รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 1 พ.ย. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday November 5, 2024 14:16 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ เศรษฐกิจไทยการชะลอตัวในหลายด้าน ในภาคอุตสาหกรรมซึ่งดัชนี

ผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ลดลงร้อยละ -3.5 ต่อปี การลงทุนเอกชน การขายเหล็กในประเทศหดตัวร้อยละ

-12.6 ต่อ ปี จ ก ผ ล ก ร ท บ ข อ ง ปัญห น้า ท่ว ม แ ล เ ศ ร ษ ฐ กิจ ใ น ป ร เ ท ศ ที่เ ติบ โ ต ต้า ใ น ขณะ ที่

ภาคการส่งออกขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 ต่อปี ส่วนมูลค่าการน้าเข้าขยายตัวร้อยละ 9.9 ต่อปี ส่งผลให้ดุลการค้า

เกินดุล 394.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ ภาคการท่องเที่ยววันที่ 21-27 ต.ค. 67 มีจ้านวนนักท่องเที่ยว

5.8 แสนคน

ปัจจัยเสี่ยง

? ความไม่แน่นอนทางด้านภูมิรัฐศาสตร์ ส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า โดยเฉพาะการส่งออกไปจีนและญี่ปุ่น

ที่ยังคงหดตัว

? ผลกระทบจากหนี้ครัวเรือนสูงส่งผลให้สถาบันการเงินเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ ส่งผลกระทบต่อ

ภาคอุตสาหกรรม

? ภ ค ก ร ท่อ ง เ ที่ย ว แ ม้ก ร ท่อ ง เ ที่ย ว จ ฟื้น ตัว แ ต่จ้า น ว น นัก ท่อ ง เ ที่ย ว จ ก บ ง ป ร เ ท ศ เ ช่น

จีน มีแนวโน้มลดลงส่งผลกระทบต่อรายได้จากการท่องเที่ยว

ข้อเสนอแนะ

? ส่งเสริมการท่องเที่ยวกลุ่มนักท่องเที่ยวจากจีนและนักท่องเที่ยวประเทศระยะไกล

? ปรับมาตรการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อกระตุ้นภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 - 25 ตุลาคม

2567 พบว่า ณ วันที่ 25 ตุลาคม 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง

อยู่ที่ 9.64 แ ส น ล้า น บ ท เ บิก จ่า ย ได้ที่จ้า น วน 7.44 แ ส น ล้า น บ ท ห รือ คิด เ ป็น ร้อ ย ล 7.72

หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จ้านวน 1.07 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 11.12 ทั้งนี้

จากผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 18 ต.ค. 2567) ที่ร้อยละ 0.83

แต่ยังต้ากว่าที่ควรจะเป็น ที่ร้อยละ 18.07 จึงควรเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนก่อนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.

2568 ดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5 อันดับแรก ได้แก่

กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงกลาโหม และกระทรวง

การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียน

สู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา ชลบุรี สมุทรปราการ เชียงใหม่ และขอนแก่น

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก .ย. 67 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 454,465 ล้านบาท ขยายตัว

ร้อยละ 80.2 ต่อปี เนื่องจากรายจ่ายปี ขยายตัวร้อยละ 90.8 ต่อปี ส่วนรายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้

หดตัวที่ร้อยละ -17.8 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 15.7 ต่อปี

เนื่องจาก รายได้ที่ขยายตัวจากหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก .ย. 67 พบว่าดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุลจ้านวน -85,329 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ก.ย. 67 หดตัวร้อยละ -3.5ต่อปี

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q1

Q2

Q3

Aug

Sep

YTD

ยอดจ้าหน่ายเหล็ก

-

6.6 -

5.5 1.8

-

8.9 -

11.9 -

12.6 -

4.4

%mom_sa,

%qoq_sa

-

-

2.4 1.5

-

2.8 -

10.2 5.4

Manufacturing Production Index :

MPI

ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม

โดยดัชนีฯ หดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2 โดยการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมส้าคัญที่หดตัวนั้นยังอยู่ในกลุ่มเดิม ได้แก่ ยานยนต์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง และแร่อโลหะ ปูนซีเมนต์ หดตัวร้อยละ -23 2,,-6.1 และ -8.0 ต่อปี ตามล้าดับ* เป็นผลจากจากปัญหาหนี้ครัวเรือนที่ยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้สถาบันการเงินยังคงความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ ขณะที่ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่ส้าคัญโดยเฉพาะ ICICยังคงมีความต้องการในตลาดโลกที่ลดลง ขณะที่การก่อสร้างภาครัฐที่ยังคงฟื้นตัวช้า ท้าให้การใช้วัสดุก่อสร้างยังคงหดตัวลงเช่นกัน อย่างไรก็ดี การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมกลับมาขยายตัวสูงที่ร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามการขยายตัวของการท่องเที่ยวและการขนส่งสินค้า (*เรียงตามสัดส่วนใน MPIMPIในระบบ TSIC 22หลัก

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q1

Q2

Q3

Aug

Sep

YTD

MPI

-

33.8 -3.6

-0.2

-1.2

-1.8

-3.5

-

1 7

%mom_sa,

%qoq_sa

-

-0.7

0.6

-0.7

-4.9

-1.7

-

80.0

85.0

90.0

95.0

100.0

105.0

110.0

Jan-21

May-21

Sep-21

Jan-22

May-22

Sep-22

Jan-23

May-23

Sep-23

Jan-24

May-24

Sep-24

(

Index_Sa

Jan 21 = 100

ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ก.ย. 6767หดตัวที่ร้อยละ 12.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.45.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ก.ย. 67 หดตัว โดยมีปัจจัยส้าคัญมาจากปริมาณการจ้าหน่ายที่หดตัวของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี เหล็กเส้นข้ออ้อย และเหล็กโครงสร้างรูปพรรณชนิดรีดร้อนที่หดตัวร้อยละ 26.4 17.2 15.715.7และ 12.012.0ตามล้าดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากสถานการณ์น้าท่วมในหลายพื้นที่ รวมทั้งเศรษฐกิจภายในประเทศเติบโตได้ต้า และการชะลอของภาคอสังหาริมทรัพย์ ท้าให้ความต้องการใช้เหล็กลดลง

มูลค่าการส่งออกในเดือนก.ย. 6767มีมูลค่าอยู่ที่ 25,983.225,983.2ล้านดอลลาร์สหรัฐขยายตัวที่ร้อยละ 1.11.1เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ 3.4

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองค้า และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 4.2

เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ

?

สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป อาหารสัตว์เลี้ยง ไก่แปรรูป ไขมันและน้ามันจากพืชและสัตว์

?

สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องจักรกล

และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ

?

ส้าหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่า การส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักขยายตัว อาทิ ตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป CLMV

สหราชอาณาจักร ลาตินอเมริกา ในขณะที่ตลาดจีนและญี่ปุ่นยังคงหดตัวต่อเนื่อง

มูลค่าการน้าเข้าในเดือน ก.ย. 67มีมูลค่า 25,589.0ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ9.99.9เมื่อเทียบรายปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 2.8

การน้าเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยส้าคัญมาจากกลุ่มสินค้าทุน สินค้าวัตถุดิบและกึ่งส้าเร็จรูป สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าอื่น ๆ

ด้านดุลการค้าในเดือน ก.ย. 67 เกินดุลมูลค่า 394.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ท้าให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67 ขาดดุลสะสมที่ -5,956.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

?วันที่ 21-27 ต.ค. 67 มีจ้านวนนักท่องเที่ยว 5.8 แสนคน โดยมีแนวโน้มทรงจากสัปดาห์ก่อน หลังจากหมดเทศกาลวันหยุดยาวในหลายประเทศ อย่างไรก็ดี ตลาดระยะไกลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นจากการเข้าสู้ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวยุโรปและช่วงวันหยุดเทศกาล DiwaliDiwali?

จ้านวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 21-27ต.ค. 67มีจ้านวนนักท่องเที่ยว 5.8แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 27 ต.ค. 67 (YTD) มีจ้านวนทั้งสิ้น 28.4ล้านคน สร้างรายได้ 1.3 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,703 บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจ้านวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีแนวโน้มทรงตัว จากจ้านวนนักท่องเที่ยวชาวจีนและมาเลเซียที่ลดลงหลังจากหมดช่วงวันหยุด อย่างไรก็ดี คาดว่าจ้านวนนักท่องเที่ยวชาวอินเดียจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเนื่องจากวันหยุดเทศกาล DiwaliDiwaliของศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ศาสนาเชน เช่นเดียวกับนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวรัสเซียที่กลับเข้ามาสู่รายชื่อนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรกติดต่อกัน 3 สัปดาห์ต่อเนื่อง สะท้อนการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวชาวรัสเซีย ทั้งนี้ ที่ประชุม ครม. มีเห็นชอบขยายเวลายกเว้นการยื่นแบบ ตม. 6 ระหว่างวันที่ 16 ต.ค. 67 -30 เม.ย. 68 (จากเดิมที่สิ้นสุด 15ต.ค. 67) เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวให้ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง และลดความแออัดบริเวณหน้าด่านตรวจคนเข้าเมือง

ทั้งนี้ จ้านวนนักท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มเป็นไปตามที่จากจ้านวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นในช่วง High Season โดย สศค. คาดการณ์ว่าปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000 บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ต.ค. 67 )

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.ย. 67เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 454,465 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 80.2ต่อปี ท้าให้ปีงบประมาณ 67เบิกจ่ายที่ร้อยละ 94.2

7

ที่มา กรมสรรพากร ค้านวณโดย สศค.

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 434,127 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 90.8ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 94.3ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจ้า 227,484ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 29.4ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 101.1และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 206,642 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 299.7 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 70.44 (2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 20,339 ล้านบาท หดตัวที่ร้อยละ -17.8 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 92.4ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.ย.67ได้ 339,422 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 15.7ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน ก.ย. 67ขยายตัวจากหน่วยงานอื่นที่ขยายตัวที่ร้อยละ 235.2และรัฐวิสาหกิจ ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 342.5

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.ย.67พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุลจ้านวน 85,329ล้านบาท

พบว่าดุลเงินสดก่อนทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณที่เกินดุล 73,602 ล้านบาท กู้ขาดดุล 11,727ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน 74,830 ล้านบาท ส่งผลให้จ้านวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 514,101ล้านบาท

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2568ตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคม 2567-25ตุลาคม 2567พบว่า ณ วันที่ 25 ตุลาคม 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.64 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จ้านวน7.447.44แสนล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 7.72

โดยจ้านวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568(วันที่ 26ต.ค. 2567-30ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 6.48แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 72.28ทั้งนี้ จากผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 18 ต.ค. 2567) ที่ร้อยละ 0.83 แต่ยังต้ากว่าที่ควรจะเป็นที่ร้อยละ 18.07จึงควรเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนก่อนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2568ดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.81แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.03แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.77หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.19หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.10หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.38ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.7ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.01ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.25 ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.19290.19ล้านบาท)

การเร่งรัดเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนภาครัฐปีงบประมาณ 2568

อัตราการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 18ต.ค. 2567) ร้อยละ 0.83แต่ยังต้ากว่าที่ควรจะเป็น ที่ร้อยละ 18.07

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

GDPไตรมาส 3 ปี 67 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) และเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.8 เมื่อค้านวนแบบ annualized rate ซึ่งต้ากว่าที่คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 3.0

ดัชนีราคาค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล (PCE price Index) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.1 (YoY) ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ที่ร้อยละ 2.3 และ Core PCEPCEอยู่ที่ร้อยละ 2.7 (YoY)

ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า

จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (20 -26 ต.ค. 67) อยู่ที่ 2.16 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.28 แสนราย และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.36 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

GDP

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 0.8

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ -12.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -12.9จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ยูโรโซน

ญี่ปุ่น

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.5 ต่อปี (หดร้อยละ -2.8 ต่อเดือน) ชะลอลงจากร้อยละ ร้อยละ 3.1ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า แม้ยังคงเป็นการเติบโตของยอดค้าปลีกเดือนที่ 30ติดต่อกัน แต่เป็นอัตราที่ช้าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 65

ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BoJ มีมติในรอบประชุมเดือน ต.ค. 67คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.25ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3

ค้าสั่งซื้อเพื่อการก่อสร้าง (Construction Order) เดือน ก.ย. 67 หดตัวร้อยละ -21.3 ต่อปี โดยค้าสั่งซื้อเฉลี่ยตั้งแต่ปี 28-67อยู่ที่ร้อยละ 2.63

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (au Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต (final) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ 49.2 ลดลงจากระดับ 49.7ในเดือนก่อนหน้า นับเป็นการหดตัวของกิจกรรมภาคการผลิตเป็นเดือนที่สี่ติดต่อกัน และเป็นการลดลงที่รุนแรงที่สุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 67ขณะที่ค้าสั่งซื้อใหม่ลดลงเป็นเดือนที่ 17ติดต่อกัน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ก.ย.67 หดตัวร้อยละ -1.3 ต่อปี (หดตัวร้อยละ -0.2 ต่อเดือน) ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยในช่วงปี 2519-2567ขยายตัวร้อยละ 7.98

ดุลการค้า เดือน ต.ค. 67 เกินดุล 3.17 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 17 โดยการส่งออกขยายตัวร้อยละ 4.6ต่อปี (ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่สิบสาม) อยู่ที่ 57.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยได้แรงหนุนจากความต้องการเซมิคอนดักเตอร์ที่แข็งแกร่ง ขณะที่ การน้าเข้าขยายตัวร้อยละ 1.7ต่อปี อยู่ที่ 54.3พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 48.3 หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 การลดลงอย่างมีนัยส้าคัญของค้าสั่งซื้อใหม่ส่งผลให้ระดับการผลิตลดลงมากที่สุดนับตั้งแต่เดือน มิ.ย.66

เกาหลีใต้

มาเลเซีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน ต.ค. 67อยู่ที่ระดับ 49.5จุด ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต้ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5และเป็นระดับดัชนีที่ต้าที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 67โดยในเดือนนี้ผลผลิตลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 รวมไปถึงยอดการสั่งซื้อวัตถุดิบลดลงในอัตราที่มากที่สุดในรอบปี

จีน

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 50.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.3 จุด ซึ่งสูงกว่าการคาดการณ์ของตลาดที่ 49.7 จุด

GDP

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 67 (advance estimate) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.97 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.06 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต้ากว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.40และเป็นการขยายตัวของเศรษฐกิจต่อเนื่องกันเป็นไตรมาสที่ 6โดยเศรษฐกิจไต้หวันยังคงได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการใช้จ่ายรัฐบาลที่ขยายตัวในอัตราเร่งขึ้น แต่ในด้านของการส่งออก และการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวในอัตราชะลอลง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 50.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.8 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับสูงกว่า 50 บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7แต่เป็นการขยายตัวในอัตราที่ต้าที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 67อันเนื่องจากผลผลิตและค้าสั่งซื้อใหม่ที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ไม่มากนัก

อัตราเงินเฟ้อ ไตรมาสที่ 3 ปี 67 อยู่ที่ระดับร้อยละ 2.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับที่ต้าที่สุดนับตั้งแต่ไตรมาสที่ 1ปี 64โดยอัตราเงินเฟ้อลดลงจากราคาไฟฟ้าและพลังงานจากนโยบายอุดหนุนของรัฐบาล

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

สเปน

GDP

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 3.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน และขยายตัวมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 3.0

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อิตาลี

GDP

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 67 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 0.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อินโดนีเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.71 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.84จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67 คงที่จากเดือนก่อหน้าที่ระดับ 49.2 จุด

ฝรั่งเศส

GDP

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 67 (เบื้องต้น) อยู่ที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขดังกล่าวเป็นอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ต้าที่สุดนับตั้งแต่ไตรมาสที่ 4ปี 66

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 (เบื้องต้น) อยู่ที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต้าที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 64อัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นในเดือนนี้เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารสด เป็นส้าคัญ

ไตรมาสที่ 3 หดตัวร้อยละ -0.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -0.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน และหดตัวน้อยกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -0.3

อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 6.1 ของก้าลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.0 ของก้าลังแรงงานรวม และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นIDXIDX(อินโดนีเซีย) PSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) และ TWSETWSE(ไตัหวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 3131ต.ค. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,466.046.04จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 28 3131ต.ค. 67 อยู่ที่51,040.27 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 288-3131ต.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 7,201.78ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 เดือน ถึง 6 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลง -1 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 8 ถึง 19 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้น 3 -4 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 21 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.1 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่28 -31 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -1,996.24 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 31 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-39,814.39 ล้านบาท

เงินบาทไม่เปลี่ยนแปลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่31 ต.ค. 67เงินบาทปิดที่ 33.75บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลยูโร ดอลลาร์ไต้หวัน และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ และเงินสกุลเยน ริงกิตเปโซ วอน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.16

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ