รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 8 พ.ย. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday November 12, 2024 14:29 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ต.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 ต่อปี โดยมีสาเหตุหลักจาก

ราคาสินค้ากลุ่มอาหารและพลังงาน รวมถึงค่าไฟฟ้าที่ปรับตัวสูงขึ้น และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน ต.ค. 67 เพิ่มขึ้น

ร้อยละ 0.8 ต่อปี ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ก.ย. 67

ขยายตัวร้อยละ 6.1 ต่อปี และปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.3 ต่อปี

และในด้านการลงทุนภาคเอกชน ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ต.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 เนื่องจากต้นทุนวัตถุดิบ

และค่าขนส่งที่สูงขึ้น ในส่วนการจดทะเบียนรถยนต์เชิงพาณิชย์ ต.ค. 67 หดตัวร้อยละ -18.5 ต่อปี และภาษีจาก

การทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ ก.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -10.4 ต่อปี ในภาคการท่องเที่ยว วันที่ 28 ต.ค. ?

3 พ.ย. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 701,926 คน เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนอย่าง

มีนัยสาคัญ โดยเพิ่มขึ้นทั้งในกลุ่มตลาดระยะไกลและระยะใกล้จากการสู้ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว

ปัจจัยเสี่ยง

? ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกและการผันผวนของราคาพลังงาน ส่งผลกระทบต่อราคาสินค้าอุปโภคบริโภค

และต้นทุนการผลิตในประเทศ

? ภาระหนี้ครัวเรือนสูง ยังคงกดดันต่อการบริโภคและทาให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ

? การลงทุนและการขยายตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ชะลอตัวจากอัตราดอกเบี้ยสูงและความเข้มงวดในการ

ปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงิน

ข้อเสนอแนะ

? เพิ่มมาตรการกระตุ้นการบริโภคและการลงทุนผ่านการสนับสนุนสินเชื่อที่ยืดหยุ่นและปรับโครงสร้างหนี้ครัวเรือน

เพื่อลดภาระและเพิ่มกาลังซื้อของประชาชน

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.ย. 67 มีจานวนทั้งสิ้น 11.6 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 63.28

ของ GDP ซึ่งอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 70 ของ GDP

? ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 - 31 ตุลาคม

2567 พบว่า ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง

อยู่ที่ 9.64 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จ นวน 7.44 หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8.44

หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 1.22 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 12.68

ทั้งนี้ จากผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 8.44 สูงกว่าที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ

5.67 หรือสูงกว่าคาดการณ์ร้อยละ 2.77 อย่างไรก็ดี ยังจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุน

ก่อนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5 อันดับแรก ได้แก่

กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงกลาโหม และกระทรวง

การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียน

สู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา ชลบุรี สมุทรปราการ เชียงใหม่ และขอนแก่น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ต.ค. 67เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.8ต่อปี

?

เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน ต.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 (YoY) มีสาเหตุสาคัญจากการสูงขึ้นของราคาสินค้าในกลุ่มอาหารโดยเฉพาะผักสดและผลไม้ ประกอบกับการสูงขึ้นของราคาน้ามันดีเชล และค่ากระแสไฟฟ้าจากฐานราคาที่ต่าของปีที่ผ่านมา

?

โดยเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลงร้อยละ -0.06 (MoM) จากการที่ราคาน้ามันเชื้อเพลิง (แก๊สโซฮอล์) มีการปรับลดลงตามตลาดโลก ราคาผักสดที่เริ่มกลับสู่ภาวะปกติหลังจากเหตุการณ์อุทกภัยที่คลี่คลายลง รวมถึงของใช้ส่วนบุคคล อาทิ สบู่ แชมพู และครีมนวดผม ที่ปรับลดลงจากการส่งเสริมการตลาดของผู้ประกอบการ ขณะที่สินค้าสาคัญที่สูงขึ้น คือ ค่าเช่าบ้าน และค่าโดยสารเครื่องบิน เป็นต้น

?

ทั้งนี้ เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY) พบว่า หมวดอาหารสด หมวดอาหารสาเร็จรูป และค่าไฟฟ้า เป็นปัจจัยบวกที่ทาให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ +0.36+0.33และ +0.08ขณะที่หมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง เป็นปัจจัยลบที่ทาให้เงินเฟ้อลดลงที่ร้อยละ -0.08

?

เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นร้อยละ 0.8 (YoY) และสูงขึ้นร้อยละ 0.08 (MoM)

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือนต.ค. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.40.4เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ต.ค. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยมีสาเหตุจากการสูงขึ้นของดัชนีราคาหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต และหมวดวัสดุฉาบผิว เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 2.3 1.4 และ0.40.4ตามลาดับ เนื่องจากต้นทุนราคาวัตถุดิบและค่าขนส่งที่สูงขึ้น ตามราคาน้ามันดีเซลที่สูงกว่าปีที่ผ่านมา รวมทั้งมีความต้องการในโครงการก่อสร้างด้านการคมนาคมเพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กมีดัชนีราคาลดลงจากอุปทานเหล็กส่วนเกินสูงจากจีนกดดันราคาเหล็กในตลาดโลก

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ใน เดือน ก.ย. 677ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1ต่อปี และหดตัวเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ -1.6

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จากจัดเก็บในค่าการใช้จ่ายภายในประเทศขยายตัวในเกณฑ์สูงที่ร้อยละ 6.1(%YoY)

ชะลอตัวลงจากเดือนก่อนหน้า การใช้จ่ายในประเทศเริ่มแผ่วลง ส่งสัญญาณถึงการบริโภคที่เริ่มชะลอตัว ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าพลิกกลับมาหดตัวอีกครั้งที่ร้อยละ -5.5(%YoY) กดดันให้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ โดยรวมชะรอตัวลง อย่างไรก็ดี ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในเกณฑ์สูง ยังคงเป็นปัจจัยสาคัญที่สร้างแรงกดดันต่อการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไป

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.ย. 6767หดตัวที่ร้อยละ 10.410.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ 3.43.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.ย. 6767หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยมาจากเศรษฐกิจไทยที่ยังเติบโตในระดับต่า ปัญหาหนี้ครัวเรือนส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อรวมทั้งอัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับสูง นอกจากนี้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในภาคธุรกิจอสังหาฯของภาครัฐจะมีส่วนช่วยผู้ประกอบการ

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ต.ค. 67ขยายตัวตัวที่ร้อยละ 4.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลขยายตัวที่ร้อยละ 6.1

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่กลับมาขยายตัวอีกครั้งหลังหดตัวต่อเนื่องกว่า 5 เดือน ส่วนหนึ่งอาจได้รับปัจจัยสนับสนุนจากรายได้ภาคเกษตรที่ขยายตัวดีขึ้น รวมถึงภาคการท่องเที่ยวที่ยังขยายตัวได้ดี อย่างไรก็ดี ความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ จากปัญหาหนี้เสียในสินเชื่อกลุ่มนี้ที่อยู่ในระดับสูง และปัญหาหนี้ครัวเรือนยังคงสร้างแรงกดดันต่อกาลังซื้อผู้บริโภคในระยะต่อไป

ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ต.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ 18.518.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลขยายตัวที่ร้อยละ 5.2

ในเดือน ต.ค. 6767ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่หดตัวร้อยละ 18.518.5และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล(Van และ Pick up หดตัวที่ร้อยละ 26.326.3ซึ่งเป็นการหดตัวอย่างต่อเนื่อง มาจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อจากปัญหาหนี้เสีย รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่ยังอยู่ในระดับสูงโดยจะส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการ

?วันที่ 28 ต.ค 3พ.ย. 67มีจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 701,926คน เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนอย่างมีนัยสาคัญ โดยเพิ่มขึ้นทั้งในกลุ่มตลาดระยะไกลและระยะใกล้จากการสู้ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว?

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 28 ต.ค 3พ.ย. 67มีจานวนนักท่องเที่ยว 7.0แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค 33พ.ย. 67 (YTD) มีจานวนทั้งสิ้น 29.1 ล้านคน สร้างรายได้ 1.36 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,701 บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ โดยเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 20.1จากจานวนนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและรัสเซียที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ เช่นเดียวกันกับนักท่องเที่ยวจากประเทศอื่น ๆ เนื่องจากเป็นฤดูการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวตลาดระยะไกล และตรงกับช่วงวันหยุดในหลายประเทศ โดยเฉพาะวันหยุดเทศกาล DiwaliDiwaliของศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ศาสนาเชน เช่นเดียวกับนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาด ในส่วนของการใช้จ่าย/คน/ทริป/ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากช่วงก่อนหน้าจากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป

ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มเป็นไปตามที่จากจานวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นในช่วง High Season โดย สศค. คาดการณ์ว่าปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000 บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ต.ค. 67 )

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.ย. 67 มีจานวนทั้งสิ้น11 6 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 63.28 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างลดลงสุทธิ 100,295.52ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 86.74ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.95ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568ตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคม 2567-31ตุลาคม 2567พบว่า ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.64 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน8.13 หมื่นล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 8.44

โดยจานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568(วันที่ 1พ.ย. 2567-30ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 6.90แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 71.56ทั้งนี้ จากผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 8.44 สูงกว่าที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 5.67หรือสูงกว่าคาดการณ์ร้อยละ 2.77อย่างไรก็ดี ยังจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนก่อนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.81แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.03แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.77หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.19หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.10หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.38ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.77ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.01ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.25 ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.19290.19ล้านบาท)

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ก.ย. 677เกินดุลที่ 558.57 ล้านดอลลาร์สหรัฐเกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 1,361.69ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ก.ย. 677ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่-1,910.96ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่2,469.53ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 677เกินดุลรวม 5,330.46ล้านดอลลาร์สหรัฐ

Current Account

10

ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ก.ย. 677มียอดคงค้าง 20.20.53 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ก.ย. 677มียอดคงค้าง 225.14ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหดตัวที่ร้อยละ -0.02จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่าสินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ -0.3 ขณะที่ สินเชื่อเพื่อการบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.7จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.25จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ เงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 5.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือนก.ย. 67คิดเป็น 2.00 เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ก.ย.67 อยู่ที่ 5.5.49 ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)

ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (Federal Open Market Committee FOMC)

ได้มีมติเอกฉันท์ให้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอยู่ในช่วงร้อยละ 4.50-4.75ต่อปี หรือลดลงร้อยละ 0.25 ซึ่งเป็นการปรับลดลงครั้งที่ 2 ในปีนี้ หลังจากที่ปรับลดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.50สู่ระดับร้อยละ 4.75-5.00ในเดือน ก.ย. 67ซึ่งเป็นการปรับลดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบกว่า 4ปี หรือนับตั้งแต่ปี 2563

อัตราการว่างงานในเดือน ต.ค. 67อยู่ที่ร้อยละ 4.1คงที่จากเดือนก่อนหน้า และเท่ากับที่ตลาดคาด

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต (ของ ISM) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ 46.5 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เล็กน้อยที่ 47.5จุด

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (ของ ISM) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ 56 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 54.9จุด สูงกว่าที่ตลาดคาดที่ 53.8จุด

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (27ต.ค. -2พ.ย. 67) อยู่ที่ 2.22แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.18 แสนราย และเท่ากับที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.27 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67หดตัวร้อยละ -1.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -6.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.4จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 51.5จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ

ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 46.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.9จุด โดยดัชนียังคงอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อนเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.3

ยูโรโซน

ญี่ปุ่น

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ (final) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ 49.7 ลดลงจากระดับ 53.1 เป็นการลดลงครั้งแรกนับจาก มิ.ย. 67เนื่องจากธุรกิจใหม่ชะลอตัวลงจากการลดลงของการส่งออก อัตราเงินเฟ้อของต้นทุนเร่งตัวขึ้น และความเชื่อมั่นต่าสุดในรอบ 31เดือน เนื่องจากความกังวลว่าอุปสงค์จะยังคงชะงักงัน

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

จีน

มูลค่าการส่งออก เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 12.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือน ก.ย. 67ที่ขยายตัวร้อยละ 2.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน และขยายตัวสูงสุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 65

มูลค่าการนาเข้า เดือน ต.ค. 67 หดตัวร้อยละ -2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน พลิกกลับมาหดตัวหลังขยายตัวในเดือน ก.ย. 67ที่ร้อยละ 0.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากอุปสงค์ภายในประเทศที่อ่อนแอ

ดุลการค้า เดือน ต.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 95.27 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.ย. 67 ที่เกินดุลที่ระดับ 81.71 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (Caixin) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.3 จุด และสูงกว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ระดับ 50.5 จุด

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.69 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.82 และต่ากว่าคาดการณ์ของตลาดที่อยู่ที่ร้อยละ 1.80 อัตราเงินเฟ้อดังกล่าวถือเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 64อันเนื่องจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหาร หมวดที่อยู่อาศัย และหมวดสุขภาพ เป็นสาคัญ

ไต้หวัน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค.67 อยู่ที่ร้อยละ 1.3 ต่อปี (ร้อยละ 0 ต่อเดือน) ชะลอลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่สี่ และต่าสุดนับจาก ม.ค.64 ทาให้คาดว่า BOKBOKอาจจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยอีกครั้งในช่วงต้นเดือน ม.ค. 68 ทั้งนี้ BOKBOKได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 25 เบสิสพอยต์ เหลือร้อยละ 3.25ในเดือนที่แล้ว

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน ก.ย. 67 เกินดุล 11.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยบัญชีสินค้าเกินดุล 10.67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.9 ต่อปี เป็น 61.67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.9 ต่อปี เป็น 51.00 พันล้านดอลลาร์ ขณะที่ บัญชีบริการขาดดุล 2.24 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการขาดดุลในบัญชีการท่องเที่ยว บัญชีบริการการผลิต และบัญชีการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา รายได้ปฐมภูมิเกินดุล 3.09 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่รายได้ทุติยภูมิขาดดุล 0.39 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

เกาหลีใต้

อินโดนีเซีย

GDP

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.95 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.05 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือขยายตัวที่ร้อยละ 1.5 (เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

ธนาคารกลางมาเลเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 3.0 ในการประชุมของธนาคารกลางรอบ ต.ค. 67 ซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาดและเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 9 เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับดังกล่าวยังอยู่ในระดับที่ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งสอดคล้องกับมุมมองของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อของมาเลเซีย

ยอดค้าปลีกเดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับปัจจัยกดดันจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลงของสินค้าในร้านค้าทั่วไป และสินค้าที่ใช้ภายในบ้านที่จาหน่ายในร้านค้าเฉพาะทางเป็นสาคัญ

อัตราการว่างงานเดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.2 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า ตัวเลขดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 63

ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน ก.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.1 และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.7นับเป็นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9แต่เป็นตัวเลขการขยายตัวในอัตราที่ต่าที่สุดในรอบ 9เดือน

ธนาคารกลางอังกฤษประกาศลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายเหลือร้อยละ 4.75 ต่อปี สาหรับการประชุมในเดือน พ.ย. 67 จากเดิมอยู่ที่ร้อยละ 5.00ต่อปี การตัดสินใจครั้งนี้ของธนาคารอังกฤษสอดคล้องกับการขยายตัวของอัตราเงินเฟ้อในสหราชอาณาจักรที่เริ่มชะลอลง

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.7 เนื่องจากได้รับแรงกดดันจากผู้บริโภคที่ระมัดระวังการใช้จ่ายก่อนช่วง Black Friday

สหราชอาณาจักร

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) เดือน ต.ค.67 อยู่ที่ระดับ 55.5 ลดลงจาก 56.6ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากคาสั่งซื้อใหม่เติบโตน้อยลง กิจกรรมการจัดซื้อชะลอตัว และอัตราเงินเฟ้อของต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น ขึ้น ขณะที่การจ้างงานเพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่หก

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย.67 ขยายตัวร้อยละ 2.0 ต่อปี (ร้อยละ 0.4 ต่อเดือน) นับเป็นการขยายตัวของยอดค้าปลีกที่แข็งแกร่งที่สุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค.67

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 7.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 35ติดต่อกัน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67ขยายตัวร้อยละ 7.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 8

ดุลการค้า เดือน ต.ค. 67 เกินดุลอยู่ที่ 1.99 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลอยู่ที่ 2.73 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

เวียดนาม

อินเดีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (HSBC India Manufacturing PMI) (final) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 57.5 เพิ่มขึ้นจากระดับ 57.5 ในเดือนก่อนหน้า จากคาสั่งซื้อใหม่เพิ่มขึ้นในอัตราที่แข็งแกร่งกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงเกือบ 20ปีของการเก็บข้อมูล นอกจากนี้ ยอดขายต่างประเทศเติบโตอย่างแข็งแกร่งเช่นกัน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการ (HSBC India Services PMI) (final) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 58.5 เพิ่มจากระดับ 57.7ในเดือนก่อนหน้า สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องของภาคบริการเป็นเดือนที่ 39 จากยอดขายและความต้องการที่แข็งแกร่ง

ออสเตรเลีย

ธนาคารกลางออสเตรเลียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 4.35ต่อปี

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (Judo BankBank) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.5จุด ซึ่งเป็นการเติบโตของภาคบริการติดต่อกันเป็นเดือนที่ 9ได้รับแรงสนับสนุนจากอุปสงค์ภายในประเทศเป็นหลัก

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือย ก.ย. 67หดตัวที่ร้อยละ -10.19จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -8.44จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ก.ย. 67หดตัวที่ร้อยละ -7.76จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.22จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.ย. 67 เกินดุลที่ระดับ 4.6 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 5.28พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 57.0จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 56.8จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.0จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 53.1จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67ขยายตัวร้อยละ 0.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -0.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 0.2

อิตาลี

ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 46.9 จุดลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.3จุด

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.5จุด

ฝรั่งเศส

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) flashflashเดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 44.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 44.6 จุด แต่อย่างไรก็ตาม ตัวเลขดังกล่าวเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 20

เยอรมนี

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.6จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 51.4จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 43.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 40.6 จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 42.6 จุด โดยดัชนีอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0 จุด บ่งชี้ทิศทางการชะลอตัวของภาคอุตสาหกรรมเครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei(ญี่ปุ่น) Hang SengSeng(ฮ่องกง) และ TWSETWSE(ไตัหวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 7พ.ย. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,469.72 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 4 7พ.ย. 67 อยู่ที่45,169.16 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 4-7พ.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -2,058.77ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน ถึง 2 ปี และ 7 ถึง 13 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลง -1 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 ถึง 5 ปี และ 17 ถึง 20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่4 -7 พ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -18,092.56 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 7 พ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-60,697.39 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่6 พ.ย. 67เงินบาทปิดที่ 34.36บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -1.81จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -1.33

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ