รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 14 ก.พ. 68

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday February 19, 2025 16:27 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? สถานการณ์เศรษฐกิจในสัปดาห์นี้ ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ม.ค. 68 ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ

59.0 ในส่วนจานวนนักท่องเที่ยว วันที่ 3 - 9 ก.พ. 2568 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวน 8.4 แสนคน

โดยจานวนนักท่องเที่ยวในสัปดาห์นี้ชะลอตัวลง แต่ยังมีแนวโน้มที่ยังสามารถขยายตัวได้ จากการฟื้นตัวด้านการ

เดินทางของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล (Long Haul) โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากประเทศรัสเซียและ

ฝรั่งเศส

ปัจจัยเสี่ยง

? ปัญหาสถานการณ์เศรษฐกิจโดยรวมยังคงฟื้นตัวช้าและค่าครองชีพสูง

ข้อเสนอแนะ

? ควรมีมาตรการช่วยลดภาระค่าครองชีพประชาชน เช่น การสนับสนุนค่าพลังงานและการกระตุ้น

การบริโภคในประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 67 คิดเป็น ร้อยละ 63.9 ของ GDP

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน

? ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2568 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลงอยู่ที่ 9.3

แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 1.8 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.7 โดยสัปดาห์แรกของเดือน

เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.7 น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 2.6 และต่ากว่า

เป้าหมายที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 29.2 จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุน

โดยเฉพาะใน 5 กระทรวงที่มีวงเงินสูง เช่น ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.8 แสนล้านบาท)

กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.0 แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.8

หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.2 หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา

วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.1 หมื่นล้านบาท)

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 67 คิดเป็น ร้อยละ 63.9 ของ GDP

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน

? ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2568 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลงอยู่ที่ 9.3

แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 1.8 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.7 โดยสัปดาห์แรกของเดือน

เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.7 น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 2.6 และต่ากว่า

เป้าหมายที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 29.2 จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุน

โดยเฉพาะใน 5 กระทรวงที่มีวงเงินสูง เช่น ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.8 แสนล้านบาท)

กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.0 แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.8

หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.2 หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา

วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.1 หมื่นล้านบาท)

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

4

อัต

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ม.ค. 68เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 1.3ต่อปี

?

เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน ม.ค. 68 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 (YoY) สูงกว่าที่ สศค. คาดการณ์ไว้เล็กน้อยที่ร้อยละ 1.2) โดยมีปัจจัยหลักจากการสูงขึ้นของราคาน้ามันเชื้อเพลิงเป็นผลจากฐานราคาต่าในปีก่อน และราคาสินค้าในหมวดอาหารและเครื่องดื่มปรับตัวสูงขึ้นจากราคาผลไม้สด เครื่องประกอบอาหาร และเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์

?

เมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 (MoM) จากการสูงขึ้นของหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งปรับสูงขึ้นตามราคาสินค้าสาคัญโดยเฉพาะกลุ่มผักสด กลุ่มอาหารสาเร็จรูป กลุ่มเนื้อสัตว์ และกลุ่มเครื่องประกอบอาหาร ขณะที่หมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 0.1 (MoM) ตามการสูงขึ้นของค่ากระแสไฟฟ้า ค่าเช่าบ้าน และของใช้ส่วนบุคคล

?

เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นร้อยละ 0.8 (YoY) และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า สูงขึ้นร้อยละ 0.1 (MoM)

?

ทั้งนี้ กศม. คาดการณ์เงินเฟ้อทั่วไปและเงินเฟ้อพื้นฐาน ม.ค. 68 ที่ 1.2 และ 0.9 ตามลาดับ และคาดเงินเฟ้อทั่วไปและเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยทั้งปี 68 มีแนวโน้มปรับลดลงเล็กน้อยเป็นร้อยละ 0.9 และ 1.0 ตามลาดับ

เนื่องจากมีการปรับปรุงระบบเพื่อเผยแพร่ข้อมูลดัชนีราคาผู้บริโภค ปีฐาน 2566 การเผยแพร่ข้อมูลบทวิเคราะห์ดัชนีราคาผู้บริโภคยังให้บริการเป็นปกติแต่สาหรับการดาวน์โหลดข้อมูลในรูปแบบ excel ตั้งแต่ปี 2519 ปัจจุบัน ยังไม่พร้อมให้บริการ

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือนม.ค. 6868เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.30.3เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ม.ค. 6868เพิ่มขึ้นร้อยละ0.30.3เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา สูงขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8โดยมีสาเหตุจากการสูงขึ้นของดัชนีราคาหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ และหมวดวัสดุฉาบผิว เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 1.2 1.0 และ 0.80.8ตามลาดับ เนื่องจากต้นทุนค่าขนส่งที่สูงขึ้นตามราคาน้ามันดีเซลสูงกว่าปีที่ผ่านมา และความต้องการใช้ในการก่อสร้างด้านคมนาคมของภาครัฐเร่งตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่หมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กมีดัชนีราคาลดลงจากปัญหาที่ยืดเยื้อของภาคอสังหาริมทรัพย์ของจีนที่ยังไม่ฟื้นตัวกดดันราคาเหล็กลดลง รวมทั้งหมวดซีเมนต์ และหมวดกระเบื้อง ที่ได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ม.ค. 68 ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 59.0 จากระดับ 57.9

ในเดือนก่อน โดยเป็นการปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4

โดยในเดือน ม.ค. 68 ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคยังคงเคลื่อนไหวคงอยู่ต่ากว่าระดับ 100 แสดงให้เห็นว่าผู้บริโภคยังคงมองว่าสถานการณ์เศรษฐกิจโดยรวมยังคงฟื้นตัวช้าและค่าครองชีพสูง อย่างไรก็ดี การที่ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบในเชิงบวกของมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ที่ส่งผลให้ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นต่อสถานการณ์ในภาพรวมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องประเมินสถานการณ์ที่อาจส่งผลกระทบเชิงลบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคทั้งในปัจจุบันและในอนาคตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะสถานการณ์ด้านนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

วั

วันที่ 3 -9 ก.พ. 68 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวน 8.48.4แสนคน โดยจานวนนักท่องเที่ยวในสัปดาห์นี้ชะลอตัวลง แต่ยังมีแนวโน้มที่ยังสามารถขยายตัวได้ จากการฟื้นตัวด้านการเดินทางของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล (Long Haul Haul) โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากประเทศรัสเซียและฝรั่งเศส

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 3 99ก.พ. 68 มีจานวนนักท่องเที่ยว 8.48.4แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค 99ก.พ. 68 (YTD)

มีจานวนทั้งสิ้น 4.804.80ล้านคน สร้างรายได้ 2.342.34แสนล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 48,90048,900บาทโดยในสัปดาห์ที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติชะลอตัวลง แต่ยังมีแนวโน้มที่ยังขยายตัวได้ จากการฟื้นตัวด้านการเดินทางของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล (Long Haul Haul)โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากประเทศรัสเซียและฝรั่งเศส เนื่องจากมีการส่งเสริมการตลาดด้านการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องประกอบกับการเข้าสู่ช่วง School Holiday

สาหรับสัปดาห์ถัดไป คาดว่าจะมีจานวนนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในระดับที่ทรงตัว จากปัจจัยเสริม ได้แก่ การประกาศปี Amazing Thailand Grand

Tourism and Sport Year 2025 และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการแข่งขันกีฬาอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการยกเว้นบัตร ตม.6ในด่านทางบก รวมถึงสายการบินหลายสายมีการเพิ่มเที่ยวบินมากขึ้น

ทั้งนี้ ในเดือนมกราคม 668 ที่ผ่านมา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รายงานว่า มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ทั้งหมด 3.7 ล้านคน ซึ่งสูงกว่าคาดการณ์ของ สศค. ที่คาดการณ์ไว้ที่ 3.3 ล้านคน (คาดการณ์ เมื่อ ม.ค. 68) อย่างไรก็ตาม สศค. คากการ์ไว้ว่าในเดือนกุมภาพันธ์ 68 จะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติประมาณ 3.2ล้านคน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 67 มีจานวนทั้งสิ้น11 8 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 63.9ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างลดลงสุทธิ 54,660.2 ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 86.99ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.99ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 67 7 ก.พ. 68 พบว่า ณ วันที่ 7 ก.พ. 68 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.3แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 1.88แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.7 หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 3.3 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 35.9

โดยจานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568 (วันที่ 8 ก.พ. -30 ก.ย. 68) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80 ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 5.7 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 61.33ทั้งนี้ ณ สัปดาห์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ 2562568 ผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 18.7 เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.77น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 2.6 เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ณ สิ้นเดือนที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 29.22จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนในเดือนถัดไป โดยมีแนวทางดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.8แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.0แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.88หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.22หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.1หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.44ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.88ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.0ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.33ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.2290.2ล้านบาท)

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือนธ.ค. 67คิดเป็น 2.0606เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ธ.ค.67 อยู่ที่ 5.5.76 ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)

ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 68 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.9 สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ ในขณะที่ Core inflation rate รายปีเดือน ม.ค. 68อยู่ที่ร้อยละ 3.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.2สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์

ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ร้อยละ 3.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.2 โดยไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.5 ขณะที่ดัชนีราคาผลิตพื้นฐาน (core PPI) ออกมาที่ร้อยละ 3.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงกว่าที่ตลาดคาดที่ร้อยละ 3.3

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (2 -8 ก.พ. 68) อยู่ที่ 2.13 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าและต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.16แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน ธ.ค. 67 เกินดุลเพิ่มขึ้นเป็น 1,077.3 พันล้านเยน นับเป็นการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 23 เนื่องจากการขาดดุลบัญชีบริการลดลงอย่างมากเหลือเพียง 0.21 พันล้านเยน จาก 266.3 พันล้านเยนในปีก่อน สาหรับทั้งปี เกินดุลบัญชีเดินสะพัดแตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 29.26ล้านล้านเยน โดยได้แรงหนุนจากผลตอบแทนจากการลงทุนต่างประเทศที่ทาสถิติสูงสุด ค่าเงินเยนที่อ่อนค่าลง และการขาดดุลการค้าที่ลดลง

คาสั่งซื้อเครื่องมือกล (Machine Tool Orders) เดือน ม.ค. 68เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7ต่อปี ที่ 116,146 ล้านเยน (หดตัวร้อยละ -18.8 ต่อเดือน) ชะลอตัวลงจากร้อยละ 11.2ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม นี่นับเป็นการเพิ่มขึ้นของคาสั่งซื้อเครื่องมือกลเป็นเดือนที่สี่ติดต่อกัน โดยความต้องการจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เป็น 84,151 ล้านเยน ในขณะที่คาสั่งซื้อภายในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 เป็น 31,995 ล้านเยน

ญี่ปุ่น

เวียดนาม

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 48.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.8จุด

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 68ขยายตัวร้อยละ 0.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 68 ขยายตัวร้อยละ 3.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน ม.ค. 68 ขยายตัวร้อยละ 9.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 9.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 46.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.1จุด แต่ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 46.1จุด

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.3 จุด ลดลงจาเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.6จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 51.4จุด

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าและสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่อยู่ที่ร้อยละ 2.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 67 หดตัวร้อยละ -2.0 จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -1.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน แต่หดตัวต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -3.1

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ร้อยละ 2.66 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจาก เดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.10 และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.47จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้อัตราเงินเฟ้อดังกล่าวเป็นอัตราที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ. 67อันเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารและหมวดที่อยู่อาศัย เป็นสาคัญ

การส่งออก เดือน ม.ค. 68 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัว ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่สูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15แต่เป็นการขยายตัวของการส่งออกในอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ก.ค. 67โดยได้รับปัจจัยกดดันจากการหดตัวของการส่งออกสินค้าในหมวดหมวดโลหะพื้นฐาน หมวดเครื่องจักร และหมวดยางและพลาสติก เป็นสาคัญ

การนาเข้า เดือน ม.ค. 68 หดตัวที่ร้อยละ -17.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมา หดตัวอีกครั้งหลังจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 30.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.7 การนาเข้าในเดือนนี้เป็นการพลิกกลับมาหดตัวอีกครั้งนับตั้งแต่ ก.พ. 67โดยได้รับปัจจัยกดดันจากการหดตัวของการนาเข้าสินค้าในหมวดผลิตภัณฑ์จากแร่ธาตุ หมวดปิโตรเลียม และหมวดโลหะพื้นฐาน เป็นสาคัญ

ดุลการค้า เดือน ม.ค. 68 เกินดุลอยู่ที่ 10.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เกินดุลลดลงจาก เดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 6.1พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ 4.6พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ไต้หวัน

อัตราการว่างงานตามฤดูกาล เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ร้อยละ 2.9 ลดลงจากระดับสูงสุดในรอบ 3 ปีที่ร้อยละ 3.7 ในเดือน ธ.ค. 67บ่งชี้ถึงการฟื้นตัวของตลาดแรงงานหลังจากที่มีการหยุดชะงักชั่วคราวจากความพยายามประกาศกฎอัยการศึกในช่วงสั้น ๆ เมื่อปีที่แล้ว

ยอดขายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลรวม เดือน ม.ค. 68 เติบโตร้อยละ 3.5 ต่อปี มาอยู่ที่ 351,310 คัน หลังจากที่พุ่งขึ้นร้อยละ 11.4 ในเดือนก่อนหน้า (ตัวเลขนี้ไม่รวมยอดขายจาก BMW,

Mercedes, JLR และ Volvo) นี่นับเป็นการเติบโตต่อเนื่องเป็นเดือนที่สี่

การผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial production) เดือน ธ.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 ต่อปี (ขยายตัวร้อยละ 6.1 ต่อเดือน) ชะลอตัวลงจากร้อยละ 5ในเดือนก่อนหน้า สาเหตุหลักมาจากการชะลอตัวของกิจกรรมการผลิต ในขณะเดียวกัน การผลิตเพิ่มขึ้นต่อเนื่องในภาคเหมืองแร่ และไฟฟ้า

อัตราเงินเฟ้อรายปี เดือน ม.ค. 68 ชะลอตัวลงมาอยู่ที่ร้อยละ 4.31 (ร้อยละ -0.97 ต่อเดือน) จากร้อยละ 5.22 ในเดือนก่อนหน้า นับเป็นอัตราการเพิ่มขึ้นของราคาที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 67 แสดงให้เห็นถึงการเข้าใกล้อัตราเป้าหมายร้อยละ 4 ของ RBIRBIอย่างรวดเร็ว สนับสนุนให้ RBI ลดอัตราดอกเบี้ยต่อไปและสนับสนุนธนาคารพาณิชย์ด้านสภาพคล่อง ทั้งนี้ การลดลงนี้มีสาเหตุหลักมาจากการชะลอตัวของราคาอาหาร ซึ่งคิดเป็นประมาณครึ่งหนึ่งของตะกร้าสินค้าผู้บริโภคของอินเดีย

ผลผลิตการผลิต (Manufacturing output) เดือน ธ.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี ชะลอตัวลงจากร้อยละ 5.5ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า

มาเลเซีย

อัตราการว่างงานเดือน ธ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.1 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือน ก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.2ของกาลังแรงงานรวม ถือเป็นระดับการว่างงานที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ พ.ค. 58

ยอดค้าปลีกเดือน ธ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัว ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับยอดค้าปลีกที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 67 โดยในเดือนนี้ยอดขายของสินค้าในร้านค้าที่จาหน่ายสินค้าทั่วไป รวมไปถึงสินค้าในหมวดอาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ และหมวดอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง

เศรษฐกิจสิงคโปร์ (GDP Annual Growth Rate) ไตรมาส 4 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 5.0 ต่อปี ชะลอตัวจากร้อยละ 5.7ต่อปี ในไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลทั้งปี 67เศรษฐกิจขยายตัวร้อยละ 4.4จากที่ขยายตัวร้อยละ 1.8ในปีก่อนหน้า

ดุลบัญชีเดินสะพัด ไตรมาส 4 ปี 67 ลดลงเหลือ 28.8 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ จาก 25.9 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยดุลบัญชีสินค้าลดลงอย่างมากเหลือ 48.22พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ เนื่องจากมีการนาเข้าที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ดุลบัญชีบริการขยายตัวเป็น 15.22พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ สาเหตุหลักมาจากบริการขนส่งและขนส่งสินค้าที่เพิ่มขึ้น สาหรับทั้งปี 67 ดุลบัญชีเดินสะพัดขยายตัวเป็น 127.8 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์จาก 120.11พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ในปีก่อนหน้า

ทุนสารองเงินตราต่างประเทศในฟิลิปปินส์เดือน ม.ค. 68 ลดลงเหลือ 103,000ล้านเหรียญสหรัฐ จาก 1,06800ล้านเหรียญสหรัฐในเดือน ธ.ค. 67

การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ (FDI) ในฟิลิปปินส์ในเดือน พ.ย. 67 ลดลงร้อยละ 19.8 เมื่อเทียบเป็นรายปีสู่ 0.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงอย่างรวดเร็วของทุนจดทะเบียนและตราสารหนี้ ในขณะเดียวกัน การนารายได้กลับมาลงทุนใหม่ ก็เพิ่มขึ้น ตาแหน่งเงินทุนสาหรับเดือนนี้ส่วนใหญ่มาจากญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสิงคโปร์ โดยการลงทุนส่วนใหญ่มุ่งไปที่อุตสาหกรรมการผลิต อสังหาริมทรัพย์ การเงินและการประกันภัย รวมถึงอุตสาหกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน เมื่อพิจารณาในเดือนมกราคมถึงพฤศจิกายน 2024 กระแสไหลเข้าสุทธิของ FD อยู่ที่ 8.6พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงขึ้นร้อยละ 4.4

ในเดือน ม.ค. 68ธนาคารกลางของฟิลิปปินส์คงอัตราดอกเบี้ยมาตรฐานไว้ที่ร้อยละ 5.75โดยไม่คาดคิดในระหว่างการประชุมนโยบายเดือน ก.พ. 68 หลังจากมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยติดต่อกันสามช่วง คณะกรรมการเน้นย้าว่าแนวโน้มการเติบโตในประเทศยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าความกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจฟิลิปปินส์จะทวีความรุนแรงมากขึ้นก็ตาม อัตราดอกเบี้ยเงินฝากข้ามคืนและวงเงินกู้ยืมคงอยู่ที่ร้อยละ 5.25และ 6.25ตามลาดับ

การผลิตภาคอุตสาหกรรมในฟิลิปปินส์เดือน ธ.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 เมื่อเทียบเป็นรายปีในเดือนธันวาคม 2024 ดีดตัวขึ้นจากการลดลงร้อยละ 3.5 ที่ การฟื้นตัวดังกล่าวได้รับแรงหนุนจากการฟื้นตัวของการผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และผลิตภัณฑ์ออพติคอล และโค้กและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกลั่น ผลผลิตยังเพิ่มขึ้นสาหรับอุปกรณ์การขนส่ง เครื่องจักรและอุปกรณ์ไม่รวมไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก ในทางกลับกัน การผลิตลดลงสาหรับโลหะพื้นฐาน และผลิตภัณฑ์ยาสูบ กิจกรรมภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2ทั้งปี

ฟิลิปปินส์

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับแรงหนุนจากยอดขายชิ้นส่วนยานยนต์และอุปกรณ์เสริม อาหาร และเสื้อผ้า เป็นสาคัญ

อินโดนีเซีย

GDP

GDPไตรมาสที่ 4 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 1.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่งผลให้ทั้งปี 67เศรษฐกิจสหราชอาณาจักรขยายตัวที่ร้อยละ 0.9ต่อปี โดยได้รับแรงสนับสนุนหลักจากภาคบริการ การก่อสร้าง และภาคการผลิต

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 67หดตัวที่ร้อยละ -7.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -1.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 50.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.3จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 53.3จุด

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 54.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 57.3จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 56.8จุด

อัตราการว่างงาน Q 4 6767อยู่ที่ร้อยละ 7.3 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ ร้อยละ 7.4ของกาลังแรงงานรวม และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 7.5ของกาลังแรงงานรวม

การส่งออก เดือน พ.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -5.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมา หดตัวอีกครั้งหลังจากที่เดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 1.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

การนาเข้า เดือน พ.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -6.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาหดตัวอีกครั้งหลังจากที่เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน พ.ย. 67 ขาดดุลอยู่ที่ -6.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขาดดุลลดลงจาก เดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ -7.5พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และขาดดุลน้อยกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขาดดุลที่ -7.0พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 45.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 42.5จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 44.1จุด

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 52.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.2จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 68 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าทีอยู่ที่ร้อยละ 2.6จากช่สงเดียวกันปีก่อน และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น PSEi ฟิลิปปินส์) และ IDX อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 13ก.พ. 68 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,2384.11 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 10 13 ก.พ. 68 อยู่ที่45,149.82 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศและนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 10 -13ก.พ. 68 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -1,930.78ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน ถึง 20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 3 bpsbpsเมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อน ขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 14 ปี ถึง 18 ปี ปรับตัวดลงในช่วง -1 ถึง -3 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.16 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่10 -13 ก.พ. 68 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -1,007.27 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 13 ก.พ. 68 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-6,765.36 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่13 ก.พ.68เงินบาทปิดที่ 33.90 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.49 จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ริงกิตเปโซ วอน และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลยูโร ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.49

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ