รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 29 พ.ย. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday December 4, 2024 14:28 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 3 ปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 3.0 ต่อปี โดยปัจจัยหลักมาจากการขยายตัวในสาขา

การผลิตสินค้าอุตสาหกรรม สาขาที่พักแรมและบริการด้าน รวมทั้งการลงทุนภาครัฐกลับมาขยายตัวเป็นครั้ง

แรกในรอบ 6 ไตรมาส การลงทุนภาครัฐกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส การส่งออกสินค้าและ

บริการและการอุปโภครัฐบาลขยายตัวในเกณฑ์สูง

? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ต.ค. 67

หดตัวลงร้อยละ -0.9 ต่อปี สะท้อนถึงแรงกดดันที่ยังคงอยู่ในภาคการผลิต ภาคการบริโภคเอกชน หดตัวจาก

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ในเดือน ต.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -0.1 ต่อปี และยอดขายรถยนต์นั่งหดตัวร้อยละ

-29.7 ต่อปี แสดงถึงกาลังซื้อที่ยังคงชะลอตัว ในภาคการลงทุนเอกชน ภาษีจากธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ใน

เดือน ต.ค. 67 ลดลงร้อยละ -0.9 ต่อปี อย่างไรก็ตาม ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเพิ่มขึ้นเล็กน้อยที่

ร้อยละ 0.9 ต่อปี และยอดขายปูนซีเมนต์ในประเทศขยายตัวร้อยละ 15.7 ต่อปี แต่ในส่วนของรถยนต์เชิง

พาณิชย์ยอดจาหน่ายลดลงร้อยละ -40.2 ต่อปี ในส่วนมูลค่าการส่งออกในเดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ

14.6 ต่อปี และมูลค่าการนาเข้าในเดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.9 ต่อปี นอกจากนี้จานวนนักท่องเที่ยว

เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 21.9 ต่อปี

ปัจจัยเสี่ยง

? การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว เนื่องจากกาลังซื้อภายในประเทศต่า หนี้ครัวเรือนสูง สินเชื่อเข้มงวด

และการทะลักของสินค้านาเข้า

? ภาระหนี้ครัวเรือนที่สูงทาให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ ยังคงกดดันต่อการบริโภคและ

การลงทุน

ข้อเสนอแนะ

? มาตรการการลดภาระชาระหนี้ จะเป็นตัวช่วยในการกระตุ้นภาคการบริโภค รวมทั้งภาคการลงทุน

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 25.6 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ต.ค. 67 หดตัวร้อยละ -10.0 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ต .ค. 67 พบว่าดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุลจานวน - 381,824 ล้านบาท

? ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ .ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 ?

22 พฤศจิกายน 2567 พบว่า ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอน

เปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.64 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 9.78 หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 10.16

หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 1.67 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.31

โดยสัปดาห์ที่สามของเดือนเบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.49 น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่าย

ต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 0.83 อย่างไรก็ดี ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือน พฤศจิกายน 2567 ควรเบิกจ่าย

ให้ได้อีกร้อยละ 1.17 เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ร้อยละ 11.33 ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน โดยมีแนวทางดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5 อันดับแรก ได้แก่

กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงกลาโหม และกระทรวง

การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียน

สู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา ชลบุรี สมุทรปราการ เชียงใหม่ และขอนแก่น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ด้านการใช้จ่าย การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคขั้นสุดท้ายของรัฐบาล การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น (การลงทุน) ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 6.3 และร้อยละ 5.2 ตามลาดับ สาเหตุจากอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 26.3 สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 25.425.4ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ20.920.9ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และการส่งออกสินค้าและบริการ ขยายตัวร้อยละ 10.5เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่การอุปโภคบริโภคขั้นสุดท้ายของเอกชนชะลอลงที่ร้อยละ 3.43.4ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายในทุกหมวดสินค้าและการลดลงต่อเนื่องของการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทน

Thailand

s Real GDP ( 667

ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 33ปี 25677ขยายตัวร้อยละ 33.00ต่อปี เนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 22.22ต่อปี ในไตรมาสที่ 22ปี 2567 เมื่อขจัดฤดูกาลพบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในไตรมาสนี้ขยายตัวร้อยละ 11.22เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.80.8ในไตรมาสที่ 2 ปี25672567โดยปัจจจัยหลักมาจากสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขณะที่สาขาก่อสร้างกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 44ไตรมาส ด้านการใช้จ่าย การลงทุนภาครัฐกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 6ไตรมาส การส่งออกสินค้าและบริการและการอุปโภครัฐบาลขยายตัวในเกณฑ์สูง การอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนลดลง

ด้านการผลิต ภาคนอกเกษตรขยายตัวร้อยละ 33.22โดยขยายตัวทั้งในกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตที่ขยายตัวร้อยละ 1.22ซึ่งชะลอลงในทุกสาขาการผลิต และในกลุ่มบริการ ขยายตัวที่ร้อยละ 4.14.1โดยเป็นผลจากสาขาก่อสร้างภาครัฐเร่งขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เช่น สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขนส่งฯ และสาขาการขายส่งและการขายปลีกฯ ที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง ขณะที่การผลิตภาคเกษตรลดลงร้อยละ 00.55ผลมาจากผลผลิตที่ลดลงของข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และยางพารา

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ต.ค. 67 หดตัวร้อยละ -0.9ต่อปี

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q2

Q3

Sep

Oct

YTD

ยอดจาหน่ายเหล็ก

-

6.6 1.8

-

8.9 -

12.6 0.9

-

3.9

%mom_sa,

%qoq_sa

-

1.5

-

2.8 5.4

4.0

Manufacturing Production Index :

MPI

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม

ดัชนี MPIMPIหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 แต่หดตัวน้อยลง โดยการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่ ยานยนต์ สิ่งทอ และแร่อโลหะ คอนกรีต ปูนซีเมนต์ หดตัวร้อยละ -21 6,,-13.6 และ -3.4 ต่อปี ตามลาดับ* ปัจจัยที่ส่งผลลบต่อภาคการผลิต เช่น กาลังซื้อภายในประเทศต่า หนี้ครัวเรือนสูง สินเชื่อเข้มงวด และการทะลักของสินค้านาเข้า แต่ยังมีปัจจัยบวกจากมาตรการกระตุ้นของรัฐ โครงการเงิน 10,000 บาท การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่ขยายตัว และภาคการท่องเที่ยวที่เติบโตต่อเนื่อง ซึ่งช่วยสนับสนุนภาคบริการและการผลิตให้ขยายตัวเพิ่มขึ้น (*เรียงตามสัดส่วนใน MPIMPIในระบบ TSIC 22หลัก

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q2

Q3

Sep

Oct

YTD

MPI

-

33.8 -0.2

-1.1

-3.2

-0.9

-

1 6

%mom_sa,

%qoq_sa

-

0.6

-0.7

-1.4

1.4

-

80.0

85.0

90.0

95.0

100.0

105.0

110.0

Jan-21

Apr-21

Jul-21

Oct-21

Jan-22

Apr-22

Jul-22

Oct-22

Jan-23

Apr-23

Jul-23

Oct-23

Jan-24

Apr-24

Jul-24

Oct-24

(

Index_Sa

Jan 21 = 100

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ต.ค. 6767ขยายตัวที่ร้อยละ 0.90.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวที่ร้อยละ 4.04.0เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ต.ค. 67 ขยายตัว โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณการจาหน่ายที่ขยายตัวของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นเคลือบดีบุกเหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยมท่อเหล็กกล้าและเหล็กโครงสร้างรูปพรรณ ชนิดรีดเย็น ขยายตัวที่ร้อยละ 131.7 47.5 39.5 และ 33.633.6ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ใน เดือน ต.ค. 677หดตัวที่ร้อยละ -0.1ต่อปี และหดตัวเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ 0.3

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จากจัดเก็บในค่าการใช้จ่ายภายในประเทศขยายตัวในเกณฑ์สูงที่ร้อยละ 8.5 (%YoY)

ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ส่วนหนึ่งได้รับปัจจัยบวกของนโยบายสนับสนุนการบริโภคของภาครัฐ ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าพลิกกลับมาหดตัวต่อเนื่องเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -10.8(%YoY) กดดันให้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ โดยรวมลดลงเล็กน้อย อย่างไรก็ดี ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในเกณฑ์สูง และความเข้มงวดของสถาบันการเงิน ยังคงเป็นปัจจัยสาคัญที่สร้างแรงกดดันต่อการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไป

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ต.ค. 6767หดตัวที่ร้อยละ 0.90.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ขยายตัวร้อยละ 8.08.0เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ต.ค. 6767หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยมาจากเศรษฐกิจไทยที่ยังเติบโตในระดับต่า ปัญหาการชะลอตัวของสินเชื่อภาคธุรกิจและภาคครัวเรือนจากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง นอกจากนี้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในภาคธุรกิจอสังหาฯของภาครัฐจะมีส่วนช่วยเพิ่มการลงทุนของผู้ประกอบการในธุรกิจ

ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.7 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -0.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน

Cement Sales

Indicators

(%yoy)

2023 2024

ทั้งปี Q2 Q3 Sep Nov YTD

ยอดขาย

ปูนซีเมนต์

1.2 -8.9 4.8 8.4 15.7 -2.8

%mom,

%qoq

- 3.7 12.5 -0.2 -0.7

ในเดือน ต.ค. 67 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์กลับมาขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการเร่งเบิกจ่าย

งบประมาณในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ และการเร่งก่อสร้างของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งโครงการใหม่และโครงการ

ต่อเนื่อง นอกจากนี้การใช้ปูนซีเมนต์เพื่อซ่อมแซมที่อยู่อาศัยจากการโดนน้าท่วม จึงทาให้มีความต้องการใช้

ปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ต.ค. 67 มีจานวน 17,17,106คัน หดตัวลงร้อยละ-29.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 9.7

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลหดตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9โดยได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในเกณฑ์สูง รวมถึงปัญหาการแข่งขันด้านราคาของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ส่งผลให้ผู้บริโภคชะลอการตัดสินใจซื้อรถยนต์ออกไป อย่างไรก็ดี รายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นจากราคาสินค้าเกษตรหลายรายการที่มีราคาดี และตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่ช่วยส่งเสริมการบริโภคของประชาชนและส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดีในระยะต่อไป

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ต.ค. 6767มีจานวน 22,02522,025คัน หดตัวที่ร้อยละ

40.240.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวลงที่ร้อยละ 1.01.0ในส่วนปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ 42.042.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ต.ค. 67 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2323และหดตัวจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 1.01.0เนื่องจากเศรษฐกิจที่เติบโตได้ต่า ปัญหาหนี้เสียส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ และอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

มูลค่าการส่งออกในเดือนต.ค. 6767มีมูลค่าอยู่ที่ 27,222.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐขยายตัวที่ร้อยละ 114.6 เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 10.7%

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองคา และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 10.7

เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ

?

สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป อาหารสัตว์เลี้ยง ไก่แปรรูป และผลไม้กระป๋องและแปรรูป

?

สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศและหม้อแปลงไฟฟ้า

?

สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่า การส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักขยายตัว อาทิ ตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป CLMVCLMVและตลาดจีนในขณะที่ตลาดญี่ปุ่นกลับมาขยายตัวในรอบ 9เดือน

มูลค่าการนาเข้าในเดือน ต.ค. 67มีมูลค่า 28,016.4ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ15.9 เมื่อเทียบรายปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 6.7

การนาเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้าทุน กลุ่มสินค้าเชื้อเพลิง สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป

ด้านดุลการค้าในเดือน ต.ค. 67 ขาดดุลมูลค่า -794.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67 ขาดดุลสะสมที่ -6,751.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

วันที่ 18 24 พ.ย. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 7.49 แสนคน โดยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากจานวนนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะใกล้ (Short Haul Haul) ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวจีน และเกาหลีใต้ ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวเดือน ต.ค. 67 มีจานวนทั้งหมด 2.68 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 21.9 อยู่ในระดับต่ากว่าคาดการณ์เล็กน้อย จากจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางเข้ามาต่ากว่าคาดการณ์

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2567และคาดการณ์(คาดการณ์ 36.0 ล้านคน รายได้ 1.69 ล้านล้านบาท)

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยปี 2567

ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา

10

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลttกีฬา

จานวน : ล้านคน

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q1

Q2

Q3

Sep

Oct

YTD

จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ yoy 154.4

43.5

26.3

21.1

18.3

21.9

29.3

%mom_sa, %qoq_sa

-

-9.0

70.8

-2.8

16.2

-8.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย yoy 22.7

8.6

13.0

6.6

4.1

5.2

9.

9.0

%mom_sa, %qoq_sa

-

5.7

16.6

-

0.6 -

5.0

-4.8

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย yoy 33.9

10.2

1

16.9

10.8

5.8

7.3

12.

12.1

%mom_sa, %qoq_sa

-

-1.5

19.9

2.9

-

10.10.4

0.1

ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริป ของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย yoy

9.2

0.5

1.1

1.3

1.6

2.0

2.8

หน่วย ล้านคน

อัตราการขยายตัว : ร้อยละ

1-24

พ.ย.. 67

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยวันที่18 24 ต ค. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว7.49 แสนคนและตั้งแต่วันที่1 ม ค 24 พ ย. 67 (YTD YTD) มีจานวนทั้งสิ้น31.31 ล้านคนสร้างรายได้1.461.46ล้านล้านบาทคิดเป็นค่าใช้จ่าย คน ทริปที่46,829 บาทโดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีแนวโน้มขยายตัวจากเดือนก่อนหน้าต่อเนื่องจากการที่นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะใกล้(Short hual เดินทางมาท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะชาวจีนและเกาหลีใต้ประกอบกับการเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวภูมิภาคนุโรปและอเมริกาทั้งนี้เดือนต ค 6767มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ2.68 ล้านคนขยายตัวที่ร้อยละ21.9

โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีนมาเลเซียอินเดียเกาหลีใต้และรัสเซียเป็นสาคัญอย่างไรก็ดีเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าขยายตัวที่ร้อยละ1.31.3ทั้งนี้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดือนต ค 6767ต่ากว่าที่คาดการณ์ประมาณ

2.22.2แสนคนเนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาต่ากว่าคาด

การท่องเที่ยวของชาวไทยสะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือนต ค. 67 มีจานวน21.8 ล้านคนขยายตัวจากเดือนก่อนที่ร้อยละ5.2 อย่างไรก็ดีเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลพบว่าหดตัวที่ร้อยละ 4.84.8เนื่องจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนในหลายจังหวัดปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าจากการมีวันหยุดในเดือนตุลาคมโดยเฉพาะจังหวัดชลบุรี ขยายตัวร้อยละ 44.9 จังหวัดระยอง

ขยายตัวร้อยละ21.8 ) และอุบลราชธานี ขยายตัวร้อยละ 17.4 )

ตามลาดับขณะที่ผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในจังหวัดอื่นๆยังขยายตัวได้ดีทั้งนี้รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือนต ค. 67 อยู่ที่78,054 ล้านบาทขยายตัวที่ร้อยละ7.3 เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าขยายตัวที่ร้อยละ0.10.1เป็นผลจากการใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยที่ขยายตัวจากเดือนก่อนหน้าอยู่ที่3,575 บาท คน ทริปขยายตัวจากเดือนก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ2.0

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ต.ค. 67เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 586,922ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 25.6 ต่อปี ทาให้เดือนแรกของปีงบประมาณ 68เบิกจ่ายที่ร้อยละ 14.6

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 554,919 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 22.8ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 14.8ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา 473,639 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 12.0ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 17.0และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 81,280 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 181.2ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 8.4 (2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 32,003 ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 108.4ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 11.6ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ต.ค. 67ได้ 205,339 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -10.0ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน ต.ค. 67หดตัวจากการคืนภาษีของกรมสรรพากร (ซึ่งเป็นรายการหัก)ขยายตัว 50.5% กรมสรรพสามิต หดตัว 16.3% ต่อปีและรัฐวิสาหกิจหดตัว 16.0% ต่อปี

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ต.ค.67พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน 381,824 ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณที่เกินดุล 8,284 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล 373,540 ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน 130,000 ล้านบาท ส่งผลให้จานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 270,561 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 22พฤศจิกายน 2567 พบว่า ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.64 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 9.78หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 10.16หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 1.67แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.31

โดยจานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568(วันที่ 23พ.ย. 2567-30ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80 ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 6.736.73แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 69.8469.84ทั้งนี้ ณ สัปดาห์ที่สามของเดือน พฤศจิกายน 25672567ผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 10.16 เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.49จากสัปดาห์ก่อนที่อยู่ที่ร้อยละ 9.67 อย่างไรก็ดี ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือน พฤศจิกายน 2567 ควรเบิกจ่ายให้ได้อีกร้อยละ 1.17 เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ร้อยละ 11.3311.33ณ สิ้นเดือน พฤศจิกายน 2567 โดยมีแนวทางดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.81แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.03แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.77หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.19หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.10หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.38ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.77ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.01ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.25 ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.19290.19ล้านบาท)

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

GDPไตรมาส 3 ปี 67 (ปรับปรุงครั้งที่ 2) เท่ากับการประมาณการเบื้องต้น โดยเศรษฐกิจขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) และเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.8 เมื่อคานวนแบบ annualized

rate ซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาด

ดัชนีราคาค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล (PCE price Index) เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 (YoY) ซึ่งเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ โดยเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ที่ร้อยละ 2.1 และ Core PCE อยู่ที่ร้อยละ 2.8 (YoY) เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเล็กน้อยที่ร้อยละ 2.7

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (10 -23 พ.ย. 67) อยู่ที่ 2.13 แสนราย เท่ากับสัปดาห์ก่อนหน้าต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.17 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ -13.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ -12.5 จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ยูโรโซน

ญี่ปุ่น

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.6 ต่อปี (ร้อยละ -0.4 ต่อเดือน) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.7 ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า นับเป็นเดือนที่ 31ติดต่อกันที่ยอดขายปลีกเติบโต โดยยอดขายพุ่งขึ้นในหมวดหมู่รถยนต์ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ผู้ค้าปลีกที่ไม่ใช่หน้าร้าน เชื้อเพลิง และยาและเครื่องสาอาง

อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 67 ปรับตัวขึ้นเป็นร้อยละ 2.5 จากระดับต่าสุดในรอบแปดเดือนที่ร้อยละ 2.4 ในเดือน ก.ย. 67 โดยจานวนผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น 30,000คน เป็น 1.71ล้านคน ขณะที่ การจ้างงานเพิ่มขึ้น 160,000คน สู่ระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 67.98ล้านคน

ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของโตเกียว (Tokyo Core CPI) เดือน พ.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.2 ต่อปี สูงสุดในรอบสามเดือน ทั้งนี้ ข้อมูลเงินเฟ้าของโตเกียวมักถูกมองว่าเป็นตัวชี้นาแนวโน้มราคาระดับชาติ โดยตัวเลขดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ทั่วประเทศมักจะตามมาในอีกประมาณสามสัปดาห์

ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของโตเกียว (Tokyo CPI) เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.6 จากร้อยละ 1.8 ในเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ดัชนีดังกล่าว มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 2.39 จากปี 14 ถึงปี 67

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 100.7 จุด ลดลงจาก 101.7 จุด ในเดือนก่อนหน้า ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่สาม โดยความกังวลเกี่ยวกับสภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศในอนาคตและสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันส่งผลกดดันต่อความเชื่อมั่นโดยรวม

ดัชนีสารวจธุรกิจ (BSI) สาหรับภาคการผลิต เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 68 ต่าสุดนับจาก ก.ย. 67 เนื่องจากสถานการณ์ทางการเงินที่แย่ลง ขณะเดียวกัน การผลิตยังคงทรงตัว ในขณะที่คาสั่งซื้อใหม่และสภาวะสินค้าคงคลังมีการปรับตัวดีขึ้น

ธนาคารกลางเกาหลี (BOK) ในการประชุมเดือน พ.ย. 67ปรับลดอัตราดอกเบี้ยพื้นฐานลง 25 จุด เหลือร้อยละ 3.0 ซึ่งเป็นการลดอัตราดอกเบี้ยติดต่อกันเป็นเดือนที่สอง

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 6.3 ต่อปี (ร้อยละ 0 ต่อเดือน) การผลิตภาคอุตสาหกรรมในเกาหลีใต้มีค่าเฉลี่ย ร้อยละ 7.97ตั้งแต่ปี 19 จนถึง 67

สิงคโปร์

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานรายไป เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.1 ต่อปี โดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี 33ถึง 67อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 1.78

อัตราเงินเฟ้อรายปี เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.4 ต่อปี (ร้อยละ -0.3 ต่อเดือน) ต่าสุดนับจาก มี.ค. 64เป็นต้นมา

การผลิตภาคอุตสาหกรรม (manufacturing production) เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.2 ต่อปี (ขยายตัวร้อยละ 0.1 ต่อเดือน) ชะลอลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 9.0 ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจากการเติบโตของผลผลิตที่อ่อนแอลงในอุตสาหกรรมยาเภสัชกรรม ขณะเดียวกัน ผลผลิตหดตัวในอุตสาหกรรมเคมี วิศวกรรมความแม่นยา และอุตสาหกรรมการผลิตทั่วไป

ฝรั่งเศส

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) flashflashเดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 43.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าและต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 44.5 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 22 และเป็นการหดตัวของดัชนีที่มากที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 67 อันเนื่องจากยอดคาสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานลดลงอย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศและต่างประเทศ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นTWSE ไต้หวัน) Hang Seng ฮ่องกง) และ PSEi ฟิลิปปินส์) เป็นต้น เมื่อวันที่ 228พ.ย. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,428.01 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 25 228พ.ย. 67 อยู่ที่40,020.81 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติและนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศและนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 25 -228พ.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -2,998.38ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง 8 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 111 ปี และ 32 ปี ซึ่งนักลงทุนสนใจ 2.9 และ 2.5 เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่25 -228 พ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 2,232.86 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 228พ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-775 573.12 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่228 พ.ย. 67เงินบาทปิดที่ 34.4.45 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.58 จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ ดอลลาร์ไต้หวัน และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่เงินสกุลวอน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.0.27

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ