฉลี่ย 9 เดือน สูงขึ้นร้อยละ 0.2 (YTD)

?

เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงของหมวดสินค้าที่ส่งกระทบต่อเงินเฟ้อ (Contribution YoY) รายหมวดหลัก พบว่าเงินเฟ้อหมวดพลังงานและอาหารสดมีความผันผวนสูง จากราคาพลังงานที่เคลื่อนไหวตามตลาดโลกและมาตรการภาครัฐ รวมถึงราคาผักผลไม้มีการเปลี่ยนแปลงตามความผันผวนของสภาพอากาศ ขณะที่เงินเฟ้อพื้นฐานพบว่ามีแนวโน้มทรงตัวและขยายตัวเล็กน้อย จากการทยอยปรับขึ้นราคาสินค้าของผู้ประกอบการ

?

เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นร้อยละ 0.8 (YoY) เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าสูงขึ้นร้อยละ 0.11 (MoM) และเมื่อเทียบเฉลี่ย 9 เดือนสูงขึ้นร้อยละ 0.5 (YTD)

Inflation Rate

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q2

Q3

Aug

Sep

YTD

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป

1.2

0.8

0.6

0.4

0.6

0.2

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน

1.3

0.4

0.5

0.6

0.8

0.5

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือนก.ย. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.50.5เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

และดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างไตรมาสที่33ปี 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ย. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.50.5เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยมีสาเหตุจากการสูงขึ้นของดัชนีราคาหมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต และหมวดวัสดุฉาบผิว เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 2.9 1.21.2และ 0.50.5ตามลาดับ เนื่องจากการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ รวมทั้งต้นทุนค่าดาเนินการและค่าวัตถุดิบสูงขึ้น ขณะที่หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ลดลงจากอุปทานเหล็กส่วนเกินสูงจากจีนกดดันราคาเหล็กในตลาดโลกและการชะลอตัวของโครงการก่อสร้างภาคเอกชนในประเทศ

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.ย. 67หดตัวที่ร้อยละ -15.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลหดตัวที่ร้อยละ -1.4

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัวชะลอลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับเดือนก่อน และยังคงได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ จากปัญหาหนี้เสียในสินเชื่อกลุ่มนี้ที่อยู่ในระดับสูง และปัญหาหนี้ครัวเรือนสร้างแรงกดดันต่อกาลังซื้อผู้บริโภคให้ชะลอตัวลง อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยว และรายได้เกษตรกรที่แท้จริงขยายตัวดีขึ้น ยังคงเป็น ปัจจัยสนับสนุนการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไปต่อไป

ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ 21.621.6เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลหดตัวที่ร้อยละ 4.3

ในเดือน ส.ค. 6767ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่หดตัวร้อยละ 21.621.6และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล(Van และ Pick up หดตัวที่ร้อยละ 29.029.0ซึ่งเป็นการหดตัวอย่างต่อเนื่อง จากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อจากปัญหาหนี้เสีย รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่ยังอยู่ในระดับสูงโดยจะส่งผลต่อผู้ประกอบการ

?วันที่ 3030ก.ย 6 ต.ค. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 638,159 แสนคน โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนโดยมีจานวนเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มตลาด โดยส่วนหนึ่งได้รับปัจจัยบวกจากช่วงวันหยุดยาวในตลาดหลัก ทั้งนี้ หากสามารถรักษาบรรยากาศการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้ในระดับเดียวกันตลอดทั้งเดือน ก็คาดว่าจะทาให้มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาในเดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ 2.9 ล้านคน ตามที่ สศค. คาดการณ์

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2567และคาดการณ์

จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ 4อันดับแรกรายสัปดาห์ในปี 2567

ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา

5

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลttกีฬา

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 30 ก.ย 6ต.ค. 67มีจานวนนักท่องเที่ยว 6.4แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 6 ต.ค. 67 (YTD) มีจานวนทั้งสิ้น 26.6ล้านคน สร้างรายได้ 1.2 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,694 บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มตลาด โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวจีนและเกาหลีใต้ที่เพิ่มขึ้นจากอานิสงส์วันหยุดยาวในช่วงวันชาติใน 2 ประเทศดังกล่าว ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียลดลงหลังจากหมดช่วงวันหยุดวันชาติและปิดเทอมในมาเลเซีย ขณะที่ นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล อาทิ ยุโรป และอเมริกามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการเข้าสู่ช่วง High SeasonSeasonทั้งนี้ มาตรการ Ease of

travelingtravelingที่ภาครัฐดาเนินการอยู่ ถือเป็นส่วนสาคัญในการกระตุ้นการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ อย่างไรก็ดี ภาครัฐอาจมีมาตรการเพิ่มการใช้จ่าย/คน/ทริป ของนักท่องเที่ยวเนื่องจากมีแนวโน้มการใช้จ่าย/คน/ทริป ลดลง

ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มเป็นไปตามที่จากจานวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นในช่วง High Season โดย สศค. คาดการณ์ว่าปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000 บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ก.ค. 67

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

6

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ส.ค. 67 มีจานวนทั้งสิ้น11 7 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 64.02 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 86,262.41ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 85.17ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.93ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือนส.ค. 67คิดเป็น 2.02 เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ 5.5.57 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)

ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

อัตราการว่างงานในเดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 4.1 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.2ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ส.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 4.9ต่อปี จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ส.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 4.1ต่อปี จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า

ดุลการค้า เดือน ส.ค. 67 ขาดดุลที่ -97.8 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ -101หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 ปรับตัวลดลงเป็นร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.5 สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เล็กน้อยที่ร้อยละ 2.3 ในขณะที่ Core inflation rate รายปีเดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 ปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากระดับต่าสุดในรอบกว่า 3ปี ที่ร้อยละ 3.2ติดต่อกันเป็นระยะเวลาสองเดือน

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (29ก.ย. -5ต.ค. 67) อยู่ที่ 2.58แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.25แสนราย และสูงกว่าที่ตลาดคาดการ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average)

ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.31 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -0.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ยูโรโซน

ญี่ปุ่น

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน ส.ค. 67 เกินดุล 3,803.6 พันล้านเยน ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 19 โดยบัญชีสินค้าขาดดุล -377.9 พันล้านเยน (ส่งออกขยายตัว ร้อยละ 6.5 ต่อปี นาเข้าขยายตัวร้อยละ 1.3ต่อปี) บริการขาดดุล -104.9พันล้านเยน รายได้หลักเกินดุล 4,700.6พันล้านเยน รายได้รองขาดดุล -414.4พันล้านเยน

ยอดสั่งซื้อเครื่องกลโรงงาน (machine tool order) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ 125,297 ล้านเยน ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่สอง จากอุปสงค์ในประเทศลดลงร้อยละ -7เหลือ 41,875ล้านเยน คาสั่งซื้อต่างประเทศลดลงร้อยละ -6.2เหลือ 83,422พันล้านเยน

สหราชอาณาจักร

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้าง (S&P Global Construction PMI)PMI)(final)

เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 57.2 เพิ่มขึ้นจากระดับ 53.6ในเดือนก่อนหน้า และเหนือกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 53.1โดยได้แรงหนุนหลักจากคาสั่งซื้อสินค้าใหม่

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.82 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.36 และสูงกว่าคาดการณ์ของตลาดที่อยู่ที่ร้อยละ 2.00 อัตราเงินเฟ้อดังกล่าวถือเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 67อันเนื่องจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหาร เป็นสาคัญ

การส่งออก เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 16.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 9.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 โดยได้รับปัจจัยกดดันจากการชะลอตัวของยอดส่งออกสินค้าในหมวดพลาสติกและยาง และหมวดเครื่องจักร เป็นสาคัญ

การนาเข้า เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 17.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 11.8 และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 11.0 การนาเข้าในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าในหมวดชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ หมวดอุปกรณ์สาหรับสารสนเทศ การสื่อสาร และโสตทัศนูปกรณ์ หมวดเครื่องจักร และหมวดเคมีภัณฑ์ เป็นสาคัญ

ดุลการค้า เดือน ก.ย. 67 เกินดุลอยู่ที่ 7.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 11.5พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ 10.2พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ยอดค้าปลีกเดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับปัจจัยกดดันจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของสินค้าใน หมวดสินค้าอื่น ๆ ในร้านค้าเฉพาะทาง หมวดค้าส่ง และหมวดยายนยนต์เป็นสาคัญ

ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.3และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 5.4นับเป็นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8แต่เป็นการขยายตัวในอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ พ.ค. 67

อัตราการว่างงานเดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.2 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.3 ตัวเลขดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 63

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

รื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

อินโดนีเซีย

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 123.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 124.4จุด

ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยยอดค้าปลีกส่วนใหญ่ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากหมวดอาหารและเชื้อเพลิง เป็นสาคัญ

ยอดขายรถยนต์ เดือน ก.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -9.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -14.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการ (HSBC India Services PMI)PMI)( เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 57.7 ลดลงจากระดับ 60.9ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการชะลอตัวของธุรกิจใหม่ ผลผลิต และยอดขายระหว่างประเทศ

ธนาคารกลางอินเดีย (RBI) คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Repo rate) ที่ร้อยละ 6.5 ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 10ในเดือน ก.ย. 67เปิดประตูสู่การปรับลดอัตราดอกเบี้ยท่ามกลางสัญญาณเริ่มต้นของการชะลอตัวของเศรษฐกิจ

อินเดีย

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน ส.ค. 67 เกินดุล 6.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากที่เกินดุล 8.97 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในเดือนก่อนหน้า โดยบัญชีสินค้าเกินดุล 6.59พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (การส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 7.1ต่อปี อยู่ที่ 57.45พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และการนาเข้าขยายตัวร้อยละ 4.9ต่อปี ที่ 50.86พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) บริการขาดดุล -1.23พันล้านดอลลาร์สหรัฐ บัญชีรายได้หลักเกินดุล 1.69พันล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้รอง เกินดุล 0.46พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ธนาคารกลางเกาหลี (BOK) ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยนโยบางลงร้อยละ 0.25 สู่ระดับร้อยละ 3.25 ในรอบประชุมเดือน ต.ค.67 ซึ่งเป็นการปรับลดครั้งแรกนับจาก พ.ค.63 หลังจากที่เงินเฟ้อของเกาหลีใต้ปรับตัวลงแตะระดับร้อยละ1.6 ในเดือน ก.ย.67 ซึ่งเป็นระดับต่าสุดในรอบกว่า 3 ปี และต่ากว่าเป้าหมายที่ BOKBOKกาหนดไว้ที่ร้อยละ 2ขณะที่ จากตลาดอสังหาริมทรัพย์เริ่มชะลอตัว

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -3.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -3.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

นี

ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -0.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวสูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 65

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นPSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) NikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 1010ต.ค. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,468.5268.52จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 7 1010ต.ค. 67 อยู่ที่551,006.61 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 7 -10ต.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -5,174.17 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 6 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 ปี และ 11 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.80 และ 2.54 เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่7 -10 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -7,635.44 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 10 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-27,315.60 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่10 ต.ค. 67เงินบาทปิดที่ 33.51บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -1.41จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.30

ที่มา: กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ