รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 6 ธ.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Friday December 13, 2024 15:02 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ เงินเฟ้อทั่วไป เดือนพ.ย. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ต่อปี โดยมีราคาน้ามัน

ดีเซลและสินค้าหมวดอาหารเป็นปัจจัยหลัก ในส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน พ.ย. 67 สูงขึ้นร้อยละ 0.8 ต่อปี

ภาคการบริโภค การจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ใหม่เดือน พ.ย. 67 หดตัวร้อยละ -4.5 ต่อปี สะท้อนก้าลังซื้อ

ที่ถูกกดดันจากภาระหนี้ครัวเรือนและการปล่อยสินเชื่อที่เข้มงวด ในภาคการลงทุนการจดทะเบียนรถยนต์

เชิงพาณิชย์ใหม่เดือน พ.ย. 67 หดตัวร้อยละ -20.7 ต่อปี จากปัญหาหนี้เสียและดอกเบี้ยสูง และ

ภาคการท่องเที่ยว ในช่วง 25 พ.ย. - 1 ธ.ค. 67 มีจ้านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ 7.06 แสนคน ชะลอตัวลงจาก

สัปดาห์ก่อนหน้าร้อยละ -5.7

ปัจจัยเสี่ยง

? การสูงขึ้นของราคาน้ามันดีเซล ส่งผลให้ต้นทุนสูงขึ้น

? ภาระหนี้ครัวเรือนที่สูงส่งผลท้าให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ

? สถานการณ์อุทกภัยในภาคใต้ ส่งผลให้นักท่องเที่ยวมาเลเซียชะลอตัวลงอย่างมาก

ข้อเสนอแนะ

? มาตรการการลดภาระช้าระหนี้จะเป็นตัวช่วยในการกระตุ้นภาคการบริโภครวมทั้งภาคการลงทุน

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ต.ค. 67 คิดเป็นร้อยละ 63.99 ของ GDP

? ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 67 ? 30 พ.ย. 67

พบว่า ณ สิ้นเดือน พ.ย. 67 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.64

แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จ้านวน 1.04 แสนล้านบาท มีการใช้จ่ายที่จ้านวน 1.81 แสนล้านบาท โดยสัปดาห์

สุดท้ายของเดือนเบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.60 น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่

ร้อยละ 1.17 และต้ากว่าเป้าหมายที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ร้อยละ 11.33 หรือต้ากว่าเป้าหมายร้อยละ

0.57 ซึ่งจ้าเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายเดือนถัดไป โดยเน้นการลงทุนในกระทรวงวงเงินสูง 5 กระทรวง ได้แก่

กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงกลาโหม และกระทรวงการอุดมศึกษา

วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมทั้งเร่งรัดจังหวัดวงเงินสูง เช่น นครราชสีมา ชลบุรี สมุทรปราการ

เชียงใหม่ และขอนแก่น เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย.

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน พ.ย. 67เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.9ต่อปี

?

เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน พ.ย. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 (YoY) โดยมีปัจจัยหลักจากการสูงขึ้นของราคาน้ามันดีเซลเป็นผลจากฐานราคาต้าในปีก่อน และราคาสินค้าในหมวดอาหารและเครื่องดื่มปรับตัวสูงขึ้น จากราคาผลไม้สด เครื่องประกอบอาหาร และเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์

?

เมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลงร้อยละ -0.13 (MoM) จากการลดลงของราคาไก่สด ไข่ไก่ และผักสด รวมถึงกลุ่มผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการท้าความสะอาด อาทิ ผงซักฟอก เนื่องจากมีการส่งเสริมการตลาดของผู้ผลิตและผู้ประกอบการ ขณะที่มีสินค้าที่สูงขึ้นจากเดือนก่อน ได้แก่ ค่าเช่าบ้าน ข้าวสารเจ้า น้ามันพืช และกาแฟผงส้าเร็จรูป เป็นต้น

?

องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงสินค้า (Contribution YoY) ประกอบด้วย 1 หมวดอาหารส้าเร็จรูป 0.35

2 หมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง ((+0.29 และ3 หมวดค่าไฟฟ้า ((+0.08 เป็นปัจจัยบวกที่ท้าให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นร้อยละ 0.8 (YoY) และสูงขึ้นร้อยละ 0.08 (MoM)

Inflation Rate

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q2

Q3

Oct

Nov

YTD

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป

1.2

0.8

0.6

0.8

0.9

0.3

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน

1.3

0.4

0.5

0.8

0.8

0.5

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือนพ.ย. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.40.4เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ย. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยมีสาเหตุจากการสูงขึ้นของดัชนีราคาหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ และหมวดวัสดุฉาบผิว เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 1.2 1.0 และ 0.50.5ตามล้าดับ เนื่องจากต้นทุนค่าขนส่งที่สูงขึ้นตามราคาน้ามันดีเซลสูงกว่าปีที่ผ่านมา และความต้องการใช้ในการก่อสร้างด้านคมนาคมเร่งตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กมีดัชนีราคาลดลงจากปัญหาที่ยืดเยื้อของภาคอสังหาริมทรัพย์ของจีนที่ยังไม่ฟื้นตัวกดดันราคาเหล็กลดลง รวมทั้งหมวดซีเมนต์ และหมวดกระเบื้อง ที่ได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์

Construction Materials Price Index : CMI

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q2

Q3

Oct

Nov

YTD

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง

0.1

-

0.4 0.6

0.4

0.4

-

0.2

0.4

-5

0

5

10

Oct-22

Dec-22

Feb-23

Apr-23

Jun-23

Aug-23

Oct-23

Dec-23

Feb-24

Apr-24

Jun-24

Aug-24

Oct-24

-

0.4

-

0.8

-

1.1

-

0.8

-

0.5

0.2

1.5

0.6

0.8

0.4

0.6

0.8

0.9

0.6

0.6

0.5

0.4

0.4

0.4

0.4

0.4

0.5

0.6

0.8

0.8

0.8

-1.5

-1.0

-0.5

0.0

0.5

1.0

1.5

2.0

พ.ย. 66

ธ.ค. 66

ม.ค. 67

ก.พ. 67

มี.ค. 67

เม.ย. 67

พ.ค. 67

มิ.ย. 67

ก.ค. 67

ส.ค. 67

ก.ย. 67

ต.ค. 67

พ.ย. 67

Headline Inflation

Core Inflation

%YoY

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

5

5

ที่มา ::กรมการขนส่งทางบก

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่กลับมาหดตัวอีกครั้งหลังขยายตัวในเดือนก่อนหน้า ส่วนหนึ่งอาจได้รับปัจจัยกดดันจากปัญหาหนี้ครัวเรือนที่บั่นทอนต่อก้าลังซื้อของผู้บริโภค อีกทั้งความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ จากปัญหาหนี้เสียในสินเชื่อกลุ่มนี้ที่อยู่ในระดับสูงอย่างไรก็ดี การท่องเที่ยวที่ยังคงขยายตัวได้ดีขึ้นต่อเนื่อง รวมถึงรายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา จะเป็นส่วนช่วยสนับสนุนการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไป

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ย. 67หดตัวที่ร้อยละ -4.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลขหดตัวที่ร้อยละ -0.1

ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ย.67 หดตัวที่ร้อยละ 20.720.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลหดตัวที่ร้อยละ 5.6

ในเดือน พ.ย. 6767ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่หดตัวร้อยละ 20.720.7และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล(Van และ Pick up หดตัวที่ร้อยละ 28.428.4ซึ่งเป็นการหดตัวอย่างต่อเนื่อง มาจากปัญหาหนี้เสียที่อยู่ในระดับสูงส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่ยังอยู่ในระดับสูงโดยจะส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

?วันที่ 25 พ.ย. -1 ธ.ค. 67 มีจ้านวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 706,382คน ชะลอตัวลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าร้อยละ -5.7มีสาเหตุส้าคัญมาจากจ้านวนนักท่องเที่ยวมาเลเซียที่ชะลอตัวลงอย่างมาก จากอุทกภัยในพื้นที่อ้าเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางบกที่ส้าคัญของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย

จ้านวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 25 พ.ย. 1ธ.ค. 67มีจ้านวนนักท่องเที่ยว 7.06แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 1 ธ.ค. 67 (YTD) มีจ้านวนทั้งสิ้น 32.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.50 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,882 บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจ้านวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีจ้านวนลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าร้อยละ -5.73ปัจจัยส้าคัญมาจากการเกิดอุทกภัยในอ้าเภอหาดใหญ่ ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางบกที่ส้าคัญ รวมถึง 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วย โดยผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยดังกล่าว สะท้อนผ่านจ้านวนนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียที่จ้านวนลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า 18,161 คน หรือคิดเป็นร้อยละ -22.18 ประกอบกับนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล (Long HualHual) ชะลอตัวเล็กน้อยด้านการเดินทาง ซึ่งเป็นแนวโน้มปกติก่อนที่นักท่องเที่ยวจะเพิ่มขึ้นอีกครั้งในช่วงปลายเดือนธันวาคม

ทั้งนี้ จ้านวนนักท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มเป็นไปตามที่จากจ้านวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นในช่วงเดือนธันวาคมและช่วง High seasonseasonของนักท่องเที่ยวกลุ่มนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกลโดย สศค. คาดการณ์ว่าปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000 บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ต.ค. 67 )

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

7

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ต.ค. 67 มีจ้านวนทั้งสิ้น11 799ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 63.99 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 159,421.51 ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต้ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 86.5454ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.977ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 30พฤศจิกายน 2567 พบว่า ณ สิ้นเดือน พฤศจิกายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.64 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จ้านวน 1.04แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 10.76หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จ้านวน 1.81แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.75

โดยจ้านวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568(วันที่ 1ธ.ค. 2567-30ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80 ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 6.736.73แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 69.69.24ทั้งนี้ ณ สัปดาห์สุดท้ายของเดือน พฤศจิกายน 25672567ผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 10.76 เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.60จากสัปดาห์ก่อนที่อยู่ที่ร้อยละ 10.16แต่ต้ากว่าเป้าหมายที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 11.33หรือต้ากว่าเป้าหมายร้อยละ 0.57จึงจ้าเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนในเดือนถัดไป โดยมีแนวทางดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.81แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.03แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.77หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.19หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.10หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.38ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.77ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.01ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.25 ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.19290.19ล้านบาท)

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ต.ค. 677เกินดุลที่ 0.660.66พันล้านดอลลาร์สหรัฐเกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 0.56 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ต.ค. 677ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 0.790.79พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่1.451.45พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ส้าหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 677เกินดุลรวม 5.99 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

Current Account

9

ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ต.ค. 677มียอดคงค้าง 20.20.50 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ต.ค. 677มียอดคงค้าง 225.56ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 3.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหดตัวที่ร้อยละ -0.03จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่าสินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ -0.32 ขณะที่ สินเชื่อเพื่อการบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.30จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 1.0จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์และเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 2.6และ 6.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามล้าดับ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต (ของ ISM) เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ 48.4 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 47.5จุด

ดัชนี PMI ภาคบริการ (ของ ISM) เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ 52.1 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 56.0จุด ต้ากว่าที่ตลาดคาดที่ 55.5จุด

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน พ.ย. 67หดตัวที่ร้อยละ -0.8ต่อปี จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า

มูลค่าการน้าเข้าสินค้า เดือน พ.ย. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 4.3ต่อปี จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า

ดุลการค้า เดือน พ.ย. 67 ขาดดุลที่ -73.8 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ -83.8หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (24 -30 พ.ย. 67) อยู่ที่ 2.24 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.18 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 6.3 ของก้าลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า และเป็นไปตามที่คลาดคาดการณ์

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 45.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.0จุด เป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ โดยดัชนีอยู่ต้ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.7

ยูโรโซน

จีน

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 51.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.3จุด ซึ่งสูงกว่าการคาดการณ์ของตลาดที่ 50.5จุด โดยได้รับแรงสนับสนุนจากค้าสั่งซื้อต่างประเทศ

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (Caixin) เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 51.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.0 จุด และต้ากว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ระดับ 52.5 จุด เนื่องจากการชะลอตัวของการเติบโตในธุรกิจใหม่และยอดขายต่างประเทศGDPไตรมาส 3 ปี 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ต้ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 1.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 67 (เบื้องต้น) อยู่ที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นอัตราเงินเฟ้อที่สูงที่สุดในรอบ 3 เดือนแต่ต้ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นในเดือนนี้เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดบริการ และการลดลงในอัตราที่ชะลอลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดพลังงาน เป็นส้าคัญ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) flashflashเดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 43.1 จุด ลดลงจากเดือนก่อนที่ระดับ 44.5 จุด และต้ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 43.2 ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต้ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 22 และเป็นการหดตัวของดัชนีที่มากที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 67 อันเนื่องจากความต้องการสินค้าที่ลดลงทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 53.1 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 54.5 จุด ในเดือนก่อนหน้าและต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 53.5จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.3

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นTWSE ไต้หวัน) Hang Seng ฮ่องกง) และ NikkeiNikkei225 ญี่ปุ่น) เป็นต้น เมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,450.82 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 2 4ธ.ค. 67 อยู่ที่39,995.67 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 2 -4ธ.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 228.73ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -3 ถึง 11 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 ปี และ 51 ปี ซึ่งนักลงทุนสนใจ 3.18 และ 3.04 เท่าของวงเงินประมูล ตามล้าดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่2 -4 ธ.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 2,380.80 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 4 ธ.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-770 258.95 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่4 ธ.ค.67เงินบาทปิดที่ 34.4.32 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.04 จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน เปโซ ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่ เงินสกุลยูโร ริงกิตและวอน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 1.00

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ