เศรษฐกิจไทย
สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด
? สถานการณ์เศรษฐกิจเดือน ก.ย. 67 ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมที่ลดลงต่อเนื่องเป็น
เดือนที่ 2 มาอยู่ที่ระดับ 87.1 จากการลดลงของยอดคาสั่งซื้อโดยรวม ด้านการลงทุนเอกชน ปริมาณการ
จาหน่ายปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.4 เนื่องจากการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณในโครงการก่อสร้างของภาครัฐและ
การเร่งก่อสร้างของหน่วยงานต่าง ๆ ด้านการท่องเที่ยวในช่วง 7-13 ตุลาคม 2567 มีนักท่องเที่ยว 575,415 คน
ลดลงจากสัปดาห์ก่อนโดยเฉพาะในตลาดเอเชียหลังจบช่วงวันหยุดยาว ขนาดที่ตลาดระยะไกลจะมีแนวโน้มฟื้นตัว
ดีขึ้นจากการเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยว
? ปัจจัยท้าทายหลักที่ส่งผลกระทบเครื่องชี้เศรษฐกิจ ได้แก่ ปัจจัยมาจากสถานการณ์น้าท่วมที่ส่งผลกระทบต่อ
กาลังซื้อในภาคเกษตร การแข่งขันที่รุนแรงจากสินค้านาเข้าราคาถูก และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่ยังคงอยู่ในระดับสูง
ทั้งนี้ ภาครัฐอาจพิจารณามาตรการแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือน ส่งเสริมนโยบายสินเชื่อที่ยืดหยุ่นมากขึ้น และ
ภาครัฐอาจมีมาตรการเพิ่มการใช้จ่าย/คน/ทริป ของนักท่องเที่ยวเนื่องจากมีแนวโน้มการใช้จ่าย/คน/ทริป
ลดลง
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
3
Thai Industries Sentiment Index : TISI
Indicators
2023 2024
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Aug Sep YTD
TISI 92.6 91.0 88.7 88.0 87.7 87.1 89.2
TISI (E) 100.6 99.7 95.8 95.3 93.9 96.7 96.9
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 87.1
*ประกอบด้วย ยอดคาสั่งซื้อโดยรวม ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการ และ
ผลประกอบการ
ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนกันยายน 2567 ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 โดยลดลงจาก 87.7 ในเดือน
สิงหาคม มาอยู่ที่ 87.1 ในเดือนกันยายน ซึ่งเป็นการปรับตัวลดลงในทุกองค์ประกอบย่อยของดัชนี* โดยเฉพาะยอดคาสั่งซื้อโดยรวม
ที่ลดลงมากที่สุดจาก 88.8 เหลือ 84.9 สะท้อนถึงอุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศที่ชะลอตัวลง ปัจจัยลบสาคัญที่กดดันความเชื่อมั่น
ภาคอุตสาหกรรมประกอบด้วย สถานการณ์น้าท่วมที่ส่งผลกระทบต่อกาลังซื้อในภาคเกษตร ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่ยังคงอยู่ใน
ระดับสูง และการแข่งขันที่รุนแรงจากสินค้านาเข้าราคาถูก อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยบวกจากการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐและ
การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว สาหรับดัชนีคาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 93.9 เป็น 96.7 สะท้อนถึง
ความคาดหวังในทิศทางบวกต่อเศรษฐกิจในอนาคต โดยคาดว่าจะได้แรงหนุนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐเป็นสาคัญ
ที่มา : 3 บริษัทเอกชน คานวณ โดย สศค.
ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.4 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -0.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน
Cement Sales
Indicators
(%yoy)
2023 2024
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Aug Sep YTD
ยอดขาย
ปูนซีเมนต์
1.2 -9.1 -8.9 4.8 5.7 8.4 -4.6
%mom,
%qoq
- -5.4 3.7 12.5 3.2 -0.2
ในเดือน ก.ย. 67 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์กลับมาขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการเร่งเบิกจ่าย
งบประมาณในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ และการเร่งก่อสร้างของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งโครงการใหม่และโครงการ
ต่อเนื่อง ทาให้มีความต้องการใช้ปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้น นอกจากนี้การที่เศรษฐกิจขยายตัวได้ต่าทาให้กาลังซื้อใน
ภาคอสังหาริมทรัพย์ลดลงจะส่งผลให้ความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ในการก่อสร้าง
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
?วันที่ 7 1313ต.ค. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 575,415575,415คน โดยมีแนวโน้มลดลงจากสัปดาห์ก่อนโดยมีจานวนลดลงอย่างมีนัยสาคัญในตลาดเอเชีย หลังจากหมดเทศกาลวันหยุดยาวในหลายประเทศ ขณะที่ตลาดระยะไกล มีแนวโน้วฟื้นตัวดีขึ้นจากการเข้าสู้ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว และหากมีการฟื้นตัวต่อเนื่องก็คาดว่าจะทาให้จานวนนักท่องเที่ยวในเดือน ต.ค. เป็นไปตามคาดการณ์?
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2567และคาดการณ์
จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ 4อันดับแรกรายสัปดาห์ในปี 2567
ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
4
ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลttกีฬา
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 7 13ต.ค. 67มีจานวนนักท่องเที่ยว 5.88แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค 1313ต.ค. 67 (YTD) มีจานวนทั้งสิ้น 27.2
ล้านคน สร้างรายได้ 1.33ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,67676บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีแนวโน้มลดลง จากการสิ้นสุดช่วงเทศกาลวันหยุดยาวช่วงวันชาติในประเทศจีนและเกาหลีใต้ ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมีแนวโน้มทรงตัว อย่างไรก็ดีนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล อาทิ ยุโรป และอเมริกามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการเข้าสู่ช่วง High SeasonSeasonทั้งนี้ มาตรการ Ease of
travelingtravelingที่ภาครัฐดาเนินการอยู่ ถือเป็นส่วนสาคัญในการกระตุ้นการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ อย่างไรก็ดี ภาครัฐอาจมีมาตรการเพิ่มการใช้จ่าย/คน/ทริป ของนักท่องเที่ยวเนื่องจากมีแนวโน้มการใช้จ่าย/คน/ทริป ลดลง
ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวในช่วงเดือน ก.ย. และ ต.ค. ส่งสัญญาณว่าอาจมีจานวนต่ากว่าคาดการณ์เล็กน้อย ดังนั้น หากช่วงที่เหลือของปีจานวนนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกลฟื้นตัวดีในช่วง High SeasonSeasonก็คาดว่าจานวนนักท่องเที่ยวปี 2567 จะยังคงเป็นไปตามที่ สศค. คาดการณ์ว่า ปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000 บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ก.ค. 67 )
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.6 โดยลดลงกว่าเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.9 ขณะที่ดัชนีราคาผลิตพื้นฐาน (core PPI) ออกมาที่ร้อยละ 2.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงกว่าที่ตลาดคาดเช่นกัน
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (6-12 ต.ค. 67) อยู่ที่ 2.41 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.60 แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.36 แสนราย
สหรัฐอเมริกา
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 0.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -2.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวที่ร้อยละ -1.0
ธนาคารกลางยุโรป (ECB) มีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.25ในการประชุมวันที่ 17 ต.ค. 67 ตามการคาดการณ์ของตลาด และเป็นการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งที่ 3 ในปีนี้ หลังการปรับลดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในเดือน มิ.ย. 67 การปรับลดอัตราดอกเบี้ยของ ECB
ในการประชุมครั้งนี้ ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากอยู่ที่ระดับร้อยละ 3.25ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้อยู่ที่ระดับร้อยละ 3.65 ส่วนอัตราดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์อยู่ที่ระดับร้อยละ 3.40
ยูโรโซน
ญี่ปุ่น
ดุลการค้า เดือน ก.ย. 67 ขาดดุล 294.24 พันล้านเยน ขาดดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่สาม จากการส่งออกที่หดตัวร้อยละ -1.7ที่ 9,038.20พันล้านเยน ขณะที่การนาเข้าขยายตัวร้อยละ 2.1ที่ 9,332.55พันล้านเยน
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 ต่อปี ต่าสุดนับจาก เม.ย.67เนื่องจากต้นทุนก๊าซเพิ่มขึ้นช้าลง
อัตราเงินพื้นฐาน เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 ต่อปี เป็นระดับต่าสุดในรอบห้าเดือน อย่างไรก็ตาม ตัวเลขล่าสุดนี้สูงกว่าคาดการณ์ของตลาดเล็กน้อยที่ร้อยละ 2.3 และยังยืนอยู่เหนือระดับร้อยละ 2 ต่อเนื่องมากว่าสองปี ทั้งนี้ BOJBOJขึ้นอัตราดอกเบี้ยในเดือน มี.ค.และ ก.ค. ขณะเดียวกันก็ส่งสัญญาณว่าจะขึ้นอัตราดอกเบี้ยต่อไป
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
GDPไตรมาส 3 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 4.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน อย่างไรก็ดี ขยายตัวมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 4.5
มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือน ส.ค. 67ที่ขยายตัวร้อยละ 8.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนเดือน ก.ค. 67ที่ขยายตัวร้อยละ 0.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ก.ย. 67 เกินดุลที่ระดับ 81.71 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือน ส.ค. 67ที่เกินดุลที่ระดับ 91.02พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
การส่งออก เดือน ก.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -0.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาหดตัวหลังจากที่เดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 12.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 7.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการหดตัวของการส่งออกหลังจากขยายตัวต่อเนื่องเป็นเวลา 5เดือน ทั้งนี้การส่งออกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยกดดันจากการหดตัวของการส่งออกสินค้าในหมวดเหมืองแร่ ปิโตรเลียม และโลหะ เป็นสาคัญ
การนาเข้า เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 10.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 26.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และนับเป็นการขยายตัวของการนาเข้าต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11และเป็นการขยายตัวของการนาเข้ามากที่สุดนับตั้งแต่ ต.ค. 65โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าของสินค้าขั้นกลางในหมวดสินค้าทุนเป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน ก.ย. 67 เกินดุลที่ 13.2 พันล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 5.5 พันล้านริงกิตมาเลเซีย และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่เกินดุลที่ 9.5พันล้านริงกิตมาเลเซีย
มาเลเซีย
การส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามัน (NODX) เดือน ก.ย.67 ขยายตัวร้อยละ 2.7 ต่อปี (ขยายตัวร้อยละ 1.1 ต่อเดือน) โดยยอดขายสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และไม่ใช่ทางอิเล็กทรอนิกส์ขยายตัวในระดับปานกลาง
ดุลการค้า เดือน ก.ย.67 เกินดุล 5,249.3469 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ ทั้งนี้ ดุลการค้าในสิงคโปร์เฉลี่ยอยู่ที่ 1,270.34ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ตั้งแต่ปี 07ถึงปี 67
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Output) เดือน ส.ค. 67 หดตัวร้อยละ 0.1 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เนื่องจากฝนตกหนักและการหดตัวในภาคไฟฟ้าร้อยละ 3.7
อัตราเงินเฟ้อ (Inflation Rate) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับร้อยละ 5.49 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.65 ในเดือนก่อน และเหนือกว่าการคาดการณ์ของตลาดที่ร้อยละ 5ซึ่งเป็นจานวนสูงที่สุดในปีนี้ เนื่องจากเงินเฟ้อจากตะกร้าอาหารเพิ่มขึ้นอย่างมาก
ดุลการค้า (Balance of Trade) เดือน ก.ย. 67 ขาดดุล 20.8 พันล้านดอลลาร์ ซึ่งลดลงจากการขาดดุล 29.7พันล้านดอลลาร์เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า นับเป็นการขาดดุลมากที่สุดตั้งแต่เดือน เม.ย. 67
การนาเข้า (Import) เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เป็น 55.4พันล้านดอลลาร์ ซึ่งเป็นมูลค่าต่าสุดตั้งแต่เดือน เม.ย. 67เนื่องจากสินค้าพลังงานราคาลดลงในตลาดขายส่ง
การส่งออก (Export) เดือน ก.ย. 67 หดตัวร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้าเป็น 34.6พันล้านดอลลาร์
อินเดีย
อินโดนีเซีย
ธนาคารกลางอินโดนีเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 6.0ต่อปี
มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.44 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 6.56จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.55 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 9.46จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ก.ย. 67 เกินดุลที่ระดับ 3.26 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 2.78 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 0.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -0.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวสูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 65
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์
สเปน
สหราชอาณาจักร
เศรษฐกิจสหราชอาณาจักร (GDP) ขยายตัวร้อยละ 0.2 ในเดือน ส.ค. 67 จากเดือนก่อนหน้า หลังจากหยุดชะงักในสองเดือนก่อนหน้า โดยได้แรงหนุนหลักจากภาคการผลิตและก่อสร้าง แม้ว่าภาคบริการจะเติบโตในอัตราที่ช้ากว่าก็ตาม
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Output) เดือน ส.ค. 67 หดตัวร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า หดตัวลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.2
ดุลการค้า (Balance of Trade) เดือน ส.ค. 67ขาดดุลลดลงเป็น 0.9555พันล้านปอนด์ ซึ่งลดลงจากการขาดดุล 4.712พันล้าน
การนาเข้า (Import) เดือน ส.ค. 67หดตัวร้อยละ 0.2เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เป็น 48.6พันล้านปอนด์ เนื่องจากการลดลงของเครื่องจักรและอุปกรณ์การขนส่ง
การส่งออก (Export) เดือน ส.ค 67 ขยายตัวร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เป็น 73.68พันล้านปอนด์
อัตราการว่างง่าน (Unemployment Rate) เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ระดับร้อยละ 4 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า ลดลงจากระดับร้อยละ 4.1ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากจานวนของคนว่างงานลดลงเหลือ 1.39ล้านคน
อัตราเงินเฟ้อ (Inflation Rate) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า ลดลงจากร้อยละ 2.2ในเดือนก่อนหน้าและต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.2โดยได้แรงฉุดหลักจากภาคการขนส่ง
ฝรั่งเศส
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ของตลาดที่ร้อยละ 1.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้อยู่ในระดับต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 64ซึ่งเป็นผลมาจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดพลังงาน เป็นสาคัญ
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นIDXIDX(อินโดนีเซีย) NikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 117ต.ค. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,495.022จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 15 117ต.ค. 67 อยู่ที่67,437.63 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 15 -17ต.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -714.19ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -3 ถึง -13 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 26 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 3.1 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่15 -17 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -2,542.18ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 17 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-29,857.72 ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่17 ต.ค. 67เงินบาทปิดที่ 33.23บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.84จากสัปดาห์ก่อนหน้า ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.81
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง