ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคเดือนตุลาคม 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday November 28, 2024 14:38 —กระทรวงการคลัง

ฉบับที่ 44/2567 วันที่ 28 พฤศจิกายน 2567

ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคเดือนตุลาคม 2567

เศรษฐกิจภูมิภาคเดือนตุลาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่อง และการบริโภคภาคเอกชนโดยเฉพาะในภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวดีขึ้นทุกภูมิภาค อย่างไรก็ตาม การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนในหมวดยานยนต์ยังคงชะลอตัว

นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคประจาเดือนตุลาคม 2567 ว่า ?เศรษฐกิจภูมิภาคเดือนตุลาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่อง และการบริโภคภาคเอกชนโดยเฉพาะในภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภค ที่ปรับตัวดีขึ้นทุกภูมิภาค อย่างไรก็ตาม การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนในหมวดยานยนต์ยังคงชะลอตัว? โดยมีรายละเอียดดังนี้

เศรษฐกิจภาคใต้ในเดือนตุลาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว การบริโภคภาคเอกชน รายได้เกษตรกรที่ขยายตัว และความเชื่อมั่นผู้บริโภคปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวที่ร้อยละ 16.7 15.3 และ 28.3 ต่อปี ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัว ที่ร้อยละ -30.9 ต่อปี ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 54.0 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 53.1 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -14.8 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์บรรทุก ส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -36.9 ต่อปี ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 97.4 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานทาผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปจากเนื้อสัตว์หรือมันสัตว์ในจังหวัดสงขลา เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 81.3 ลดลง จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 81.9 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้ จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 19.2 และ 21.1 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือในเดือนตุลาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัว อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวที่ร้อยละ 13.2 และ12.6 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถยนต์นั่ง จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -30.8 และ -8.1 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 และ 2.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 58.6 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 58.0 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล

จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -21.7 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -16.7 ต่อปี ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานศูนย์บริการซ่อมแซมรถยนต์ เครื่องยนต์ และเคาะพ่นสีรถยนต์ในจังหวัดอุดรธานี เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 72.8 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 69.8 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 12.5 และ 10.8 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคกลางในเดือนตุลาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว การจับจ่ายใช้สอย เพื่อบริโภค และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัว อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวที่ร้อยละ 15.2 ต่อปี ขณะที่จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัว ที่ร้อยละ -3.3 และ -4.6 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 23.2 และ 7.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -33.8 ต่อปี ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 55.0 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 54.3 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -25.3 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบกับ เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -29.9 ต่อปี ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวสูง โดยเป็นการลงทุนในโรงงานห้องเย็นแช่แข็งหรือแช่เย็นสินค้า ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 93.3 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 89.3 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 และ 4.5 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล ในเดือนตุลาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว และการจับจ่ายใช้สอยเพื่อบริโภค อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ขยายตัว ที่ร้อยละ 5.4 ต่อปี ขณะที่จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -3.7 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 13.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -24.9 ต่อปี ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 55.5 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 54.6 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุก จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -22.8 และ -22.8 ต่อปี ตามลาดับ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 93.3 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 89.3 เครื่องชี้ ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 6.9 และ 4.0 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคเหนือในเดือนตุลาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว การจับจ่ายใช้สอย เพื่อบริโภค และความเชื่อมั่นผู้บริโภคปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.5 และ 12.6 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -24.4 และ -3.9 ต่อปี ตามลาดับ แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 8.9 และ 8.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 56.3 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 55.8 เครื่องชี้ด้านการลงทุน

ภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -24.4 และ -33.4 ต่อปี ตามลาดับ แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.3 และ 0.6 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 86.4 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 86.9 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ที่ร้อยละ 2.9 และ 3.6 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคตะวันออกในเดือนตุลาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว และเงินทุน ของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัว อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัว ดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -13.8 -6.3 และ -8.5 ต่อปี ตามลาดับ แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.3 14.6 และ 1.6 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -39.1 ต่อปี ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 58.5 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 57.8 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -26.7 และ -5.1 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.2 และ 2.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 318.8 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานผลิตน้าเชื่อมในจังหวัดสระแก้ว เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 95.2 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 92.7 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ที่ร้อยละ 30.2 และ 37.4 ต่อปี ตามลาดับ

เศรษฐกิจภาคตะวันตกในเดือนตุลาคม 2567 การบริโภคภาคเอกชนและการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัวอย่างไรก็ตาม ความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจ ด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากรายได้เกษตรกรขยายตัวที่ร้อยละ 16.8 ต่อปี ขณะที่การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -5.8 และ -10.9 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.6 และ 13.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่ง จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -22.5 ต่อปี ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 55.0 เพิ่มขึ้นจาก เดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 54.3 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -38.3 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 93.3 เพิ่มขึ้น จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 89.3 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 2.5 ต่อปี

นอกจากนี้ ผลการสารวจภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคของไทย ประจาเดือนตุลาคม 2567 ซึ่งสารวจ จากสานักงานคลังจังหวัดและสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยพบว่า ดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาคปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าทุกภูมิภาค ตามการขยายตัวของภาคบริการและอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ สอดคล้องกับกาลังซื้อสะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชนซึ่งปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าในหลายภูมิภาค ตามการขยายตัว ของภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการเช่นกันโดยเฉพาะ กทม. และปริมณฑล โดยส่วนหนึ่งได้รับอานิสงค์ จากการดาเนินมาตรการภาครัฐ สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาคใน 6 เดือนข้างหน้าขยายตัวเพิ่มขึ้นในหลายภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ยังต้องติดตามความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ความผันผวนของค่าเงิน และต้นทุนการผลิตที่อยู่ในระดับสูง

โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมปรากฏตามเอกสารแนบ

ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคประจาเดือนตุลาคม 2567

ตารางที่ 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคใต้

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q2/67 Q3/67 ก.ย.67 ต.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

10.5

6.6

15.6

13.0

16.7

12.3

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

7.5

-27.1

-21.3

-30.4

-30.9

-24.9

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

10.2

1.4

-6.8

-17.1

15.3

-1.0

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

53.1

57.8

54.2

53.1

54.0

57.1

รายได้เกษตรกร (%yoy)

-18.5

49.5

32.8

32.7

28.3

30.0

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-26.2

-34.7

-27.7

-30.2

-36.9

-35.6

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-14.8

-26.0

-21.8

-26.0

-14.8

-25.1

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

6.0

1.2

1.7

0.3

0.3

4.7

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

-12.4

49.5

107.6

27.7

97.4

50.3

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-6.3

-0.7

-1.3

-6.4

0.9

-3.1

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

89.2

86.8

81.2

81.9

81.3

86.3

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

90.1

27.9

18.5

17.8

19.2

28.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

48.1

24.2

2.8

-0.5

2.3

16.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

210.1

33.0

41.3

45.5

44.0

45.1

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

124.5

21.6

26.7

29.4

21.1

30.2

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

60.6

14.8

8.2

4.3

2.6

13.7

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

151.7

23.5

31.9

36.9

26.4

34.8

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.0

0.5

0.2

0.1

0.6

0.0

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

1.4

-

-

-

-

1.2

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.7

0.7

0.7

0.6

0.7

0.6

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

ตารางที่ 2 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q2/67 Q3/67 ก.ย.67 ต.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

4.8

14.9

16.4

11.9

13.2

13.3

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-8.1

-24.3

-25.1

-31.2

-30.8

-24.3

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-4.3

-8.2

-12.9

-12.3

12.6

-9.2

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

59.5

63.0

59.2

58.0

58.6

62.2

รายได้เกษตรกร (%yoy)

8.8

0.0

-3.0

-4.6

-8.1

0.7

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-34.3

-31.9

-32.9

-33.9

-21.7

-32.8

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-10.5

-19.9

-18.8

-18.9

-16.7

-20.9

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

12.6

8.6

2.1

0.9

0.4

14.9

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

-38.2

677.0

30.9

74.0

4.5

73.4

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-5.7

1.6

1.9

-1.0

2.8

0.3

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

94.0

73.5

71.6

69.8

72.8

74.6

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

27.8

19.0

17.4

12.1

12.5

17.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

23.4

18.6

15.6

9.6

10.6

16.0

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

193.7

24.6

46.8

53.0

41.4

33.3

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

57.4

21.4

15.9

11.9

10.8

18.2

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

50.8

21.1

13.3

8.5

8.3

16.9

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

215.7

23.8

47.7

53.6

40.4

34.1

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.3

1.1

0.9

0.9

1.3

0.6

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

0.7

-

-

-

-

1.0

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.9

0.8

0.7

0.7

0.8

0.8

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

ตารางที่ 3 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคกลาง

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q2/67 Q3/67 ก.ย.67 ต.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

-2.7

7.0

7.1

11.3

15.2

8.2

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-10.0

-23.3

-33.4

-35.0

-33.8

-30.5

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

10.0

-6.3

-15.3

-22.8

-3.3

-9.1

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

54.9

59.4

55.5

54.3

55.0

58.4

รายได้เกษตรกร (%yoy)

4.1

-2.3

-1.6

-3.8

-4.6

-3.8

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-29.4

-30.6

-34.8

-31.3

-25.3

-31.8

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-3.9

-29.0

-14.7

-15.4

-29.9

-21.1

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

87.3

2.1

3.1

0.9

5.5

14.5

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

784.2

-6.8

-12.3

-63.8

1,231.1

83.7

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-3.4

2.6

4.1

4.6

5.5

2.2

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

95.4

93.4

91.6

89.3

93.3

93.1

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

19.9

11.1

5.0

3.7

2.4

9.8

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

14.0

10.5

3.0

1.7

0.0

7.8

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

324.9

17.8

31.0

34.9

42.6

36.5

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

54.7

18.9

8.9

8.4

4.5

16.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

45.8

16.7

5.9

6.1

1.3

13.2

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

360.2

42.9

38.3

35.6

43.8

55.2

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.1

1.0

0.7

0.8

1.0

0.4

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

1.7

-

-

-

-

1.2

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.7

0.5

0.5

0.5

0.6

0.5

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

ตารางที่ 4 เครื่องชี้เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q2/67 Q3/67 ก.ย.67 ต.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

-0.5

6.7

9.9

8.2

5.4

5.6

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

6.0

-21.4

-16.5

-20.8

-24.9

-17.6

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

9.7

-9.2

-9.9

-12.6

-3.7

-8.4

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

56.2

60.0

55.8

54.6

55.5

59.2

รายได้เกษตรกร (%yoy)

0.8

4.9

0.7

-5.0

0.0

-3.9

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-27.7

-37.8

-26.6

-23.5

-22.8

-32.3

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

2.1

-20.7

-17.6

-30.8

-22.8

-18.2

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

31.4

3.6

14.6

6.5

1.7

26.1

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

10.1

-51.1

137.9

66.8

-13.3

1.7

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-5.9

1.5

2.6

2.2

5.4

1.0

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

95.4

93.4

91.6

89.3

93.3

93.1

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

46.5

5.5

7.5

8.2

6.9

7.3

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

15.4

11.6

8.7

6.8

4.9

8.2

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

160.7

-3.7

5.4

10.7

10.3

5.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

114.7

9.3

9.1

4.5

4.0

14.0

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

18.0

13.6

15.1

6.4

4.3

8.5

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

189.7

8.0

7.2

3.9

3.9

15.8

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.6

1.0

0.6

0.6

0.8

0.5

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

1.0

-

-

-

-

1.1

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.5

0.6

0.5

0.5

0.5

0.5

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

ตารางที่ 5 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเหนือ

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q2/67 Q3/67 ก.ย.67 ต.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

7.3

2.4

2.2

7.8

7.5

3.9

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

11.0

-23.1

-25.9

-35.7

-24.4

-22.2

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

0.4

-5.2

-8.6

-17.6

12.6

-7.2

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

57.6

61.2

57.2

55.8

56.3

60.2

รายได้เกษตรกร (%yoy)

11.6

-6.6

-1.2

-4.3

-3.9

-3.1

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-20.2

-29.0

-28.6

-34.0

-24.4

-28.0

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-1.4

-17.0

-26.6

-35.2

-33.4

-23.6

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

7.5

2.3

2.1

0.3

0.5

5.7

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

55.1

-29.4

33.8

70.4

-45.3

-12.9

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-8.3

1.5

3.2

1.0

7.1

1.4

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

93.5

88.6

89.9

86.9

86.4

90.5

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

17.8

6.6

-0.4

-6.9

2.9

3.5

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

9.9

5.4

-3.0

-10.2

0.8

1.2

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

159.6

16.4

19.4

19.8

18.8

21.4

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

42.3

11.7

3.2

-7.6

3.6

9.6

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

22.9

7.1

-3.0

-14.6

0.3

3.5

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

215.3

28.7

24.7

19.4

15.5

31.3

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.2

1.0

0.9

1.0

1.1

0.5

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

1.0

-

-

-

-

0.9

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.7

0.7

0.7

0.7

0.8

0.7

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

ตารางที่ 6 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออก

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q2/67 Q3/67 ก.ย.67 ต.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

-11.4

-0.9

1.0

-17.4

-13.8

-2.5

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

2.6

-29.3

-31.1

-32.8

-39.1

-30.0

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

7.5

-9.5

-16.2

-19.0

-6.3

-12.8

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

59.1

63.0

59.0

57.8

58.5

62.2

รายได้เกษตรกร (%yoy)

5.2

15.3

4.7

-5.7

-8.5

2.8

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-25.4

-32.3

-32.1

-28.9

-26.7

-34.2

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-4.5

-8.4

-14.6

-10.2

-5.1

-12.0

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

48.9

22.3

20.7

3.4

6.8

56.6

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

43.2

466.6

14.8

-76.5

318.8

30.0

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-5.5

4.8

2.8

1.0

3.8

3.0

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

88.3

89.8

91.7

92.7

95.2

91.0

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

57.0

15.4

16.5

23.9

30.2

15.6

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

29.0

18.9

11.8

15.7

23.9

12.2

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

419.4

4.5

31.1

51.1

52.8

27.1

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

118.9

17.3

28.5

35.1

37.4

25.9

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

31.5

29.0

22.0

25.9

32.6

19.2

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

494.8

6.5

34.4

43.1

41.9

32.4

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.0

0.9

1.0

0.9

1.5

0.5

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

0.7

-

-

-

-

0.8

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.6

0.6

0.6

0.5

0.8

0.6

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

ตารางที่ 7 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันตก

เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q2/67 Q3/67 ก.ย.67 ต.ค.67 YTD

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)

-1.9

-3.1

4.0

-15.7

-5.8

0.3

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-3.2

-27.3

-22.3

-19.2

-22.5

-22.6

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)

7.4

-23.2

-24.7

-19.9

-10.9

-20.3

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)

54.9

59.4

55.5

54.3

55.0

58.4

รายได้เกษตรกร (%yoy)

3.9

2.1

11.2

9.5

16.8

5.4

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-23.6

-29.6

-32.3

-30.2

-38.3

-33.9

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)

-0.5

-12.1

-18.1

-18.2

-20.6

-12.2

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)

7.3

0.6

0.7

0.2

0.4

35.8

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)

64.9

-83.8

-62.8

-87.1

-36.5

421.7

เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)

-5.4

5.3

3.4

2.0

6.1

2.6

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

95.4

93.4

91.6

89.3

93.3

93.1

เครื่องชี้ภาคการบริการ

จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)

30.0

6.9

4.6

3.7

-2.9

5.0

จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

28.0

6.3

3.5

2.7

-4.3

4.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

254.7

31.6

45.2

43.4

60.6

40.0

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)

42.5

19.3

11.6

8.4

2.5

15.9

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)

36.2

18.1

8.7

5.3

-2.0

13.5

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)

299.6

35.9

48.9

48.0

74.9

49.6

เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)

1.2

1.0

0.9

1.0

1.0

0.4

อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)

0.8

-

-

-

-

0.9

ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)

0.7

0.5

0.6

0.5

0.5

0.5

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.

ตารางที่ 8 เครื่องชี้เศรษฐกิจรายภาคในเดือนตุลาคม 2567 ปรับผลทางฤดูกาล (MoM_SA) เครื่องชี้เศรษฐกิจ ใต้ ตะวัน ออก เฉียงเหนือ กลาง กทม.และ ปริฯ เหนือ ตะวัน ออก ตะวัน ตก

เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่_SA (%mom)

0.8

3.1

5.2

1.8

2.6

3.3

9.6

จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)

-4.1

1.6

-4.2

-0.7

8.9

-1.5

-1.9

จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่_SA (%mom)

42.3

29.7

23.2

13.7

28.3

14.6

13.8

รายได้เกษตรกร_SA (%mom)

-1.0

2.7

7.4

5.8

8.5

1.6

17.8

เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน

จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)

-10.4

7.8

2.7

-1.9

7.3

2.2

2.1

จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)

0.7

-1.5

-17.3

-21.4

0.6

2.8

-14.5

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (พันล้านบาท)

0.6

0.5

9.8

1.8

0.5

9.1

0.2

เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (%mom)

102.6

-57.7

3,093.1

-65.3

0.4

283.7

6.6

ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า และสานักงานสถิติแห่งชาติ คานวณและรวบรวม: สศค.

*_SA หมายถึง ข้อมูลที่ปรับผลทางฤดูกาลแล้ว

ภูมิภาค จานวนเงินทุน (ล้านบาท) จังหวัดที่เงินทุนสูงสุด ของภูมิภาค รายละเอียดของเงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการสูงสุด ของจังหวัด

1. ภาคตะวันออก

6,805.76

- สระแก้ว 4,145.09 ล้านบาท

โรงงานผลิตน้าเชื่อมซูโครส น้าตาลธรรมชาติ น้าตาลทรายดิบ น้าตาลทรายขาว น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ประเภทอื่น

ด้วยเงินทุน 4,145.09 ล้านบาท

- ชลบุรี 1,407.54 ล้านบาท

โรงงานหลอมหล่อขึ้นรูปโลหะ

ด้วยเงินทุน 633.00 ล้านบาท

2. ภาคกลาง

5,490.93

- พระนครศรีอยุธยา 4,717.40 ล้านบาท

โรงงานห้องเย็นแช่แข็งหรือแช่เย็นสินค้า เช่น เนื้อสัตว์แช่แข็ง อาหารทะเล

แช่แข็ง ผลิตภัณฑ์จากนมแช่เย็น ผักผลไม้แช่แข็ง สินค้าอุปโภคแช่เย็น

และผลิตน้าแข็ง ด้วยเงินทุน 4,219.00 ล้านบาท

- สิงห์บุรี 580.00 ล้านบาท

โรงงานผลิตน้าดื่ม และน้าดื่มบรรจุขวด

ด้วยเงินทุน 565.00 ล้านบาท

3. กรุงเทพและปริมณฑล

1,668.93

- สมุทรปราการ 843.97 ล้านบาท

โรงงานทาผ้าเช็ดหน้าบรรจุซอง ผ้าเย็นและกระดาษเย็น

ด้วยเงินทุน 307.50 ล้านบาท

- สมุทรสาคร 402.98 ล้านบาท

โรงงานทาผลิตภัณฑ์จากผ้าใบ เช่น ผ้ากันแดดกันฝน ถุงผ้าใบ

โรงงานทาปากกาลูกลื่น ปากกาลบคาผิด และเครื่องเขียน

ด้วยเงินทุนแห่งละ 106.00 ล้านบาท

4. ภาคเหนือ

463.41

- ลาพูน

225.00 ล้านบาท

โรงงานผลิตแหนมไบโอเทค

ด้วยเงินทุน 225.00 ล้านบาท

- เชียงใหม่ 111.80 ล้านบาท

โรงงานอบพืชผลทางการเกษตร

ด้วยเงินทุน 85.00 ล้านบาท

5. ภาคตะวันตก

415.70

- เพชรบุรี 364.00 ล้านบาท

โรงงานคัดแยกวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย

ด้วยเงินทุน 346.00 ล้านบาท

- กาญจนบุรี 29.50 ล้านบาท

โรงงานคัดแยกวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย

ด้วยเงินทุน 19.50 ล้านบาท

6. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

380.20

- อุดรธานี 109.20 ล้านบาท

โรงงานศูนย์บริการซ่อมแซมรถยนต์ เครื่องยนต์ และเคาะพ่นสีรถยนต์

ด้วยเงินทุน 68.00 ล้านบาท

- สุรินทร์ 96.70 ล้านบาท

โรงงานทายางแผ่นในขั้นต้นจากน้ายางธรรมชาติ และทาแผ่นยางรมควัน

ด้วยเงินทุน 65.20 ล้านบาท

7. ภาคใต้

331.86

- สงขลา

129.50 ล้านบาท

โรงงานทาอาหารผสมหรืออาหารสาเร็จรูปสาหรับสัตว์เลี้ยง ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปจากเนื้อสัตว์หรือมันสัตว์ ทาอาหารจากสัตว์น้าและบรรจุในภาชนะที่ผนึกและอากาศเข้าไม่ได้ ด้วยเงินทุน 45.00 ล้านบาท

- ตรัง 63.10 ล้านบาท

โรงงานผลิตน้าดื่ม ผลิตภาชนะบรรจุน้าดื่ม เพื่อจาหน่าย

ด้วยเงินทุน 42.00 ล้านบาท

การลงทุนใหม่ในเศรษฐกิจภูมิภาคของไทย

ภาพรวมทั้งประเทศในเดือนตุลาคม 2567 มีมูลค่าเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการทั้งสิ้น 15,556.79 ล้านบาท โดยภูมิภาคที่มีจานวนเงินทุนสูงสุด ได้แก่ ภาคตะวันออก ภาคกลาง และกรุงเทพและปริมณฑล

เดือนตุลาคม 2567

ตารางรายละเอียดข้อมูลเงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการในเดือนตุลาคม 2567

ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ประมวลผลโดย ส่วนนวัตกรรมข้อมูลเศรษฐกิจและงานวิจัย กองนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทร. 02-273-9020 ต่อ 3272

กทม. และปริมณฑล ภาคตะวัน ออก ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาค เหนือ ภาคตะวันตก ดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาค 72.6 76.7 70.6 74.5 67.7 64.2 74.9 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชน 68.5 68.2 62.2 65.1 62.1 56.8 63.5 ดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค 71.0 76.1 74.7 75.3 68.5 75.5 71.7

ผลการสารวจความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาคประจาเดือนตุลาคม 2567

ผลการสารวจรายภูมิภาค

ภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคเดือนตุลาคม 2567 สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาคปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ทุกภูมิภาค ตามการขยายตัวของภาคบริการและอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ สอดคล้องกับกาลังซื้อสะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่น ภาคประชาชนซึ่งปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าในหลายภูมิภาคตามการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการเช่นกันโดยเฉพาะ กทม. และปริมณฑล โดยส่วนหนึ่งได้รับอานิสงค์จากการดาเนินมาตรการภาครัฐ สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาคใน 6 เดือนข้างหน้าขยายตัวเพิ่มขึ้นในหลายภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ยังต้องติดตามความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ความผันผวนของค่าเงิน และต้นทุนการผลิตที่อยู่ในระดับสูง

หมายเหตุ : สานักงานเศรษฐกิจการคลังขอขอบคุณสานักงานคลังจังหวัด 76 จังหวัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสาหรับการตอบแบบสอบถามการสารวจ ความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาค เพื่อประโยชน์ในการติดตามภาวะเศรษฐกิจรายเดือนผ่านดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาค ดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชน และดัชนี ความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค (Thailand Regional Economic Sentiment Index: RSI)

การอ่านค่าดัชนี (ช่วง 0 - 100)

? ดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาค > (<) 50 หมายถึง ความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาคในปัจจุบันอยู่ในระดับ ?ดีขึ้นกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน? (?ชะลอลงกว่า ช่วงเดียวกันของปีก่อน?)

? ดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชน > (<) 50 หมายถึง กาลังซื้อของภาคแรงงานหรือความสามารถในการใช้จ่ายของประชาชนในปัจจุบันอยู่ในระดับ ?ดีขึ้นกว่า ช่วงเดียวกันของปีก่อน? (?ชะลอลงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน?)

? ดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค > (<) 50 หมายถึง คาดการณ์แนวโน้มความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาคในช่วง 6 เดือนข้างหน้าอยู่ในระดับ ?ดีขึ้นกว่าปัจจุบัน? (?ชะลอลงกว่าปัจจุบัน?)

สีของตารางแสดงการเปรียบเทียบระหว่างเดือนปัจจุบันและเดือนก่อนหน้า

? สีเขียวเข้ม : คะแนนสูงกว่า 50 และสูงกว่าเดือนก่อนหน้า

? สีเขียวอ่อน : คะแนนสูงกว่า 50 แต่ลดลงจากเดือนก่อนหน้า

? สีเหลืองอ่อน : คะแนนต่ากว่า 50 แต่สูงกว่าเดือนก่อนหน้า

? สีแดง : คะแนนต่ากว่า 50 และลดลงจากเดือนก่อนหน้า

ส่วนนวัตกรรมข้อมูลเศรษฐกิจและงานวิจัย กองนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทร. 02-273-9020 ต่อ 3272

ที่มา: กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ