รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 7 ก.พ. 68

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday February 11, 2025 14:44 —กระทรวงการคลัง

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ม.ค. 68 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 ต่อปี และอัตราเงิน

เฟ้อพื้นฐานเดือน ม.ค. 68 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 ต่อปี ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ม.ค. 68

ขยายตัวร้อยละ 2.1 ต่อปี แต่ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ม.ค. 68 หดตัวที่ร้อยละ

-14.8 ต่อปี ในส่วนจานวนนักท่องเที่ยว วันที่ 27 ม.ค. - 2 ก.พ. 2568 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวน

9.46 แสนคน โดยจานวนนักท่องเที่ยวในสัปดาห์นี้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าต่อเนื่อง จากจานวน

นักท่องเที่ยวต่างชาติกลุ่มระยะใกล้ (Short Haul) ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลตรุษจีน

ปัจจัยเสี่ยง

? ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้มีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อรถยนต์

ข้อเสนอแนะ

? เพื่อเสริมสร้างการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ควรเร่งรัดการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ เช่น การคมนาคมและ

การเกษตร รวมถึงมาตรการช่วยลดภาระค่าครองชีพประชาชน เช่น การสนับสนุนค่าพลังงานและการกระตุ้น

การบริโภคในประเทศ

Executive Summary

1 2

สถานการณ์ภาครัฐ

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน

? ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลงอยู่ที่ 9.3

แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 1.7 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.1 หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน

โดยสัปดาห์สุดท้ายของเดือนเบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.6 น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่าย

ต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 5.2 และต่ากว่าเป้าหมายที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 23.3 จึงจาเป็นต้อง

เร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุน โดยเฉพาะใน 5 กระทรวงที่มีวงเงินสูง เช่น ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงิน

ลงทุน 1.8 แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.0 แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

(วงเงินลงทุน 8.8 หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.2 หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการ

อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.1 หมื่นล้านบาท)

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

4

ที่มา กรมการขนส่งทางบก

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่กลับมาขยายตัวอีกครั้งที่ร้อยละ 2.1 หลังจากที่หดตัวต่อเนื่องในช่วงเดือน พ.ย. ธ.ค. เนื่องจากผู้บริโภคเริ่มมีกาลังซื้อมากขึ้นจากมาตรการรัฐทั้งในด้านการกระตุ้นการบริโภคและมาตรการด้านการแก้ไขปัญหาหนี้ อย่างไรก็ตาม ในระยะข้างหน้า ตลาดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ยังคงมีปัจจัยกดดันอย่างต่อเนื่อง จากปัญหาหนี้ครัวเรือน ความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ ความไม่แน่นอนในสภาวะอากาศแปรปรวน และปัจจัยเชิงภูมิรัฐศาสตร์

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ม.ค. 68ขยายตัวร้อยละ 2.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 33เดือน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวร้อยละ 9.5

Indicators

(%yoy)

2024

2025

Q3

Q4

ทั้งปี

Jan

ทั้งปี

ปริมาณรถจักรยานยนต์

-

11.8 -

1.8 -

8 .0 2.1

2.1

%

MoM_sa

QoQ_sa

-

5.4

6.3

-

9.5

-

ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ม.ค. 6868หดตัวที่ร้อยละ 14.814.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลหดตัวที่ร้อยละ 4.3

ในเดือน ม.ค. 68 ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่หดตัวร้อยละ 14.814.8และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล(Van และ Pick up หดตัวที่ร้อยละ 17.317.3ซึ่งเป็นการหดตัวอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ จากปัญหาหนี้เสียที่ยังอยู่ในระดับสูง รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูงซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบธุรกิจ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

วันที่ 27 ม.ค. -2 ก.พ. 2568 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวน 9.46 แสนคน โดยจานวนนักท่องเที่ยวในสัปดาห์นี้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าต่อเนื่อง จากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติกลุ่มระยะใกล้ (Short HaulHaul) ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลตรุษจีน โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและไต้หวัน

จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ 5อันดับแรกรายสัปดาห์ในปี 2567 และปี 2568

ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา

5

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลttกีฬา

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 27 ม.ค 2 ก.พ. 68 มีจานวนนักท่องเที่ยว 9.46 แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค 2 ก.พ. 68 (YTD) มีจานวนทั้งสิ้น 3.96 ล้านคน สร้างรายได้ 1.95 แสนล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 49,172 บาทโดยในสัปดาห์ที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง จากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะใกล้ (Short HaulHaul) ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลตรุษจีน โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและไต้หวัน ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ขณะที่ จานวนนักท่องเที่ยวจีนในสัปดาห์ที่ผ่านมาอยู่ในระดับที่ทรงตัว สาหรับสัปดาห์ถัดไป คาดว่าจะมีจานวนนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในระดับที่ทรงตัว จากปัจจัยเสริม ได้แก่ มาตรการ Ease of Traveling ของรัฐบาล ที่ช่วยเพิ่มอานวยความสะดวกในการเดินทางเข้าสู่ประเทศไทย รวมถึงการยกเว้นบัตร ตม.6 ในด่านทางบก รวมถึงสายการบินหลายสายมีการเพิ่มเที่ยวบินมากขึ้น

ทั้งนี้ ในเดือนมกราคม 2568 ที่ผ่านมา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รายงานว่า มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ทั้งหมด 3.7 ล้านคน ซึ่งสูงกว่าคาดการณ์ของ สศค. ที่คาดการณ์ไว้ที่ 3.3 ล้านคน (คาดการณ์ เมื่อ ม.ค. 68) อย่างไรก็ตาม สศค. คากการ์ไว้ว่าในเดือนกุมภาพันธ์ 2568จะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติประมาณ 3.2ล้านคน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2567 31 ม.ค. 2568พบว่า ณ วันที่ 31ม.ค. 2568วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.3แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 1.77แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.11หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 3.1แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 33.3

โดยจานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568(วันที่ 1ก.พ. -30ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80 ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 5.88แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 61.9ทั้งนี้ ณ สัปดาห์สุดท้ายของเดือนมกราคม 2562568 ผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 18.11เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.66น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 5.2เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ณ สิ้นเดือนที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 23.3จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนในเดือนถัดไป โดยมีแนวทางดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.8แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.0แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.88หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.22หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.1หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.44ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.88ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.0ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.33ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.2290.2ล้านบาท)

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต (ของ ISM) เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ 50.9 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 49.2 จุด สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 49.8 จุด ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (ของ ISM) เดือน พ.ย. 67อยู่ที่ 52.8ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 54.0จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดที่ 54.3จุด

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (26ม.ค. -1ก.พ. 68) อยู่ที่ 2.19แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าและสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.17แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน พ.ย. 67 เกินดุล 2,456.9 พันล้านเยน เกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 22 และเป็นจานวนที่มากที่สุดตั้งแต่เดือน ส.ค. 67โดยบัญชีรายได้ปฐมภูมิ เกินดุล 3,437.3พันล้านเยน บัญชีบริการ เกินดุล 238.6พันล้านเยน ในส่วนของบัญชีสินค้า เปลี่ยนจากขาดดุล -683.3 พันล้านเยน มาเป็นเกินดุลเล็กน้อยที่เกือบ 1 พันล้านเยน เนื่องจากมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8ในขณะที่การนาเข้าลดลงร้อยละ -5.7ขณะที่บัญชีรายได้ทุติยภูมิ เพิ่มขึ้นเป็น 421.4พันล้านเยน

คาสั่งซื้อเครื่องมือกล (Machine Tool Orders) เดือน ธ.ค. 67เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2ต่อปี ที่ 141,259 ล้านเยน (ขยายตัวร้อยละ18.4 ต่อเดือน) นับเป็นการเพิ่มขึ้นของคาสั่งซื้อเครื่องมือกลเป็นเดือนที่สามติดต่อกัน จากที่อุปสงค์ภายในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 มาอยู่ที่ 39,920 ล้านเยน และคาสั่งซื้อจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.1 มาอยู่ที่ 101,339 ล้านเยน สาหรับทั้งปี 67 คาสั่งซื้อลดลงร้อยละ -0.2 รวมมูลค่าทั้งสิ้น 1,483,274 ล้านเยน

ญี่ปุ่น

จีน

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (CaixinCaixin) เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 50.1 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.5จุด ซึ่งดัชนียังคงสูงกว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของจีนยังคงมีการขยายตัว

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (CaixinCaixin) เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.2จุด ซึ่งดัชนียังคงสูงกว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคบริการของจีนยังคงมีการขยายตัว

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 48.7 จุดลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.6 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8อันเนื่องจากผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8และยอดคาสั่งซื้อใหม่ยังคงลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

อินเดีย

การผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 67เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2ต่อปี (ลดลงร้อยละ -1.2ต่อเดือน) นับเป็นตัวเลขสูงสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 67 โดยผลผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราที่เร็วขึ้นในทุกหมวดย่อย ทั้ง การทาเหมืองแร่ การผลิต ไฟฟ้า

อัตราเงินเฟ้อรายปี เดือน ธ.ค. 67 ชะลอตัวลงมาอยู่ที่ร้อยละ 5.22 (ร้อยละ -0.52 เมื่อเทียบเป็นรายเดือน) จากร้อยละ 5.38 ในเดือนก่อนหน้า ซึ่งยังคงอยู่ในกรอบเป้าหมายของ RBIRBIที่กาหนดไว้ไม่เกินร้อยละ 2 ทั้งนี้ การชะลอตัวเล็กน้อยดังกล่าว มีสาเหตุจาก อัตราเงินเฟ้อด้านอาหารที่ชะลอตัวลง ซึ่งอาหารมีสัดส่วนเกือบครึ่งหนึ่งของตะกร้าสินค้าผู้บริโภคอินเดีย และราคาที่อยู่อาศัยชะลอตัวลงเล็กน้อย

การผลิตภาคการผลิต เดือน พ.ย. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.8 ต่อปี เร่งตัวขึ้นจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 ในเดือนก่อนหน้า ปัจจัยที่มีส่วนสาคัญต่อการเติบโตมากที่สุด ได้แก่ การผลิตโลหะขั้นพื้นฐาน อุปกรณ์ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์แร่อโลหะอื่น ๆ

ไต้หวัน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.1 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.7 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับสูงกว่า 50 บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10 แต่เป็นการขยายตัวในอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ต.ค. 67อันเนื่องจากผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง และภาคธุรกิจเริ่มลดกาลังแรงงานในกระบวนการผลิต

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ธ.ค. 67หดตัวที่ร้อยละ -2.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -5.85จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ธ.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 9.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.05จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 5.11พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 6.79พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 50.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.8จุด ดัชนีอยู่ที่ระดับมากกว่า 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของออสเตรเลียมีการขยายตัว

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.2จุด ดัชนีอยู่ที่ระดับมากกว่า 50จุด บ่งชี้ว่าภาคบริการของออสเตรเลียยังคงมีการขยายตัว

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 0.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -3.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อัตราการว่างงาน เดือน ธ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.1 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.2ของกาลังแรงงานรวม

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 68คงที่จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 52.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 54.3 จุด ดัชนีอยู่ที่ระดับมากกว่า 50 จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของฟิลิปปินส์ยังคงมีการขยายตัว

ฟิลิปปินส์

GDP

GDP(เบื้องต้น) ไตรมาสที่ 4ปี 67ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -11.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนห่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -8.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ฮ่องกง

ธนาคารกลางของสหราชอาณาจักร (BoEBoE) มีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 4.75ต่อปี สู่ระดับร้อยละ 4.5ต่อปี

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 50.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.1จุด ดัชนีอยู่ที่ระดับมากกว่า 50จุด บ่งชี้ว่าภาคบริการยังคงมีการขยายตัว

สหราชอาณาจักร

GDP

GDPไตรมาสที่ 4 ปี 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.02 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.95จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.5เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 0.76 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 1.57จุด

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.2จุด ดัชนีอยู่ที่ระดับมากกว่า 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของอินโดนีเซียยังคงมีการขยายตัว

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อัตราเงินเฟ้อ (เบื้องต้น) เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 50.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.7จุด ดัชนีอยู่ที่ระดับมากกว่า 50จุด บ่งชี้ว่าภาคบริการของอิตาลียังคงมีการขยายตัว

อิตาลี

ฝรั่งเศส

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 68 เบื้องต้น อยู่ที่ร้อยละ 1.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 1.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นในเดือนนี้เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดสินค้าแปรรูป และอัตราเงินเฟ้อในหมวดพลังงาน เป็นสาคัญ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) finalfinalเดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 45.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 41.9 จุด แต่ต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 45.3 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 66แต่อย่างไรก็ตาม ผลผลิตอุตสาหกรรมละยอดคาสั่งซื้อใหม่ในเดือนนี้หดตัวในอัตราที่ชะลอลง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ (PMI) finalfinalเดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 48.2 จุดลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.3 และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 48.9 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคบริการต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5อันเนื่องจากยอดคาสั่งซื้อใหม่ยังคงหดตัวต่อเนื่อง

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น NikkeiNikkei225 ญี่ปุ่น) PSEi ฟิลิปปินส์) และ IDX อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 6ก.พ. 68 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,335.64 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 3 6ก.พ. 68 อยู่ที่46,625.81 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 3-6 ก.พ. 68 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 1,460.61ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 ปี ถึง 20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 3 bpsbpsเมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อน ขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 8 ปี ปรับตัวลดลง -1 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 26ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.74 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่3 -6 ก.พ. 68 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 5,219.88ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 6 ก.พ. 68 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-6,770.03 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่6 ก.พ.68เงินบาทปิดที่ 33.66 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.30 จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน เปโซ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลยูโร ริงกิตวอน และดอลลาร์ไต้หวัน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.24

เครื่องชี้ตลาดเงิน

ที่มา: กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ