เศรษฐกิจไทย
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด
? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ แสดงสัญญาณการขยายตัวในหลายมิติ ซึ่งสะท้อนถึงความแข็งแกร่งในบาง
ภาคส่วนของระบบเศรษฐกิจ โดยมูลค่าการส่งออกเติบโตร้อยละ 8.7 ต่อปี โดยได้รับแรงสนับสนุนจากสินค้า
กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรม ขณะเดียวกัน การนาเข้าขยายตัวถึงร้อยละ 14.9 ต่อปี สะท้อนถึงความต้องการ
สินค้าทุนและวัตถุดิบในภาคการผลิตที่เพิ่มขึ้นในภาคอุตสาหกรรม ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI)
อยู่ที่ระดับ 90.1 แม้จะต่ากว่าเกณฑ์ความมั่นคงทางเศรษฐกิจที่ระดับ 100 แต่ยังสะท้อนถึงการปรับตัวดีขึ้น
บางส่วน การเติบโตของปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.7 ต่อปี บ่งชี้ถึงความ
ต้องการในภาคก่อสร้างที่ฟื้นตัว โดยเฉพาะจากการซ่อมแซมและก่อสร้างในพื้นที่ประสบภัยพิบัติ ในด้านการ
ท่องเที่ยว ซึ่งเป็นหนึ่งในกลไกสาคัญของเศรษฐกิจ จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติระหว่างวันที่ 13-19 มกราคม
2568 มีจานวนถึง 8.21 แสนคน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากสัปดาห์ก่อนหน้า โดยได้รับอานิสงส์จากมาตรการ
ยกเว้นวีซ่าและกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวในช่วงปลายปี
ปัจจัยเสี่ยง
? การแข่งขันจากสินค้าจีนยังคงเป็นความท้าทายสาคัญสาหรับภาคอุตสาหกรรม รวมถึงสถานการณ์น้าท่วมใน
ภาคใต้ และความผันผวนของสภาพอากาศที่อาจส่งผลกระทบต่อการผลิตและการลงทุน นอกจากนี้
ความไม่แน่นอนจากการปรับขึ้นค่าแรง และนโยบายกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ ยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ต้อง
ติดตาม
ข้อเสนอแนะ
? เพื่อเสริมสร้างการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ควรเร่งรัดการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ เช่น การคมนาคมและ
การเกษตร รวมถึงมาตรการช่วยลดภาระค่าครองชีพประชาชน เช่น การสนับสนุนค่าพลังงานและการกระตุ้น
การบริโภคในประเทศ นอกจากนี้ ควรพิจารณาขยายมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของนักท่องเที่ยวระยะใกล้และระยะไกล
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
สถานการณ์ภาครัฐ
? ในเดือนธันวาคม 2567 ภาครัฐมีการเบิกจ่ายงบประมาณรวม 3.64 แสนล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 29.1
เมื่อเทียบกับปีก่อน ทาให้อัตราการเบิกจ่ายสะสมของปีงบประมาณ 2568 (3 เดือนแรก) อยู่ที่ร้อยละ
30.9 สะท้อนถึงความพยายามในการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการใช้จ่ายอย่างต่อเนื่อง ในส่วนรัฐบาลจัดเก็บ
รายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ท้องถิ่น) ในเดือนธันวาคม 2567 รวม 2.3 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9
อย่างไรก็ตาม ดุลเงินงบประมาณยังขาดดุล 1.3 แสนล้านบาท
ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน
? ณ วันที่ 17 มกราคม 2568 งบลงทุนที่ปรับเปลี่ยนอยู่ที่ 9.3 แสนล้านบาท เบิกจ่ายแล้ว 1.6 แสนล้านบาท
คิดเป็นร้อยละ 17.0 อย่างไรก็ตาม การเบิกจ่ายในสัปดาห์ที่สามของเดือนเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 1.0 ซึ่งต่ากว่า
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ร้อยละ 3.2 และเป้าหมายสะสม ณ สิ้นเดือนที่คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 23.3
จาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่าย โดยเฉพาะใน 5 กระทรวงที่มีวงเงินสูง เช่น กระทรวงคมนาคม (1.8 แสนล้าน
บาท) และกระทรวงมหาดไทย (1.0 แสนล้านบาท) รวมถึงจังหวัดสาคัญ เช่น นครราชสีมา (3.6 พันล้าน
บาท) และชลบุรี (3.3 พันล้านบาท)
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ธ.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 2.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ธ.ค. 67 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในหมวดพืชผลสาคัญเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.8 หมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 0.7 และหมวดประมงหดตัว ร้อยละ -0.9 ผลผลิต ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง กลุ่มไม้ผล สุกร ไก่ ไข่ ปรับตัวเพิ่มขึ้น ส่วนยางพารา ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน กุ้งขาวแวนนาไมผลผลิตลดลง
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรในเดือน ธ.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลงร้อยละ -2.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ธ.ค. 67 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ ขยายตัว ร้อยละ 6.9หมวดปศุสัตว์ หดตัวอยู่ที่ร้อยละ -0.04และหมวดประมง และขยายตัวร้อยละ 18.0โดยราคายางพารา ปาล์มน้ามัน สุกร ไก่ และ กุ้งขาวแวนนาไมปรับเพิ่มขึ้น ส่วนข้าวเปลือก กลุ่มไม้ผล ข้าวโพด มันสาปะหลัง และ ไข่ไก่ ราคาปรับลดลง ยั
รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน ธ.ค. 67 ขยายตัว ร้อยละ 6.7 แหล่งที่มาของการขยายตัวจากยางพารา กลุ่มไม้ผล ปาล์มน้ามัน และหมวดประมง เป็นสาคัญ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ธ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 90.1
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) ในเดือน ธ.ค. 67 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 90.1 จุด จาก 91.4 ในเดือนก่อน โดยดัชนีปรับตัวลดลงในทุกองค์ประกอบย่อย*
และยังอยู่ในระดับต่ากว่า 100** สะท้อนถึงการชะลอตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและความเปราะบางของกาลังซื้อภายในประเทศ ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการยัง
ต้องเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นจากสินค้าจีน รวมถึงสถานการณ์น้าท่วมและสภาพอากาศแปรปรวนในพื้นที่ภาคใต้ที่ยังไม่คลี่คลาย อย่างไรก็ตาม ในช่วง
ปลายปี ผู้ประกอบการได้รับแรงสนับสนุนจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายในช่วงเทศกาลปีใหม่ การจัดทา FTA ไทย?EFTA (สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป)
ที่ประสบความสาเร็จ ตลอดจนแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และภาคการท่องเที่ยว ซึ่งช่วยหนุนให้เศรษฐกิจโดยรวมมีปัจจัยบวกบางส่วน
ทั้งนี้ ดัชนี TISI ในอีก 3 เดือนข้างหน้ายังคงปรับตัวลดลง อยู่ที่ระดับ 95.5 จุด สะท้อนความกังวลของผู้ประกอบการต่อสภาวะความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ
จากการปรับขึ้นค่าแรง และความเสี่ยงจากนโยบายกีดกันทางการค้าของประเทศสหรัฐฯ ซึ่งอาจกดดันการฟื้นตัวของภาคอุตสาหกรรมในระยะข้างหน้า
ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ธ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 14.7 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -2.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน
ในเดือน ธ.ค. 67 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์กลับมาขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการใช้ปูนซีเมนต์ใน
การก่อสร้างและเพื่อซ่อมแซมที่อยู่อาศัยจากการโดนน้าท่วมในช่วงที่ผ่านมา นอกจากนี้การชะลอตัวของ
ภาคอสังหาริมทรัพย์จากภาวะหนี้ครัวเรือนอยู่ในระดับสูงจะส่งผลกระทบต่อการจาหน่ายปูนซีเมนต์ในระยะต่อไป
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
มูลค่าการส่งออกในเดือนธ.ค. 6767มีมูลค่าอยู่ที่ 24,765.9,765.9ล้านดอลลาร์สหรัฐขยายตัวที่ร้อยละ 8.77เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -0.7
การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองคา และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 10.410.4เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ
?
สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ยางพาราผลไม้กระป๋องและแปรรูปอาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสาเร็จรูปอื่น ๆ อาหารสัตว์เลี้ยง ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง ไก่สด แช่เย็น แช่แข็ง และแปรรูป และผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง
?
สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง และเคมีภัณฑ์
?
สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่า การส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักขยายตัว อาทิ ตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป CLMVCLMVจีน และอินเดีย
มูลค่าการนาเข้าในเดือน ธ.ค. 67 มีมูลค่า 24,776.5,776.5ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ14.914.9เมื่อเทียบรายปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1
การนาเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้าทุน สินค้า วัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าอื่น ๆ
ด้านดุลการค้าในเดือน ธ.ค. 67 ขาดดุลมูลค่า -10.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67 ขาดดุลสะสมที่ -6,280.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
วันที่ 13-19 ม.ค. 2568 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวน 8.2 แสนคน โดยจานวนนักท่องเที่ยวในสัปดาห์นี้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติกลุ่มระยะใกล้ (Short Haul Haul) เดินทางเข้ามาท่องเที่ยในประเทศไทยเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 13-19 ม.ค. 68 มีจานวนนักท่องเที่ยว 8.21 แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค 12 ม.ค. 68 (YTD)
มีจานวนทั้งสิ้น 2.13 ล้านคน สร้างรายได้ 1.07 แสนล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 50,178 บาทโดยในสัปดาห์ที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติยังเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะใกล้ (Short HaulHaul) ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในไทยเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ประกอบกับมีการกระตุ้นการท่องเที่ยวด้วยมาตรการยกเว้นวีว่า สาหรับในสัปดาห์ถัดไป กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา คาดว่าจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติจะอยู่ในระดับที่ทรงตัว เนื่องจากยังคงมีปัจจัยสนับสนุนเช่น การยกเว้นวีซ่าและบัตร ตม.6ประกอบกับนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกลที่อยู่ในระดับทรงตัวเช่นกัน
ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวทั้งหมดในเดือนธันวาคม 2567 มีแนวโน้มต่ากว่าคาดการณ์เล็กน้อย ประมาณ 1 แสนคน ซึ่ง สศค. คาดการณ์ว่าปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000 บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ต.ค. 67 ) อย่างไรก็ตาม จากรายงานของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาระบุว่า ในปี 2567 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไททั้งสิ้น 35.54 ล้านคน (26.3%YoY YoY) สร้างรายด้านการท่องเที่ยวประมาณ 1.67ล้านล้านบาท
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ธ.ค. 67เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 364,750 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 29.1 ต่อปี ทาให้สามเดือนแรกของปีงบประมาณ 68เบิกจ่ายที่ร้อยละ 30.9
4
ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.
โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 331,117 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 24.8ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 8.8ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา 309,628ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 21.7ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 11.1และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 21,489 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 98.1 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 2.2(2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 33,634 ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 94.4ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 12.2ต่อปี
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ธ.ค.67ได้ 229,021 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 7.9ต่อปี
โดยรายได้ในเดือนธ.ค. 67ขยายตัวจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ขยายตัวร้อยละ 8.5ต่อปี ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ขยายตัวร้อยละ 8.7ต่อปี ภาษีน้ามันขยายตัวร้อยละ 48.7ต่อปี และภาษีเบียร์ขยายตัวร้อยละ 14.2 ต่อปี
ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ธ.ค.67พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน 130,692ล้านบาท
ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณเกินดุล 11,708 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล 118,984ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน 142,753 ล้านบาท ส่งผลให้จานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 299,575ล้านบาท
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2567 17 ม.ค. 2568พบว่า ณ วันที่ 17 ม.ค. 2568 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.3 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 1.66แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 16.96 หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 2.7 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 28.9
โดยจานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568(วันที่ 18ม.ค. -30ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80 ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 5.99แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 63.0ทั้งนี้ ณ สัปดาห์ที่สามของเดือนมกราคม 2562568ผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 16.96เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.98น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 3.22เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ณ สิ้นเดือนที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 23.3 โดยสัปดาห์ที่สามของเดือนยังคงเบิกจ่ายต่ากว่าเป้าหมายดังกล่าวที่ร้อยละ 6.44จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนในสัปดาห์ถัดไป โดยมีแนวทางดังนี้
1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.8 แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.0 แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.88หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.22หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.1 หมื่นล้านบาท)
2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.38ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.77ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.01ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.25 ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.19290.19ล้านบาท)
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
รื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
เมื่อวันที่ 20 ม.ค. 68 นายโดนัลด์ ทรัมป์ได้เข้าพิธีสาบานตนเข้ารับตาแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ อย่างเป็นทางการ โดยได้ประกาศการเริ่มต้น "ยุคทองของอเมริกา" (Golden Age of America) และเน้นแนวทาง "America First" ซึ่งมุ่งเน้นการปกป้องผลประโยชน์ทางการค้าของสหรัฐฯ และเพิ่มรายได้ให้แก่ประเทศผ่านภาษีศุลกากร (Tariff) โดยการเพิ่มภาษีนาเข้าสินค้าจากจีน และปกป้องภาคการผลิตและภาคเกษตรกรรมในสหรัฐฯ โดยการเพิ่มภาษีนาเข้าจากประเทศต่าง ๆ รวมถึงการแก้ไขความไม่สมดุลทางการค้า ส่งเสริมให้บริษัทต่าง ๆ ย้ายฐานการผลิตกลับสู่สหรัฐฯ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มการจ้างงานในประเทศ และการลดการพึ่งพาการนาเข้าจากต่างประเทศในอุตสาหกรรมสาคัญ
การผลิตภาคการผลิต (Manufacturing production) เดือน ธ.ค. 67ขยายตัวร้อยละ 0.0เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเริ่มส่งสัญญาณการชะลอตัวตั้งแต่เดือน พ.ย. 67ที่ขยายตัวร้อยละ 0.6จากเดือนเดียวกันของปีก่อน
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (12 -18 ม.ค. 68) อยู่ที่ 2.23 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าและมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ไม่เปลี่ยนแปลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.13 แสนราย
สหรัฐอเมริกา
คาสั่งซื้อเครื่องจักรหลัก (ไม่รวมเรือและบริษัทไฟฟ้า) เดือน พ.ย. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.3 ต่อปี (ร้อยละ 3.4 ต่อเดือน) เป็น 899.6 พันล้านเยน ซึ่งเป็นการเติบโตที่แข็งแกร่งที่สุดในรอบ 9เดือน โดยภาคการผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 6เป็น 462.9พันล้านเยน และภาคนอกการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1เป็น 453.7พันล้านเยน
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (final) เดือน พ.ย. 67ลดลงร้อยละ -2.70ต่อปี (ร้อยละ -2.2ต่อเดือน) ผลผลิตภาคตสาหกรรมมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.47ตั้งแต่ พ.ศ. 2497จนถึง พ.ศ. 2567
ดุลการค้าพุ่งสูงถึง 130.94 พันล้านเยนในเดือน ธ.ค. 67 จาก 32.35 พันล้านเยนในเดือนเดียวกันของปีก่อน นี่เป็นการเกินดุลการค้าครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน มิ.ย. 67 โดยการส่งออกเติบโตเร็วกว่าการนาเข้า ยอดขาย (ส่งออก) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8 ต่อปี ที่ 9,910.60 พันล้านเยน ในขณะที่การซื้อสินค้า (นาเข้า) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8ที่ 9,779.67พันล้านเยน สาหรับทั้งปี ประเทศมียอดขาดดุลการค้า -5,332.56พันล้านเยน
อัตราเงินเฟ้อรายปี เดือน ธ.ค. 67อยู่ที่ร้อยละ 3.6สูงสุดนับตั้งแต่ ม.ค. 66ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานในเดือนเดียวกัน อยู่ที่ร้อยละ 3.0 สูงสุดใน 16 เดือน และดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.6 ต่อปี โดยมีการเปลี่ยนแปลงราคาในทิศทางที่เพิ่มขึ้นในสินค้าหมวด อาหาร ไฟฟ้า ก๊าซ เสื้อผ้า การขนส่ง เป็นสาคัญ ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของราคามีสาเหตุจากการยกเลิกเงินอุดหนุนพลังงานตั้งแต่เดือน พ.ค. 67
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
สิงคโปร์
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน ธ.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 ต่อปี (ร้อยละ 0.5 ต่อเดือน) ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 1.9 ต่อปี ในเดือนก่อน นี่เป็นอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานต่าสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 64 โดยหลักเป็นผลจากการชะลอตัวของเงินเฟ้อภาค เนื่องจากค่าใช้จ่ายช่วงวันหยุดลดลงและต้นทุนขนส่งสาธารณะชะลอตัว สาหรับทั้งปี 67 เงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยที่ร้อยละ 2.7ซึ่งต่ากว่าร้อยละ 4.2ในปี 66และคาดว่าเงินเฟ้อพื้นฐานจะลดลงอีกในปี 68เนื่องจากราคาบริการมีแนวโน้มชะลอตัว
อัตราเงินเฟ้อรายปี เดือน ธ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.6 ต่อปี เท่ากับเดือนก่อนหน้า โดยมีการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าในหมวด อาหาร ที่อยู่อาศัยและสาธารณูปโภค การรักษาพยาบาล และคมนาคม เป็นสาคัญ
ความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (The business confidence) ในฮ่องกงลดลงเป็นครั้งที่สามติดต่อกัน โดยอยู่ที่ -10 ในไตรมาสแรกของปี 68 พบว่าสัดส่วนของผู้ตอบแบบสอบถามที่คาดว่าจะดีขึ้นคือร้อยละ 9 ในขณะที่ผู้ที่คาดการณ์ว่าธุรกิจจะแย่ลงคือร้อยละ19 ขณะเดียวกัน ขวัญกาลังใจ ด้านการเงินและการประกันภัยแข็งแกร่งขึ้น
อัตราการว่างงานของฮ่องกงเดือน ธ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.1 โดยพบว่าจานวนผู้ว่างงานลดลง 6.1 พันคนจากเดือนก่อนหน้าเป็น 113.6 พันคน ขณะที่การจ้างงานเพิ่มขึ้น 7.1 พันคนเป็น 3.719 ล้านคน การว่างงานลดลงอย่างมากในภาคการผลิต ขณะเดียวกัน อัตราการว่างงานของเยาวชนซึ่งวัดผลผู้หางานอายุระหว่าง 20 ถึง 29 ปี ลดลงเหลือร้อยละ 5.8 จากร้อยละ 6.1 ในช่วงก่อนหน้า
อัตราเงินเฟ้อรายปีในฮ่องกงอยู่ที่ร้อยละ 1.4 ในเดือน ธ.ค. 67 ซึ่งยังคงไม่เปลี่ยนแปลงเป็นเดือนที่ 3 ติดต่อกันตั้งแต่ ต.ค. 67 โดยพบว่า ต้นทุนคงที่สาหรับอาหารสูงขึ้นร้อยละ 1 เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบสูงขึ้นร้อยละ 21.2 ไฟฟ้า ก๊าซ และน้าสูงขึ้นร้อยละ 11.4
การขาดดุลการค้าของฮ่องกงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น 43.4 พันล้านดอลลาร์ในเดือน พ.ย. 67 จาก 27.9 พันล้านดอลลาร์ จากปีที่แล้ว การนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 เป็น 438.1 พันล้านดอลลาร์ และการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 เป็น 394.7พันล้านดอลลาร์
การส่งออกฮ่องกงเดือน พ.ย. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 เป็น 394.7 พันล้านดอลลาร์ สาเหตุหลักมาจากยอดขายเครื่องจักรในสานักงานและเครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.1 และเครื่องจักรและอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าร้อยละ 17.4
การนาเข้าฮ่องกงเดือน พ.ย. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 เป็น 438.1 พันล้านดอลลาร์ สาเหตุหลักมาจากการซื้อเครื่องจักรในสานักงานและเครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 67.8 และโลหะที่ไม่ใช่เหล็กร้อยละ 40.2
ฮ่องกง
ยูโรโซน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
มาเลเซีย
การส่งออก เดือน ธ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 16.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 9.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 และเป็นการขยายตัวที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ก.ย. 65 ทั้งนี้การส่งออกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการส่งออกสินค้าในหมวดอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า หมวดเครื่องจักรและอุปกรณ์ และหมวดน้าปาล์มและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่อง เป็นสาคัญ
การนาเข้า เดือน ธ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 11.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวของการนาเข้าต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 14 แต่เป็นอัตราที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ส.ค. 67 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าในกลุ่มสินค้าทุน ในหมวดอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า และหมวดเครื่องจักร เป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 67 เกินดุลที่ 19.2 พันล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 15.1 พันล้านริงกิตมาเลเซีย และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่เกินดุลที่ 16.6 พันล้านริงกิตมาเลเซีย
ธนาคารกลางมาเลเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 3.0 ในการประชุมของธนาคารกลางรอบ ม.ค. 67 ซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาดและเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 10 เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับดังกล่าวยังอยู่ในระดับที่ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งสอดคล้องกับมุมมองของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อของมาเลเซีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าและต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 67อันเนื่องจากการเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดเวชภัณฑ์และเครื่องสาอาง
สหราชอาณาจักร
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 4.4 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.3ของกาลังแรงงานรวม
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภครวม (CCSI) เดือน ม.ค. 68 ปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อย โดยเพิ่มขึ้นเป็น 91.2 จาก 88.2 ในเดือนก่อนหน้า การเพิ่มขึ้นนี้สะท้อนถึงความรู้สึกทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเล็กน้อย แม้ว่าจะมีการปรับปรุงเล็กน้อย แต่ดัชนียังคงต่ากว่าค่าเฉลี่ยทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเน้นย้าถึงความระมัดระวังอย่างต่อเนื่องในหมู่ผู้บริโภค ความคาดหวังเงินเฟ้อสาหรับปีหน้าคงที่ที่ร้อยละ 2.8 ในขณะที่ความคาดหวังระยะ 3 และ 5 ปียังคงที่ที่ร้อยละ 2.6 โดยผู้ว่ากา BOKBOKเน้นถึงความจาเป็นของนโยบายการคลังที่สมดุลเพื่อรักษาโมเมนตัมทางเศรษฐกิจ
ดัชนีสารวจธุรกิจ (BSI) สาหรับภาคการผลิต เดือน ม.ค. 68เพิ่มขึ้นเป็น 63จาก 62ในเดือนก่อนหน้าหลังจากการลดลงติดต่อกันหลายเดือน
การขาดดุลการค้าของฟิลิปปินส์เดือน ธ.ค. 67 ลดลงเล็กน้อยเหลือ 4.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจาก 4.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว การส่งออกลดลงร้อยละ -2.2 เหลือ 5.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในขณะเดียวกัน การนาเข้าลดลงร้อยละ -1.7 เหลือ 9.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตลอดทั้งปี การขาดดุลการค้าเพิ่มขึ้นเป็น 54.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก 52.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปีก่อนหน้า โดยการส่งออกลดลงร้อยละ 0.5 ในขณะที่การนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1
ส่งออกของฟิลิปปินส์เดือน ธ.ค. 67 ลดลงร้อยละ -2.2 โดยได้แรงหนุนจากยอดขายผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ลดลงร้อยละ -17.1 โดยเฉพาะส่วนประกอบ อุปกรณ์ และเซมิคอนดักเตอร์ร้อยละ -30.1 สหรัฐอเมริกามีสัดส่วนการส่งออกที่ใหญ่ที่สุดร้อยละ 16.6 รองลงมาคือญี่ปุ่นร้อยละ 14.1 และจีนร้อยละ 12.9 ในขณะเดียวกันการนาเข้าของฟิลิปปินส์เดือน ธ.ค. 67 ลดลงร้อยละ -1.7 จากการซื้ออุปกรณ์การขนส่งที่ลดลงร้อยละ -24.2 และเชื้อเพลิงแร่ น้ามันหล่อลื่น และวัสดุที่เกี่ยวข้องร้อยละ -3.5 จีนยังคงเป็นแหล่งที่มาของการนาเข้าอันดับต้น ๆ ร้อยละ 25.8 ตามมาด้วยญี่ปุ่นร้อยละ 7.9 และเกาหลีใต้ร้อยละ 7.6
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ก่อน ขณะที่ ตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นTWSE ไต้หวัน) IDX อินโดนีเซีย) และ NikkeiNikkei225 ญี่ปุ่น) เป็นต้น เมื่อวันที่ 23ม.ค. 68 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,344.17 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 20 23 ม.ค. 68 อยู่ที่35,619.62 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 20 -23ม.ค. 68 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -2,067.42ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 8 ถึง 16 bpsbpsเมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อน ขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -3 ถึง -12 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 6.24 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่20 -23 ม.ค. 68 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 7,910.83 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 23 ม.ค. 68 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-11,207.04 ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่23 ม.ค.68เงินบาทปิดที่ 33.95 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.83 จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลเยน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 1.44
เครื่องชี้ตลาดเงิน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง