เศรษฐกิจไทย
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด
? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ ภาคเกษตรกรรม ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ต.ค. 67 ปรับตัวลดลง
อยู่ที่ร้อยละ -2.9 ต่อปี เนื่องจากผลผลิตสินค้าเกษตรในหมวดพืชผลสาคัญลดลง ได้แก่ ข้าวเปลือก ยางพารา
ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน ไข่ไก่ และดัชนีราคาสินค้าเกษตรในเดือน ต .ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.3
ในภาคการท่องเที่ยว วันที่ 11 - 17 พฤศจิกายน 2567 มีจานวนนักท่องเที่ยว 7.48 แสนคน เนื่องจาก
นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดหลัก อาทิ จีน และญี่ปุ่น เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลลอยกระทงเพิ่มขึ้น
ประกอบกับการเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยว (High Season) ของนักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรป และโอเชียเนีย
ข้อเสนอแนะ
? เพิ่มมาตรการดึงดูดนักท่องเที่ยวในช่วง High Season ของท่องเที่ยวในภูมิภาคยุโรป และโอเชียเนีย
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
สถานการณ์ภาครัฐ
? ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ .ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 ?
15 พฤศจิกายน 2567 พบว่า ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอน
เปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.64 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 9.32 หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 9.67
หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 1.53 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.93
โดยสัปดาห์ที่สองของเดือนเบิกจ่ายได้ร้อยละ 1.23 มากกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 0.72
อย่างไรก็ดี ยังจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 0.83 ในช่วงที่เหลือของเดือน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ร้อยละ 11.33 ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน โดยมีแนวทางดังนี้
1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5 อันดับแรก ได้แก่
กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงกลาโหม และกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียน
สู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา ชลบุรี สมุทรปราการ เชียงใหม่ และขอนแก่น
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ต.ค. 67 ปรับตัวลดลงอยู่ที่ร้อยละ -2.9 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ห ก พิจ รณา ร ย ห ม วด ผล ผลิต สิน ค้า เ ก ษ ต ร ใ น เ ดือ น
ต.ค. 67 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในหมวดพืชผล
สาคัญลดลง ร้อยละ -4.7 หมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ
0 . 9 แ ล ห ม ว ด ป ร ม ง ข ย ย ตัว ร้อ ย ล 5 . 8 ผ ล ผ ลิต
ข้าวเปลือก ยางพารา ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน ไข่ไก่ ลดลง ส่วน
มันสาปะหลัง กลุ่มไม้ผล สุกร ไก่ และ กุ้งขาวแวนนาไม เพิ่มขึ้น
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรในเดือน ต.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี
ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ต.ค. 67 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ
ขยายตัว ร้อยละ 10.0 หมวดปศุสัตว์ ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.1 และหมวดประมง และขยายตัวร้อยละ 24.4
โดยราคายางพารา ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล สุกร ไก่ ไข่ไก่ และ กุ้งขาวแวนนา ไม ปรับเพิ่มขึ้น ส่วนข้าวเปลือก
มันสาปะหลัง และ ข้าวโพด ราคาปรับลดลง ยังคงหดตวั ลง
Indicators (%yoy)
2023 2024
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Sep Oct YTD
ดัชนีผลผลิตสินค้า
เกษตร
0.7 -3.2 -1.7 -0.8 -2.2 -2.9 -2.1
%mom_sa, %qoq_sa 2.2 -2.1 2.3 -0.3 -1.6 0.8 -2.1
ดัชนีราคาสินค้าเกษตร -2.1 5.3 11.0 7.4 7.5 8.3 7.9
%mom_sa, %qoq_sa -2.0 1.0 4.3 1.1 2.7 0.5 7.9
4
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงิน
เ ฟ้อ ชุด ช น บ ท ) ใ น เ ดือ น ต . ค . 6 7
ขยายตัว ร้อยละ 4.2 แหล่งที่มาของ
ก ร ข ย ย ตั ว จ ก ย ง พ ร
กลุ่มไม้ผล หมวดประมง และหมวด
ปศุสัตว์ เป็นสาคัญ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
?วันที่ 11 -17 พ.ย. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 747,944 คน เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนอย่างต่อเนื่อง เนื่องจาการเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยว (HighSeason) ของนักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรป และโอเชียเนีย ประกอบกับนักท่องเที่ยวต่างชาติให้ความสนใจเข้ามาท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลลอยกระทงเพิ่มขึ้น
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2567และคาดการณ์
จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ 5อันดับแรกรายสัปดาห์ในปี 2567
ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
5
ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลtกีฬา
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 11-17พ.ย. 67มีจานวนนักท่องเที่ยว 7.48แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.?17 พ.ย. 67 (YTD)มีจานวนทั้งสิ้น 30.5 ล้านคน สร้างรายได้ 1.43 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,790 บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากสัปดาห์ก่อนหน้า ซึ่งเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.53จากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดหลัก อาทิ จีนและญี่ปุ่น ที่เข้ามาท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นในช่วงเทศกาลลอยกระทง ประกอบกับการเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยว (HighSeason) ของนักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรป และโอเชียเนีย อีกทั้งนักท่องเที่ยวยังเชื่อมั่นในมาตรการยกเว้นบัตร ตม.6
ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มเป็นไปตามที่จากจานวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นในช่วง HighSeasonโดย สศค. คาดการณ์ว่าปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000 บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ต.ค. 67 )
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 ? 15 พฤศจิกายน 2567 พบว่า
ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.64 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน
9.32 หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 9.67 หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 1.53 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.93
โดยจานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568 (วันที่ 16 พ.ย. 2567 - 30 ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80 ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 7.71 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 70.92
ทั้งนี้ ณ สัปดาห์ที่สองของเดือน พฤศจิกายน 2567 ผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 9.67 เบิกจ่ายเพิ่มขึ้นจากสิ้นเดือน
ตุลาคม 2567 ที่ร้อยละ 1.23 มากกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 0.72 อย่างไรก็ดี ยังจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุน
อย่างน้อยสัปดาห์ละร้อยละ 0.83 ในช่วงที่เหลือของเดือน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ร้อยละ 11.33 ณ สิ้นเดือน พฤศจิกายน 2567
โดยมีแนวทางดังนี้
1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5 อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม
( ว ง เงิน ล งทุน 1. 8 1 แ ส น ล้า น บา ท ) ก ร ทร ว ง มห ด ไท ย ( ว ง เงิน ล งทุน 1. 0 3 แ ส น ล้า น บ ท ) ก ร ทร ว ง เก ษต ร แ ล สห ก ร ณ์
(วงเงินลงทุน 8.77 หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.19 หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.10 หมื่นล้านบาท)
2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ
ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.38 ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.77 ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.01
ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.25 ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน 290.19 ล้านบาท)
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ญี่ปุ่น ยูโรโซน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์
คาสั่งซื้อเครื่องจักรหลักของญี่ปุ่น (Machinery Orders) ซึ่งไม่รวมคาสั่งซื้อสาหรับเรือและ
บริษัทพลังงานไฟฟ้า เดือน ก.ย. 67 หดตัวร้อยละ -4.8 ต่อปี (หดตัวร้อยละ -0.7 ต่อเดือน)
สาเหตุมาจากการลดลงของคาสั่งซื้อสาหรับภาคการผลิต ได้แก่ อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ บริการ
ด้านข้อมูล เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี อาหารและเครื่องดื่ม และเครื่องจักรไฟฟ้า
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 67 ขาดดุล -461.3 พันล้านเยน ขาดดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่สี่ โดย
การส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 ต่อปี ที่ 9.4 ล้านล้านเยน (สูงสุดในรอบสามเดือน) ขณะที่
การนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 ต่อปี ที่ 9.9 ล้านล้านเยน (เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่เจ็ด)
อัตราเงินเฟ้อรายปี (annual) เดือน ต.ค. 67 ลดลงมาอยู่ที่ ร้อยละ 2.3 ซึ่งเป็นระดับต่าที่สุด
นับตั้งแต่ ม.ค. 67 โดยหมวดสินค้าที่ราคาชะลอตัวลง ได้แก่ ค่าไฟฟ้า ก๊าซ เฟอร์นิเจอร์และ
เครื่องใช้ครัวเรือน และหมวดที่ราคาลดลง ได้แก่ การสื่อสาร การศึกษา
อัตราเงินพื้นฐาน เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 ต่อปี เป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่ เม.ย. 67
อย่างไรก็ตาม ตัวเลขล่าสุดนี้ยังยืนอยู่เหนือเป้าหมายของ BOJ ที่ร้อยละ 2.0 และเป็นสัญญาณว่า
BOJ พร้อมที่จะปรับขึ้นดอกเบี้ยเพิ่มเติม ในเร็ว ๆ นี้
จีน
ธนาคารกลางจีน (PBOC) ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สาหรับลูกหนี้ชั้นดี (Loan Prime
Rate LPR) ประเภท 1 ปี และประเภท 5 ปี ไว้ที่ระดับร้อยละ 3.1 และระดับร้อยละ 3.6 ซึ่ง
สอดคล้องกับที่ตลาดคาดการณ์
อินโดนีเซีย
ธนาคารกลางอินโดนีเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 6.0 ต่อปี การตัดสินใจนี้
มีจุดมุ่งหมายเพื่อสนับสนุนเสถียรภาพของเงินรูเปียห์
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
สหราชอาณาจักร มาเลเซีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยอัตราเงินเฟ้อขยายตัวสูงสุด
ในรอบ 6 เดือน โดยปัจจัยสาคัญที่ทาให้อัตราเงินเฟ้อขยายตัวเพิ่มขึ้นมาจากภาคที่อยู่อาศัยและ
ภาคบริการในครัวเรือน
การส่งออก เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมา
ขยายตัวอีกครั้งหลังจากที่เดือนก่อนหน้าหดตัวที่ร้อยละ -0.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
(ตัวเลขปรับปรุงแล้ว) และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 1.7 จากช่วง
เดียวกันของปีก่อน โดยได้รับการสนับสนุนจากการขยายตัวของการส่งออกสินค้าในหมวด
สินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า หมวดเครื่องจักรและอุปกรณ์ หมวดปาล์มน้ามันและ
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องเป็นสาคัญ
การนาเข้า เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลง
จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 10.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าคาดการณ์
ของตลาดที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน การนาเข้าในเดือนนี้นับเป็นการ
ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12 แต่เป็นการขยายตัวที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ พ.ย. 66 ท่ามกลาง
กาลังซื้อภายในประเทศที่ลดต่าลง แต่อย่างไรก็ตาม การนาเข้ายังคงได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการ
ขยายตัวของการนาเข้าสินค้าขั้นกลางและสินค้าเพื่อการบริโภคเป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 67 เกินดุลที่ 12.0 พันล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้า
ที่เกินดุลที่ 12.8 พันล้านริงกิตมาเลเซีย แต่อย่างไรก็ตามตัวเลขดุลการค้าในเดือนนี้สูงกว่า
คาดการณ์ตลาดที่คาดว่าเกินดุลที่ 9.6 พันล้านริงกิตมาเลเซีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจาก
เดือนก่อนหน้าและต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ฝรั่งเศส สิงคโปร์
การส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามัน (NODX) เดือน ต.ค. 67 หดตัวร้อยละ -4.6 ต่อปี (หดตัว
ร้อยละ -7.4 ต่อเดือน) นับเป็นการลดลงครั้งแรกของ NODX นับตั้งแต่เดือน มิ.ย. 67
เนื่องจากการลดลงของการส่งออกสินค้าที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 67 เกินดุล 4,414.5 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ ทั้งนี้ ดุลการค้าในสิงคโปร์
เฉลี่ยเกินดุลอยู่ที่ 1,274.9 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ตั้งแต่ปี 2507 ถึงปี 2567
ดุลบัญชีเดินสะพัด ไตรมาส 3 ปี 67 เกินดุล 34.1 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีก่อน ดุลบริการเกินดุลเพิ่มขึ้นเป็น 13.9 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ จากการ
เพิ่มขึ้นของบริการขนส่งและการขนส่งสินค้า ดุลบัญชีสินค้าเกินดุลลดลงเล็กน้อยเป็น 52.5
พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ จากการเพิ่มขึ้นของการนาเข้า ดุลบัญชีรายได้ปฐมภูมิขาดดุลเพิ่มขึ้น
เป็น -30.5 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ และรายได้ทุติยภูมิลดลงเป็น 1.9 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 (final) อยู่ที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นไปตาม
คาดการณ์ของตลาด และเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารสด
การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของอัตราเงินเฟ้อในภาคบริการ และการลดลงในอัตราที่ชะลอลง
ในอัตราเงินเฟ้อในหมวดพลังงาน เป็นสาคัญ
สเปน
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 79.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่
ระดับ 84.8 จุด
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นPSEi(ฟิลิปปินส์) STI(สิงคโปร์) และ S&P/ASX200(ออสเตรเลีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 21พ.ย. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,440.46จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 18-21พ.ย. 67 อยู่ที่46,940.60ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศและนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 18-21พ.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 1,024.69ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1ปี และ 14ถึง 20ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -2bpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 8ถึง 9ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1 bpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 16ปี ทั้งนี้ ระหว่างวันที่18-21พ.ย. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -1,961.28ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 21พ.ย. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-78,436.97ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่21พ.ย. 67เงินบาทปิดที่ 34.65บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.02จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ริงกิตวอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่เงินสกุลยูโร และเปโซ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.87
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง