เศรษฐกิจไทย
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
รุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด
? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ เศรษฐกิจไทยมีการชะลอตัวในหลายภาคส่วน โดยดัชนีผลผลิตสินค้า
เกษตรลดลงร้อยละ - 1.8 ต่อปี เนื่องจากสภาพอากาศที่แปรปรวนและโรคระบาดในพืช แต่ดัชนีราคาสินค้า
เกษตรกลับเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 ต่อปี ซึ่งช่วยให้รายได้เกษตรกร เพิ่มขึ้น ในภาคการบริโภคเอกชน
ยอดขายรถยนต์นั่งลดลงร้อยละ -38.4 ต่อปีขณะที่ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ
55.3 ซึ่งสะท้อนถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจและความกังวลด้าน หนี้สิน และการลงทุนเอกชน ปริมาณ
การจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์หดตัวที่ร้อยละ -36.2 ต่อปี นอกจากนี้ ในภาคการท่องเที่ยว แม้จานวน
นักท่องเที่ยวต่างชาติจะขยายตัวได้ร้อยละ 18.3 ต่อปี แต่ยังต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ เนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยว
จากจีนที่ลดลงอย่างมีนัยสาคัญ
ปัจจัยเสี่ยง
? ความผันผวนของสภาพอากาศ: ภาคการเกษตรได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่แปรปรวนและโรคพืช
ซึ่งส่งผลให้ผลผลิตลดลง
? ภาระหนี้ครัวเรือนสูง: ภาระหนี้ครัวเรือนที่สูงทาให้กาลังซื้อของผู้บริโภคลดลง ส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของ
ภาคการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
? การท่องเที่ยว: แม้ว่าการท่องเที่ยวจะฟื้นตัวแต่จานวนนักท่องเที่ยวจีนที่ต่ากว่าคาดการณ์ยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยง
เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีอิทธิพลสาคัญต่อรายได้จากการท่องเที่ยว
ข้อเสนอแนะ
? ส่งเสริมการท่องเที่ยว: ควรเพิ่มมาตรการดึงดูดนักท่องเที่ยวจีนผ่านการโปรโมทและส่งเสริมการท่องเที่ยว
? มาตรการสนับสนุนสินเชื่อที่ยืดหยุ่น: การปรับโครงสร้างสินเชื่อหรือสนับสนุนสินเชื่อที่ยืดหยุ่นอาจช่วยบรรเทา
ภาระหนี้ของครัวเรือน ช่วยเพิ่มการบริโภคในประเทศ และส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน
? นโยบายช่วยเหลือภาคเกษตร: การสนับสนุนเกษตรกรรับมือกับความเสี่ยงจากสภาพอากาศและโรคพืช รวมถึง
การปรับปรุงเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานในการเกษตร จะช่วยสร้างเสถียรภาพรายได้ของเกษตรกร
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ก.ย. 67 ปรับตัวลดลงอยู่ที่ร้อยละ -1.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลงร้อยละ -1.2เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ก.ย. 67 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในหมวดพืชผลสาคัญลดลง ร้อยละ -1.8 หมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 1.0 และหมวดประมงขขายตัว ร้อยละ 20.4 ผลผลิต ข้าวเปลือก ข้าวโพด สุกร ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมเพิ่มขึ้น ส่วนยางพารา มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล ไข่ไก่ ลดลง
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรในเดือน ก.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ก.ย. 67 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ ขยายตัว ร้อยละ 9.6 หมวดปศุสัตว์ หดตัวอยู่ที่ ร้อยละ -0.8 และหมวดประมง และขยายตัวร้อยละ 29.9 ตามลาดับ โดยราคา ยางพารา ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล สุกร ไข่ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมปรับเพิ่มขึ้น ส่วนข้าวเปลือกมันสาปะหลัง ข้าวโพด ไก่ ราคาปรับลดลง
รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน ก.ย. 67 ขยายตัว ร้อยละ 4.4 แหล่งที่มาของการขยายตัวจากยางพารา กลุ่มไม้ผล หมวดประมง เป็นสาคัญ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ก.ย. 67ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 55.3จากระดับ 56.5ในเดือนก่อน โดยเป็นการปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7
ความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังคงปรับตัวลดลงต่อเนื่อง จากความกังวลของผู้บริโภคต่อภาวะเศรษฐกิจไทยที่ชะลอลงและฟื้นตัวได้ช้า และความกังวลต่อรายได้ในปัจจุบันไม่สอดคล้องกับค่าครองชีพที่เพิ่มขึ้น รวมถึงความกังวลต่อสถานการณ์น้าท่วมในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สร้างความเสียหายต่อทรัพย์สินของประชาชนและผลิตผลทางการเกษตรอย่างไรก็ดีปัจจัยการเมืองในประเทศที่มีความชัดเจนมากขึ้น โครงการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการโอนเงินให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและคนผิการจานวน10 000บาท และจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ยังเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อความเชื่อมั่นผู้บริโภคในระยะต่อไป
ที่มา ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ก.ย. 67 มีจานวน 15,66815,668คัน หดตัวลงร้อยละ -38.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ -15.1
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลหดตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8โดยได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง รวมถึงปัญหาการแข่งขันลดราคาของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ทาให้ผู้บริโภคชะลอการซื้อรถยนต์ออกไป อย่างไรก็ดี รายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นจากราคาสินค้าเกษตรหลายรายการที่มีราคาเพิ่มขึ้น และตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่ช่วยส่งเสริมการบริโภคของประชาชนและส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดีในระยะต่อไป
ที่มา : บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ก.ย. 6767มีจานวน 23,38023,380คัน หดตัวที่ร้อยละ
36.236.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวลงที่ร้อยละ 12.212.2ในส่วนปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ 40.140.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ก.ย. 67 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2222และหดตัวจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 12.212.2เนื่องจากเศรษฐกิจที่เติบโตได้ต่า อัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับสูง รวมทั้งปัญหาหนี้เสียส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
วันที่ 14-20ต.ค. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 5.8 แสนคน โดยมีแนวโน้มทรงจากสัปดาห์ก่อนโดยมีจานวนลดลงอย่างมีนัยสาคัญในตลาดเอเชีย หลังจากหมดเทศกาลวันหยุดยาวในหลายประเทศ ขณะที่ตลาดระยะไกล มีแนวโน้วฟื้นตัวดีขึ้นจากการเข้าสู้ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวเดือน ก.ย. 67 มีจานวนขยายตัวที่ร้อยละ 18.3 อยู่ในระดับต่ากว่าคาดการณ์ จากจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางเข้ามาต่ากว่าคาดการณ์
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2567และคาดการณ์(คาดการณ์ 36.0 ล้านคน รายได้ 1.69 ล้านล้านบาท)
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยปี 2567
ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
6
ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลttกีฬา
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 14 20 ต.ค. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 5.8 แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค 20 ต.ค. 67 (YTD) มีจานวนทั้งสิ้น 27.7.8 ล้านคน สร้างรายได้ 1.33ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,687687บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีแนวโน้มทรงตัวจากสัปดาห์ก่อน จากการสิ้นสุดช่วงเทศกาลวันหยุดยาวช่วงวันชาติในประเทศจีนและเกาหลีใต้ ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมีแนวโน้มทรงตัว อย่างไรก็ดี นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล อาทิ ยุโรป และอเมริกามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการเข้าสู่ช่วง High
SeasonSeasonทั้งนี้ เดือน ก.ย. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ 2.52 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 18.3 โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย จีน อินเดีย และเกาหลีใต้ เป็นสาคัญ อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าขยายตัวที่ร้อยละ 1.3ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดือน ก.ย. 67ต่ากว่าที่คาดการณ์ เนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาต่ากว่าคาด
การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน ก.ย. 67มีจานวน 20.3ล้านคน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนที่ร้อยละ 4.1อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า หดตัวที่ร้อยละ -4.8จากจานวนผู้เยี่ยมเยือนในหลายจังหวัดทางภาคเหนือที่หดตัวเนื่องจากฝนที่ตกอย่างต่อเนื่อง เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยว เช่น จังหวัดเชียงราย แพร่ พะเยา และเชียงใหม่ -33.6 -19.4 -18.5 และ -14.4 ขณะที่ผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในจังหวัดอื่น ๆ ยังขยายตัวได้ดี ขณะที่ รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน ก.ย. 67อยู่ที่ 70,456ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 5.8เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าหดตัวที่ร้อยละ -10.2 เป็นผลจากการใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ที่ลดลต่อเนื่อง 3เดือน โดยอยู่ที่ 3,468บาท/คน/ทริป แต่ยังขยายตัวที่ร้อยละ 1.3
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
การขอก่อสร้างในสหรัฐฯ (Building permits) เดือน ก.ย. 67 หดตัวร้อยละ -3.1 (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ต่ากว่าที่ตลาดคาดที่ร้อยละ -2.9
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (13 -19 ต.ค. 67) อยู่ที่ 2.27 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.42 แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.38 แสนราย
สหรัฐอเมริกา
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.4จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 51.5จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 45.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.0จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 45.3จุด โดยดัชนียังคงอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ -12.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -12.9จุด สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 65และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ บ่งชี้ทิศทางความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
ยูโรโซน
ญี่ปุ่น
ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของโตเกียว (Tokyo Core CPI) เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.8 ต่อปี ลดลงจาการ้อยละ 2.0 ในเดือนก่อนหน้า และเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 67 ทั้งนี้ การชะลอตัวของเงินเฟ้อในญี่ปุ่นและความไม่แน่นอนทางการเมืองส่งผลต่อแนวโน้มการขึ้นดอกเบี้ยเพิ่มเติมของ BOJ
ดัชนีราคาผู้บริโภคของโตเกียว (Tokyo CPI) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.80 ลดลงจากระดับร้อยละ 2.20 ในเดือนก่อนหน้า 2024 Tokyo CPI โดยเฉลี่ยปี 14-67อยู่ที่ร้อยละ 2.39
จีน
ธนาคารกลางจีน (PBOC) ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สาหรับลูกหนี้ชั้นดี (Loan Prime
Rate LPR) ประเภท 1 ปี ไว้ที่ระดับร้อยละ 3.1 จากเดิมที่ระดับร้อยละ 3.35 และลดอัตราดอกเบี้ย LPR ประเภท 5 ปี ไว้ที่ร้อยละ 3.6 จากเดิมที่ระดับ 3.85 โดยธนาคารกลางจีนลดอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวเพื่อสนับสนุนการขยายตัวเศรษฐกิจจีน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน ต.ค. 67อยู่ที่ระดับ 101.7เพิ่มขึ้นจากระดับ 100ในเดือนก่อนหน้า โดยเพิ่มขึ้นในส่วนของ การคาดการณ์สภาวะในอนาคต ความเชื่อมั่นต่อรายได้ครัวเรือนในอนาคต การคาดการณ์การใช้จ่ายของครัวเรือน และมุมมองต่อสภาพเศรษฐกิจในประเทศปัจจุบันและอนาคต
ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) เดือน ต.ค. 67 สาหรับภาคการผลิตไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่ระดับ 69 โดยเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่ ต.ค.66 จากการลดลงของดัชนีในส่วนของการผลิต คาสั่งซื้อใหม่ สภาวะสินค้าคงคลัง และเพิ่มขึ้นในส่วนของสถานการณ์ทางการเงิน
เกาหลีใต้
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ต่อปี เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.7ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า และสูงสุดนับจาก มิ.ย. 67สาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าค้าปลีกและสินค้าอื่น ๆ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 ต่อปี (ร้อยละ 0.3 ต่อเดือน) ต่าสุดนับจาก มี.ค. 64สาเหตุจากการชะลอตัวลงของค่าที่อยู่อาศัยและสาธารณูปโภค และการลดลงของ ค่าขนส่ง เสื้อผ้า และการสื่อสาร
สิงคโปร์
สหราชอาณาจักร
ดัชนียอดค้าปลีก (Retail Sales) เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 3.9 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.3ในเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.2นับเป็นการขยายตัวมากที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 65
มาเลเซีย
GDP
GDPไตรมาสที่ 3 ปี 67 (advanced estimate) ขยายตัวที่ร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เศรษฐกิจมาเลเซียยังคงขยายตัวโดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของภาคบริการ และภาคเกษตรกรรม แต่ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากไตรมาสที่แล้ว
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าและต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้อยู่ในระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 67 จากการขยายตัวที่ชะลอลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดของตกแต่งบ้าน การขนส่ง การสื่อสาร เป็นสาคัญ
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.6จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 42.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 40.6 จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 40.8 จุด โดยดัชนียังคงอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0 จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
อัตราการว่างงานเดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.38 ของกาลังแรงงานรวมเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.36ของกาลังแรงงานรวม และเป็นตัวเลขอัตราการว่างงานที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 67
ยอดค้าปลีกเดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ยอดค้าปลีกในเดือนนี้แสดงให้เห็นถึงการขยายตัวของยอดค้าปลีกในอัตราที่สูงที่สุดในรอบ 3 เดือน โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของสินค้าในร้านค้าทั่วไป สินค้าหมวดอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นสาคัญ
ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 11.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 13.4 นับเป็นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 แต่อยู่ในอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 67โดยได้รับปัจจัยกดดันจากการขยายตัวที่ชะลอลงของภาคการผลิต ภาคเหมืองแร่และเหมืองหิน และหมวดน้าประปา เป็นสาคัญ
ไต้หวัน
ฝรั่งเศส
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) flashflashเดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 44.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 44.6จุด และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 44.9จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 21
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) PSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) และ STISTI(สิงคโปร์) เป็นต้น เมื่อวันที่ 24ต.ค. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,460.64 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 21 24ต.ค. 67 อยู่ที่51,040.27 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 21 -24ต.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -2,742.17ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 เดือน ถึง 20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 5 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11 ปี ที่ปรับตัวลดลง -3 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 ปี และ 51 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.7 และ 3.2 เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่21 -24 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -4,752.08 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 24ต.ค. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-38,475.97 ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่24 ต.ค. 67เงินบาทปิดที่ 33.75บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -1.57จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตวอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลเปโซ และดอลลาร์ไต้หวัน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -1.01
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง