รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 27 ธ.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday January 2, 2025 13:44 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ฟื้นตัวบางส่วน โดย ภาคเกษตรกรรม มีการปรับตัวดีขึ้นจากดัชนีผลผลิต

สินค้าเกษตรที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 ต่อปี และดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0 ต่อปี ซึ่งช่วยเพิ่มรายได้

ของเกษตรกร ขณะที่ ภาคอุตสาหกรรมยังคงหดตัวต่อเนื่อง โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ลดลง

ร้อยละ -3.6 ต่อปีจากปัญหาหนี้ครัวเรือนและอุปสงค์ที่อ่อนแอ ขณะที่การบริโภคเอกชนยังเติบโตเล็กน้อย

โดยภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 1.8 ต่อปี แต่ยอดขายรถยนต์นั่งยังลดลงที่ร้อยละ -26.7 ต่อปี

การลงทุนภาคเอกชนชะลอตัวจาก ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์หดตัวที่ร้อยละ -0.6 ต่อปี ปริมาณ

การจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศหดตัวที่ร้อยละ -0.1 ต่อปี และปริมาณการจาหน่าย

รถยนต์เชิงพาณิชย์หดตัวที่ร้อยละ -34.4 ต่อปี ในส่วนการส่งออกยังคงเป็นแรงขับเคลื่อนสาคัญ โดยมูลค่า

การส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.2 ต่อปี จากสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมสาคัญ และมูลค่าการนาเข้าในเดือน

พ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 ต่อปี ด้านการท่องเที่ยว ขยายตัวร้อยละ 19.5 ต่อปี แม้จานวนนักท่องเที่ยว

ชาวจีนจะยังต่ากว่าคาดการณ์

ปัจจัยเสี่ยง

? เศรษฐกิจไทยยังเผชิญความเสี่ยงจากหนี้ครัวเรือนสูง ซึ่งกระทบต่อการบริโภคและการลงทุน

? จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติต่ากว่าที่คาดการณ์ เนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาต่ากว่าคาด

ข้อเสนอแนะ

? โครงการ ?คุณสู้ เราช่วย? จะเป็นส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือนโดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบาง รวมทั้ง

ลูกหนี้รายย่อยและ SMEs ขนาดเล็ก

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 45.0 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ย. 67 หดตัวร้อยละ -0.2 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ .ย. 67 พบว่าดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุลจานวน 133,289 ล้านบาท

? ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 ? 20 ธันวาคม

2567 พบว่า ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลงอยู่ที่ 9.6

แสนล้านบาท เบิกจ่ายแล้ว 1.2 แสนล้านบาท หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 2.1

แสนล้านบาท โดยสัปดาห์ที่สามของเดือนเบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.55 น้อยกว่าที่

ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 2.37 เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ณ สิ้นเดือนที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่

ร้อยละ 17.00 หรือต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 4.93 จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนในสัปดาห์ถัดไป

โดยควรเร่งรัดใน 5 กระทรวงที่มีวงเงินสูง ได้แก่ กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ กระทรวงกลาโหม และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และควรเร่งรัดใน

จังหวัดวงเงินสูง ได้แก่ นครราชสีมา ชลบุรี สมุทรปราการ เชียงใหม่ และขอนแก่น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน พ.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน พ.ย. 67 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในหมวดพืชผลสาคัญเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.5 หมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 0.4 และหมวดประมงหดตัว ร้อยละ -1.6 ผลผลิต ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง กลุ่มไม้ผล สุกร และ ไก่ ปรับตัวเพิ่มขึ้น ส่วนยางพารา ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน ไข่ไก่ และ กุ้งขาวแวนนาไมผลผลิตลดลง

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรในเดือน พ.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลงร้อยละ -1.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน พ.ย. 67 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ ขยายตัว ร้อยละ 10.0หมวดปศุสัตว์ ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 1.0และหมวดประมง และขยายตัวร้อยละ 19.1โดยราคายางพารา ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล สุกร ไก่ และ กุ้งขาวแวนนาไมปรับเพิ่มขึ้น ส่วนข้าวเปลือก ข้าวโพด มันสาปะหลัง และ ไข่ไก่ ราคาปรับลดลง ยังค

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน พ.ย. 67 ขยายตัว ร้อยละ 15.3 แหล่งที่มาของการขยายตัวจากยางพารา กลุ่มไม้ผล ข้าวเปลือก หมวดปศุสัตว์ และ หมวดประมง เป็นสาคัญ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน พ.ย. 67 หดตัว โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณการจาหน่ายที่หดตัวของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กโครงสร้างรูปพรรณชนิดรีดร้อน เหล็กเส้นข้ออ้อย เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี และ ลวดเหล็กแรงดึงสูง หดตัวที่ร้อยละ 15.5 14.2 13.413.4และ 12.512.5ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการหดตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้ความต้องการใช้เหล็กในการก่อสร้างลดลง

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ย. 67 หดตัวร้อยละ -3.6ต่อปี

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q2

Q3

Oct

Nov

YTD

ยอดจาหน่ายเหล็ก

-

6.6 1.8

-

8.9 2.4

-

0.1 -

3.4

%mom_sa,

%qoq_sa

-

1.5

-

2.8 5.4

-

5.0

Manufacturing Production Index :

MPI

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม

ดัชนี MPIMPIหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 โดยการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่ ยานยนต์ สิ่งทอ และแร่อโลหะ

คอนกรีต ปูนซีเมนต์ หดตัวร้อยละ -26 7,,-14.8 และ -8.8 ต่อปี ตามลาดับ* โดยมีปัจจัยลบจากกาลังซื้อที่ยังคงอ่อนแอจากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูง การปล่อยสินเชื่อที่เข้มงวดขึ้น ส่งผลต่อการซื้อสินค้าคงทน เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รวมถึงที่อยู่อาศัย อย่างไรก็ดี การผลิตสินค้าในกลุ่มที่ส่งออกบางรายการสามารถขยายตัวได้ โดยเฉพาะการเร่งส่งออกไปยังสหรัฐเพื่อหลีกเลี่ยงนโยบายการขึ้นภาษีที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ ทูน่ากระป๋อง เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เป็นต้น (*เรียงตามสัดส่วนใน MPIMPIในระบบ TSIC 22หลัก

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q2

Q3

Oct

Nov

YTD

MPI

-

33.8 -0.2

-1.1

-0.6

-3.6

-

1 8

%mom_sa,

%qoq_sa

-

0.6

-0.7

1.5

-2.3

-

93.7

80.0

85.0

90.0

95.0

100.0

105.0

110.0

Jan-22

Mar-22

May-22

Jul-22

Sep-22

Nov-22

Jan-23

Mar-23

May-23

Jul-23

Sep-23

Nov-23

Jan-24

Mar-24

May-24

Jul-24

Sep-24

Nov-24

(

Index_Sa

Jan 21 = 100

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน พ.ย. 6767หดตัวที่ร้อยละ 0.10.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวที่ร้อยละ 5.05.0เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ใน เดือน พ.ย. 677ขยายตัวที่ร้อยละ 11.88ต่อปี และขยายตัวเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ 0.6

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จากการจัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศขยายตัวในเกณฑ์สูงที่ร้อยละ 3636.88ต่อปีขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้า จากปัจจัยบวกของนโยบายสนับสนุนการบริโภคของภาครัฐเป็นสาคัญ ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้ายังคงหดตัวต่อเนื่องเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2626.11ต่อปี ซึ่งทาให้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ โดยรวมขยายตัวเล็กน้อย อย่างไรก็ดี ปัญหาหนี้ครัวเรือนและปัญหาด้านค่าครองชีพที่อยู่ในเกณฑ์สูง ยังคงเป็นปัจจัยสาคัญที่สร้างแรงกดดันต่อการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไป

ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ย.6767หดตัวที่ร้อยละ 0.60.6เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และตัวร้อยละ 4.54.5เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ย. 6767หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยมาจากปัญหาการชะลอตัวของสินเชื่อภาคธุรกิจและภาคครัวเรือนจากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง นอกจากนี้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในภาคธุรกิจอสังหาฯของภาครัฐจะมีโอกาสช่วยเพิ่มการลงทุนของผู้ประกอบการในธุรกิจ

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ย. 67 มีจานวน 18,00018,000คัน หดตัวลงร้อยละ-266.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 33.0

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลหดตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง10 เดือนติดต่อกัน โดยได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในเกณฑ์สูง รวมถึงปัญหาการแข่งขันด้านราคาของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ส่งผลให้ผู้บริโภคชะลอการตัดสินใจซื้อรถยนต์ออกไป อย่างไรก็ดี การหดตัวดังกล่าวนั้นลดลงเนื่องจากรายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นจากราคาสินค้าเกษตรหลายรายการที่มีราคาดี และตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง

ที่มา : บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน พ.ย. 6767มีจานวน 24,30824,308คัน หดตัวที่ร้อยละ

34.434.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวลงที่ร้อยละ 4.0

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน พ.ย. 67 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2424และหดตัวจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 4.04.0เนื่องจากปัญหามาหนี้เสียที่สูงส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูงเป็นปัจจัยกดดันต่อผู้ประกอบการ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

มูลค่าการส่งออกในเดือนพ.ย. 6767มีมูลค่าอยู่ที่ 25,608.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐขยายตัวที่ร้อยละ 8.2 เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -5.2

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองคา และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ

?

สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ยางพารา ไก่สด แช่เย็น แช่แข็ง และแปรรูป ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป อาหารสัตว์เลี้ยง และผลไม้กระป๋องและแปรรูป

?

สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา) เคมีภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และหม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ

?

สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่า การส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักขยายตัว อาทิ ตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป CLMVCLMVและตลาดจีนในขณะที่ตลาดญี่ปุ่นกลับมาหดตัว

มูลค่าการนาเข้าในเดือน พ.ย. 67มีมูลค่า 25,832.5ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ0.9 เมื่อเทียบรายปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -5.2

การนาเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าอื่น ๆ

ด้านดุลการค้าในเดือน พ.ย. 67 ขาดดุลมูลค่า -224.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67 ขาดดุลสะสมที่ -6,269.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

วันที่ 16-22 ธ.ค.67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 8.86 แสนคน โดยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยว (High SeasonSeason)ของนักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรป อเมริกา และโอเชียเนีย ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวเดือน พ.ย. 67 มีจานวนทั้งหมด 3.15 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 19.5 อยู่ในระดับต่ากว่าคาดการณ์เล็กน้อย จากจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางเข้ามาต่ากว่าคาดการณ์เล็กน้อย

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2567และคาดการณ์(คาดการณ์ 36.0 ล้านคน รายได้ 1.69 ล้านล้านบาท)

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยปี 2567

ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา

9

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลttกีฬา

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q1

Q2

Q3

Oct

Nov

YTD

จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ yoy 154.4

43.5

26.3

21.1

21.9

19.5

31.92

%mom_sa, %qoq_sa

-

10.4

5.7

-2.2

1.0

4.1

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย yoy 22.7

8.6

13.0

6.6

5.2

5.0

8.6

%mom_sa, %qoq_sa

-

5.7

16.6

-

0.6 -4.8

-12.5

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย yoy 33.9

10.2

1

16.9

10.8

7.3

8.5

11.7

%mom_sa, %qoq_sa

-

-1.5

19.9

2.9

-0.3

-9.9

ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริป ของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย

yoy

9.2

0.5

1.1

1.3

2.0

3.3

2.9

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยวันที่

1 -22 ธ.ค.67 มีจานวนนักท่องเที่ยว886,472แสนคนและตั้งแต่วันที่1 ม ค 222 ธ.ค.67 (YTD YTD) มีจานวนทั้งสิ้น334.37ล้านคนสร้างรายได้1.1.61 ล้านล้านบาทคิดเป็นค่าใช้จ่าย คน ทริปที่447,025บาทโดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีแนวโน้มขยายตัวจากเดือนก่อนหน้าต่อเนื่องจากการเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยว (High Season) ของนักท่องเที่ยวของภูมิภาคยุโรป อเมริกา และโอเชียเนีย ประกอบกับการเดินทางเข้าท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะใกล้ อาทิ จีน เกาหลี และญี่ปุ่น ที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ทั้งนี้เดือนพ.ย. 6767มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ3.15ล้านคนขยายตัวที่ร้อยละ19.5โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีนมาเลเซียอินเดียเกาหลีใต้และรัสเซียเป็นสาคัญอย่างไรก็ดีเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าขยายตัวที่ร้อยละ4.1 ทั้งนี้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดือนพ.ย. 6767ต่ากว่าที่คาดการณ์ประมาณ1 แสนคนเนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาต่ากว่าคาดเล็กน้อย

การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน พ.ย. 67มีจานวน 22.7ล้านคน ขยายตัวจากเดือนก่อนที่ร้อยละ 5.0และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า หดตัวที่ร้อยละ -12.5 เนื่องจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนในหลายจังหวัดปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า โดยเฉพาะจังหวัดใกล้เคียงกับกรุงเทพมหานคร อาทิ ชลบุรี ขยายตัว 46.8% จังหวัดนครปฐม ขยายตัว 19.8% และสระบุรี ขยายตัว 118.9% ตามลาดับ ทั้งนี้รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ 84,261 ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 8.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าหดตัวที่ร้อยละ -9.9 เป็นผลจากการใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ที่ขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า โดยอยู่ที่ 3,711711บาท/คน/ทริป ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 3.0

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ย. 67เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 310,136ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 45.0ต่อปี ทาให้สองเดือนแรกของปีงบประมาณ 68 เบิกจ่ายที่ร้อยละ 22.0

1

0

ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 2 74,56974,569ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 42.282.28ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 21.81.8ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา 252,159 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 38.8ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 25.6 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 22,411 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 98.2 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 10.8 (2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 35,567 ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 69.9 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 24.6ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ย. 67ได้ 182,583 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -0.2ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน พ.ย. 67หดตัวจากการคืนภาษีของกรมสรรพากร (ซึ่งเป็นรายการหัก)ขยายตัวร้อยละ 47.1กรมสรรพสามิต หดตัวร้อยละ 7.9ต่อปี และรัฐวิสาหกิจหดตัวร้อยละ 9.7 ต่อปี

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ.ย.67พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน 133,289ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณขาดดุล 1,466 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล 134,755 ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน 140,000 ล้านบาท ส่งผลให้จานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 275,806ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2567 20 ธันวาคม 2567พบว่า ณ วันที่ 20ธันวาคม 2567วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.63แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 1.16แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 12.07หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 2.09แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 21.67

โดยจานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568(วันที่ 21ธ.ค. 2567-30ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80 ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 6.6.54แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 67.93ทั้งนี้ ณ สัปดาห์ที่สามของเดือน ธันวาคม 25672567ผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 12.07เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.55น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 2.47เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ณ สิ้นเดือนที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 17.00หรือต่ากว่าเป้าหมายที่ร้อยละ 4.93จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนในสัปดาห์ถัดไป โดยมีแนวทางดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.81แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.03แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.77หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.19หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.10หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.38ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.77ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.01ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.25 ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.19290.19ล้านบาท)

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีราคาค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล (PCE price Index) เดือน ธ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 (YoY) ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์โดยเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ที่ร้อยละ 2.3และ Core PCE อยู่ที่ร้อยละ 2.8 (YoY) ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าเล็กน้อยที่ร้อยละ 2.7

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (15 21 ธ.ค. 67) อยู่ที่ 2.19 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า และน้อยกว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ายมาอยู่ที่ 2.26แสนราย

สหรัฐอเมริกา

มาเลเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อันเนื่องจากการเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดการขนส่ง และหมวดสุขภาพ เป็นสาคัญ

อัตราการว่างงานเดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.41 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.38ของกาลังแรงงานรวม และเป็นตัวเลขอัตราการว่างงานที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ต.ค. 66

ยอดค้าปลีกเดือน พ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาขยายตัวอีกครั้งจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -0.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของสินค้าในหมวดอาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ หมวดสิ่งทอและเครื่องแต่งกาย หมวดเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นสาคัญ

ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน พ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 10.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 8.8 นับเป็นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวในอัตราที่เร่งขึ้นของภาคการผลิต เป็นสาคัญ

ไต้หวัน

สเปน

GDP

ไตรมาสที่ 3 ปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.4

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ฝรั่งเศส

การส่งออก เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาขยายตัวอีกครั้งหลังจากที่เดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -4.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของยอดส่งออกสินค้าในหมวดผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจากการกลั่นและถ่านโค้ก และหมวดเกษตรกรรม ป่าไม้ การจับปลา และการเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์น้าเป็นสาคัญ

การนาเข้า เดือน ต.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาขยายตัวอีกครั้งหลังจากที่เดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -0.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ต.ค. 67 ขาดดุลอยู่ที่ -7.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ -8.4พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขาดดุลที่ -8.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

สหราชอาณาจักร

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 2567 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นการขยายตัวสูงสุดนับตั้งแต่ไตรมาสที่ 1ปี 2566และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วเศรษฐกิจไม่มีการขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นSTI สิงคโปร์) IDX อินโดนีเซีย) และ S&P/ASX 200 ออสเตรเลีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 26ธ.ค. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,397.80 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 23 26ธ.ค. 67 อยู่ที่31,763.21 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 23 -26ธ.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 1,468.23ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 1 ปี และ 6 ปี ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง 6 bpsbpsเมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อน ขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 ปี ถึง 5 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 2 bpsbpsเมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อน โดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่23-26ธ.ค. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -1,768.44 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 26 ธ.ค. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-65,346.57 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่26 ธ.ค.67เงินบาทปิดที่ 34.23 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.09 จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลริงกิตเปโซ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลเยน ยูโร และดอลลาร์ไต้หวัน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 1.15

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ