ภาวะเศรษฐกิจการคลังประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2568

ข่าวเศรษฐกิจ Friday March 28, 2025 15:31 —กระทรวงการคลัง

ฉบับที่ 9/2568 วันที่ 28 มีนาคม 2568
ภาวะเศรษฐกิจการคลังประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2568
?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการส่งออกสินค้าที่ขยายตัวในระดับสูง อีกทั้ง
การท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี การท่องเที่ยวจากต่างประเทศ และการบริโภคในหมวดสินค้า
คงทนมีแนวโน้มชะลอตัวลง ทั้งนี้ ยังจาเป็นต้องติดตามสถานการณ์ของการผลิตภาคอุตสาหกรรม รวมถึงนโยบายเศรษฐกิจของ
ประเทศคู่ค้าสาคัญ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยอย่างใกล้ชิด?
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจการคลังประจา
เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ว่า ?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการส่งออกสินค้า
ที่ขยายตัวในระดับสูง อีกทั้งการท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี การท่องเที่ยวจากต่างประเทศ
และการบริโภคในหมวดสินค้าคงทนมีแนวโน้มชะลอตัวลง ทั้งนี้ ยังจาเป็นต้องติดตามสถานการณ์ของการผลิตภาคอุตสาหกรรม
รวมถึงนโยบายเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าสาคัญ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยอย่างใกล้ชิด?
โดยมีรายละเอียดสรุปได้ ดังนี้
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน มีสัญญาณ ทรงตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยปริมาณ
รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 2.4 แต่ลดลงเมื่อเทียบกับ
เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ -2.9 สอดคล้องกับรายได้เกษตรกรที่แท้จริง ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 เพิ่มขึ้นจาก
ช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 1.2 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 57.8 จากระดับ 59.0
ในเดือนก่อน เนื่องจากผู้บริโภคมีความกังวลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวช้า ขณะที่ปริมาณรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ -15.5 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ที่ร้อยละ -14.4
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการลงทุนภาคเอกชน มีสัญญาณชะลอตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยการลงทุน
ภาคเอกชนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร สะท้อนจากปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ลดลงจาก
ช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -15.6 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ -10.6 และปริมาณรถยนต์
เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -11.5 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อน
หน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.4
มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยมูลค่าการส่งออกสินค้ารวมในรูปเงินสกุลดอลลาร์
สหรัฐ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 อยู่ที่ 26,707.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 ที่ร้อยละ
14.0 และหากพิจารณาเฉพาะมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่อง ทองคา และยุทธปัจจัย พบว่า ขยายตัวที่
ร้อยละ 14.6 ตามการขยายตัวของสินค้าในหมวดอัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา) เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และ
ส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ โดยขยายตัวร้อยละ 106.3 51.3 32.8 และ 21.5
ตามลาดับ นอกจากนี้ ยางพารา น้าตาลทราย ผลไม้กระป๋องและแปรรูป และอาหารสัตว์เลี้ยง ขยายตัวร้อยละ 35.7 25.8 22.5 และ
14.4 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี การส่งออกข้าว ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง และเครื่องโทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ปรับตัวลดลง ทั้งนี้
เมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกสินค้า โดยจาแนกเป็นรายตลาดคู่ค้าหลักของไทย พบว่า ปรับตัวเพิ่มขึ้นในตลาดอินเดีย จีน และสหรัฐฯ
- 2 -
และขยายตัวร้อยละ 156.8 22.4 และ 18.3 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี ตลาดทวีปออสเตรเลีย ญี่ปุ่น และอาเซียน--9 ลดลงร้อยละ --7.7 --3.1 และ --1.1 ตามลาดับ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน โดยเฉพาะบริการด้านการท่องเที่ยวภายในประเทศปรับตัวดีขึ้น จากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยภาคบริการด้านการท่องเที่ยว ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยรวม จานวน 3.12 ล้านคน ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --6.9 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ --12.0 ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 จานวน 23.0 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 3.5 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 4.2 ขณะที่ภาคการเกษตร สะท้อนจากดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 3.7 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.4 ตามการเพิ่มขึ้นในหมวดพืชผลสาคัญ อาทิ ข้าว และยางพารา เป็นต้น อย่างไรก็ดี ผลผลิตมันสาปะหลัง และข้าวโพด ลดลงจากเดือนก่อน สาหรับภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจาก ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 93.4 จากระดับ 91.6 ในเดือนก่อนหน้า โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ
เสถียรภาพเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดี: สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 อยู่ที่ ร้อยละ 1.08 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.99 ส่วนสัดส่วนหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมกราคม 2568 อยู่ที่ ร้อยละ 64.1 ต่อ GDP ซึ่งยังอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังที่ตั้งไว้ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 สาหรับเสถียรภาพภายนอกยังอยู่ในระดับที่มั่นคง และสามารถรองรับความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลกได้ สะท้อนจากทุนสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูงที่ 244.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
สถานการณ์เศรษฐกิจโลกยังคงขยายตัว โดยได้รับแรงขับเคลื่อนจากภาคการผลิตและบริการ: สะท้อนจาก ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลก (Global Composite PMI) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 อยู่ที่ระดับ 51.5 จุด ลดลงจาก เดือนก่อนหน้าที่ 51.8 จุด แต่ยังอยู่สูงกว่าระดับ 50.0 จุด บ่งชี้ว่าเศรษฐกิจโลกยังคงมีทิศทางขยายตัว โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลกภาคการผลิต (Global Manufacturing PMI) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 50.6 จุด จากระดับ 50.1 จุด ในเดือนก่อนหน้า โดยด้านผลผลิตและยอดคาสั่งซื้อใหม่ขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่ ราคาปัจจัยการผลิตยังคงเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลกภาคบริการ (Global Service PMI) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 อยู่ที่ระดับ 51.6 จุด ปรับตัวลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.2 และสูงกว่าระดับ 50.0 จุด ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 26 บ่งชี้ว่าภาคบริการยังคงขยายตัว นอกจากนี้ สถานการณ์การท่องเที่ยวที่ยังฟื้นตัวต่อเนื่องประกอบกับการดาเนินนโยบายการเงินที่ผ่อนคลายในหลายประเทศ จะเป็นปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในระยะต่อไป สาหรับสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์และมาตรการการกีดกัน ทางการค้าของสหรัฐฯ ยังคงต้องติดตามอย่างต่อเนื่อง ภายใต้สถานการณ์ที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง
- 3 -
?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการส่งออกสินค้าที่ขยายตัว ในระดับสูง อีกทั้งการท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี การท่องเที่ยวจากต่างประเทศ และการบริโภคในหมวดสินค้าคงทนมีแนวโน้มชะลอตัวลง ทั้งนี้ ยังจาเป็นต้องติดตามสถานการณ์ของการผลิตภาคอุตสาหกรรม รวมถึงนโยบายเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าสาคัญ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยอย่างใกล้ชิด?
1. เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน มีสัญญาณทรงตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 2.4 แต่ลดลงเมื่อเทียบกับ เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ --2.9 สอดคล้องกับรายได้เกษตรกรที่แท้จริง ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 1.2 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 57.8 จากระดับ 59.0 ในเดือนก่อน เนื่องจากผู้บริโภคมีความกังวลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวช้า ขณะที่ปริมาณรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ --15.5 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ --14.4
เครื่องชี้การบริโภคภาคเอกชน 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
4.0%
4.0%
1.5%
1.5%
4.2%
4.2%
7.0%
7.0%
3.4%
3.4%
6.9%%
n.a.
n.a.
6.9%%
%qoq_SA / %mom_SA
1.7%
1.7%
0.1%
0.1%
1.6%
0.3%
7.1%7.1%
n.a.
n.a.
ปริมาณรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%YoY)
?22.1%
?22.1%
?18.0%
?18.0%
?23.
?23.2%2%
?20.6%
?20.6%
-
-28.4%28.4%
-
-16.3%16.3%
-
-15.5%15.5%
-
-16.0%16.0%
%qoq_SA / %mom_SA
-16.4%
?6.1%
1.9%
1.9%
-
-10.4%10.4%
19.2%
19.2%
-
-14.4%14.4%
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%YoY)
?8.0%
?8.0%
?10.2%
?10.2%
?7.6%
?7.6%
?11.8%
?11.8%
-
-1.8%1.8%
2.1%
2.1%
2.4%
2.4%
2.2%
2.2%
%qoq_SA / %mom_SA
-2.9%
0.0%
-3.9%
5.5%
9.5%9.5%
-
-2.9%2.9%
ปริมาณการนาเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค (%YoY)
2.0%
?0.8%
0.7%
3.4%
5.0%
5.0%
1.2%%
9.9%%
5.3%
5.3%
%qoq_SA / %mom_SA
1.1%
0.0%
3.8%
0.5%
4.5%
4.5%
11.4%11.4%
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ)
59.3
63.2
60.5
56.5
56.0
59.059.0
57.8
57.8
58.4
58.4
รายได้เกษตรกรที่แท้จริง (%YoY)
5.8%
2.5%
8.2%
5.2%
7.0%
2.1%
2.1%
1.2%
1.2%
1.6%
1.6%
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการลงทุนภาคเอกชน มีสัญญาณชะลอตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยการลงทุนภาคเอกชนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร สะท้อนจากปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ลดลงจาก ช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --15.6 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ --10.6 และปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --11.5 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.4
เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชน 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
เครื่องชี้การลงทุนในเครื่องจักร
ปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน (%YoY)
10.1%
16.6%
1.0%
10.2%
10.2%
13.0%
13.0%
13.4%
13.4%
-
-15.6%%
-
-1.8%1.8%
%qoq_SA / %mom_SA
5.0%
?8.0%
8.0%
8.6%
-
-0.6%0.6%
-
-10.6%10.6%
ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ (%YoY)
?21.4%
?24.8%
?22.3%
-18.7%
-
-18.5%
-
-14.8%14.8%
-
-11.5%11.5%
-
-13.2%13.2%
เอกสารแนบ
- 4 -
เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชน 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
%qoq_SA / %mom_SA
?12.0%
?0.6%
-0.9%
4.9%
-
-4.3%4.3%
0.4%
0.4%
เครื่องชี้การลงทุนก่อสร้าง
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ (%YoY)
?5.3%
?11.5%
?4.1%
-
-3.6%
5.7%
-
-2.4%2.4%
n.a.
n.a.
-
-2.4%2.4%
%qoq_SA / %mom_SA
7.2%
2.1%
1.4%
-4.1%
1.5%
1.5%
n.a.
n.a.
ปริมาณจาหน่ายปูนซีเมนต์ (%YoY)
0.1%
?9.1%
?8.9%
4.8%
15.7%
16.9%
16.9%
n.a.
n.a.
16.9%
16.9%
%qoq_SA / %mom_SA
?5.4%
3.7%
12.5%
-0.7%
0.8
0.8
n.a.
n.a.
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (%YoY)
?0.1%
?1.1%
?0.4%
0.6%
0.4%
0.3%
0.3%
0.1%
0.1%
0.2%
0.2%
3. การใช้จ่ายงบประมาณขยายตัวได้ดี: โดยการเบิกจ่ายงบประมาณ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 สามารถเบิกจ่ายได้รวมจานวน 207.1 พันล้านบาท โดยเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันจานวน 186.7 พันล้านบาท แบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา 158.7 พันล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 28.0 พันล้านบาท และเป็นการเบิกจ่ายจาก งบประมาณปีก่อน 20.4 พันล้านบาท ทาให้ในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2568 สามารถเบิกจ่ายได้รวมจานวน 1,788.4พันล้านบาท โดยเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันจานวน 1,642.9 พันล้านบาท แบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา 1,446.2 พันล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 196.7 พันล้านบาท และเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 145.5 พันล้านบาท
เครื่องชี้ภาคการคลัง FY2567 FY2567 FY2568 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ม.ค. ก.พ. FY/YTD
รายจ่ายปีปัจจุบัน (พันล้านบาท)
3,396.0
910.1
570.7
1,056.2
858.8
1,160.6
295.6
186.7
1,642.9
%YoY
10.0%
-
-7.3%
?19.6%
42.3%
31.3%
27.5%
43.8%
8.5%
27.6%
รายจ่ายประจา (พันล้านบาท)
2,829.3
859.1
529.5
883.2
557.6
1,035.4
252.1
158.7
1,446.2
%YoY
8.4%
0.0%
?11.8%
41.2%
6.1%
20.5%
31.0%
?0.1%
19.5%
รายจ่ายลงทุน (พันล้านบาท)
566.6
51.1
41.2
173.0
301.3
125.2
43.6
28.0
196.7
%YoY
18.5%
-
-58.6%
?62.3%
48.1%
134.2%
145.2%
230.3%
113.0%
154.2%
รายจ่ายปีก่อน (พันล้านบาท)
146.4
53.6
36.5
22.2
34.2
101.2
23.9
20.4
145.5
%YoY
?15.8%
-
-9.1%
?18.1%
?20.6%
?19.7%
88.9
83.5%
82.1%
87.0%
รายจ่ายรวม (พันล้านบาท)
3,542.4
963.8
607.2
1078.4
893.1
1,261.8
319.5
207.1
1,788.4
%YoY
8.6%
-
-7.4%
?19.5%
40.0%
28.2%
30.9%
46.2%
13.0%
31.0%
4. มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยมูลค่าการส่งออกสินค้ารวมในรูปเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 อยู่ที่ 26,707.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 ที่ร้อยละ 14.0 และหากพิจารณาเฉพาะมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่อง ทองคา และยุทธปัจจัย พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 14.6 ตามการขยายตัวของสินค้าในหมวดอัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา) เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ โดยขยายตัวร้อยละ 106.3 51.3 32.8 และ 21.5 ตามลาดับ นอกจากนี้ ยางพารา น้าตาลทราย ผลไม้กระป๋องและแปรรูป และอาหารสัตว์เลี้ยง ขยายตัวร้อยละ 35.7 25.8 22.5 และ 14.4 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี การส่งออกข้าว ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง และเครื่องโทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ปรับตัวลดลง ทั้งนี้ เมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกสินค้า โดยจาแนกเป็นรายตลาดคู่ค้าหลักของไทย พบว่า ปรับตัวเพิ่มขึ้นในตลาดอินเดีย จีน และสหรัฐฯ และขยายตัวร้อยละ 156.8 22.4 และ 18.3 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี ตลาดทวีปออสเตรเลีย ญี่ปุ่น และอาเซียน--9 ลดลงร้อยละ --7.7 --3.1 และ --1.1 ตามลาดับ
- 5 -
ประเทศคู่ค้าหลัก 16 ประเทศ สัดส่วน 2566 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
ส่งออกไปทั้งโลก
100.0%
100.0%
5.4%
-
-0.3%0.3%
4.3%
4.3%
7.5%
7.5%
10.5%
10.5%
13.6%
13.6%
1
14.0%%
13.
13.8%%
สหรัฐฯ
17.0%
17.0%
13.7%
13.7%
9.9%
9.9%
12.5%
12.5%
14.8%
14.8%
17.3%
17.3%
22.4
22.4%%
18.3
18.3%%
20.3
20.3%%
จีน
12.0%
12.0%
3.1%
3.1%
-
-5.1%5.1%
1.9%
1.9%
2.5%
2.5%
13.5%
13.5%
13.2
13.2%%
22.4
22.4%%
17.9
17.9%%
ญี่ปุ่น
8.6%
8.6%
-
-5.3%5.3%
-
-9.0%9.0%
-
-5.9%5.9%
-
-6.7%6.7%
1.2%
1.2%
1.9
1.9%%
-
-3.13.1%%
-
-0.60.6%%
สหภาพยุโรป (15)
8.1%
8.1%
9.2%
9.2%
0.7%
0.7%
1.1%
1.1%
15.8%
15.8%
20.8%
20.8%
13.7
13.7%%
5.7
5.7%%
9.7
9.7%%
ทวีปออสเตรเลีย
4.9%
4.9%
2.1%
2.1%
22.0%
22.0%
2.7%
2.7%
-
-2.9%2.9%
-
-9.7%9.7%
-
-26.926.9%%
-
-7.77.7%%
-
-17.317.3%%
เวียดนาม
3.9%
3.9%
4.9%
4.9%
-
-9.6%9.6%
3.5%
3.5%
15.8%
15.8%
10.1%
10.1%
16.4
16.4%%
37.3
37.3%%
26.7
26.7%%
มาเลเซีย
4.2%
4.2%
3.1%
3.1%
-
-3.0%3.0%
6.0%
6.0%
10.5%
10.5%
-
-1.5%1.5%
16.8%
-
-4.74.7%%
5.6
5.6%%
ฮ่องกง
3.9%
3.9%
-
-2.2%2.2%
23.5%
23.5%
5.1%
5.1%
-
-14.1%14.1%
-
-19.2%19.2%
-29.0%
-
-8.38.3%%
-
-16.516.5%%
สิงคโปร์
3.6%
3.6%
1.2%
1.2%
1.8%
1.8%
-
-7.1%7.1%
9.3%
9.3%
19.0%
19.0%
25.9%
12.3
12.3%%
19.5
19.5%%
อินโดนีเซีย
3.5%
3.5%
-
-6.2%6.2%
-
-13.7%13.7%
-
-1.5%1.5%
-
-2.4%2.4%
-
-6.1%6.1%
-16.1%
-
-4.04.0%%
-
-9.89.8%%
ตะวันออกกลาง
4.0%
4.0%
3.8%
3.8%
-
-5.2%5.2%
5.9%
5.9%
10.3%
10.3%
4.9%
4.9%
-2.1%
6
6.8.8%%
2.3
2.3%%
อินเดีย
3.5%
3.5%
16.2%
16.2%
-
-3.5%3.5%
15.4%
15.4%
19.6%
19.6%
35.4%
35.4%
129.8%
156.8
156.8%%
143.6
143.6%%
ฟิลิปปินส์
2.8%
2.8%
-
-2.7%2.7%
-
-6.0%6.0%
2.2%
2.2%
-
-2.5%2.5%
-
-6.6%6.6%
-6.3%
-
-1.51.5%%
-
-4.04.0%%
แอฟริกา
2.5%
2.5%
0.6%
0.6%
-
-18.4%18.4%
9.2%
9.2%
4.8%
4.8%
6.0%
6.0%
13.9%
6.7
6.7%%
10.1
10.1%%
เกาหลีใต้
2.1%
2.1%
-
-2.2%2.2%
-
-7.5%7.5%
-
-5.4%5.4%
4.8%
4.8%
0.2%
0.2%
-4.0%
2.6
2.6%%
-
-0.70.7%%
ไต้หวัน
1.7%
1.7%
-
-1.2%1.2%
-
-2.5%2.5%
-
-1.4%1.4%
3.4%
3.4%
-
-4.4%4.4%
3.4%
28.1
28.1%%
16.1
16.1%%
อาเซียน --9
23.5%
23.5%
4.6%
4.6%
-
-0.6%0.6%
3.1%
3.1%
8.1%
8.1%
10.1%
10.1%
5.0%
-
-1.11.1%%
2.0
2.0%%
อาเซียน --5
14.2%
14.2%
-
-0.8%0.8%
-
-5.3%5.3%
0.1%
0.1%
4.5%
4.5%
1.7%
1.7%
4.8%
-
-0.50.5%%
2.2
2.2%%
อินโดจีน --4
9.4%
9.4%
12.0%
12.0%
6.5%
6.5%
7.5%
7.5%
13.7%
13.7%
23.4%
23.4%
5.2%
-
-1.81.8%%
1.7
1.7%%
5. เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน โดยเฉพาะบริการด้านการท่องเที่ยวภายในประเทศปรับตัวดีขึ้น จากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยภาคบริการด้านการท่องเที่ยว ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยรวม จานวน 3.12 ล้านคน ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --6.9 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ --12.0 ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 จานวน 23.0 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 3.5 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 4.2 ขณะที่ภาคการเกษตร สะท้อนจากดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 3.7 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.4 ตามการเพิ่มขึ้นในหมวดพืชผลสาคัญ อาทิ ข้าว และยางพารา เป็นต้น อย่างไรก็ดี ผลผลิตมันสาปะหลัง และข้าวโพด ลดลงจากเดือนก่อน สาหรับภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจาก ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 93.4 จากระดับ 91.6 ในเดือนก่อนหน้า โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านอุปทาน 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม (%YoY)
?1.0%
?3.3%
?1.8
-1.0%
1.0%
3.8%
3.7%
3.2%
%qoq_SA / %mom_SA
?2.4%
2.2%
-0.1%
1.6%
0.8%
0.4%
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (%YoY)
?1.8%
?3.6%
?0.2%
?1.1%
-0.2%
-1.1%
-3.9%
-2.5%
%qoq_SA / %mom_SA
?0.1%
0.6%
?0.7%
-0.9%
1.5%
-1.8%
อัตราการใช้กาลังการผลิต (%)
58.7%
60.4%
57.7%
58.3%
57.3%
59.9%
59.0%
59.4%
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
89.5
91.0
88.7
88
90.2
91.6
93.4
92.5
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ
52.4
53.9
52.8
49.6
53.0
53.1
52.1
52.6
- 6 -
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านอุปทาน 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
SME (SMESI)
นักท่องเที่ยวต่างชาติ (YoY)
26.3%
43.5%
26.3%
21.1%
16.8%
22.2%
-6.9%
6.8%
%qoq_SA /%mom_SA
-0.5%
9.0%
0.1%
3.8%
6.2%
-13.0%
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%YoY)
8.5%
8.6%
13.0%
6.6%
5.9%
3.6%
3.5%
3.5%
%qoq_SA /%mom_SA
0.3%
14.8%
?0.7%
?5.2%
-1.1%
4.2%
6. เสถียรภาพเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดี: สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 อยู่ที่ ร้อยละ 1.08 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.99 ส่วนสัดส่วนหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมกราคม 2568 อยู่ที่ ร้อยละ 64.1 ต่อ GDP ซึ่งยังอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังที่ตั้งไว้ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 สาหรับเสถียรภาพภายนอกยังอยู่ในระดับที่มั่นคง และสามารถรองรับความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลกได้ สะท้อนจากทุนสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูงที่ 244.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
ภายในประเทศ
อัตราการว่างงาน (%)
1.0%
1.0%
1.1%
1.0%
0.9%
0.9%
0.8%
0.9%
สัดส่วนผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานสะสมต่อจานวนผู้ประกันตน ม.33 (%)
1.81%
1.84%
1.92%
1.82%
1.81%
1.87%
1.85%
1.85%
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%YoY)
0.40%
?0.78%
0.78%
0.60%
0.91%
1.32%
1.08%
1.20%
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%YoY)
0.56%
0.44%
0.38%
0.64%
0.80%
0.83%
0.99%
0.91%
หนี้สาธารณะต่อ GDP (%)
63.9%
63.7%
63.4%
63.3%
63.9%
64.1%
n.a.
64.1%
ภายนอกประเทศ
ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
9.4
3.4
1.1
2.2
5.6
2.7%
n.a.
2.7%
ทุนสารองทางการ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
237.0
223.4
224.3
243
238.6
242.1
244.8
244.8
ฐานะสุทธิ Forward (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
25.1
29.6
28.6
26
25.9
24.0
23.2
23.2
7. สถานการณ์เศรษฐกิจโลกยังคงขยายตัว โดยได้รับแรงขับเคลื่อนจากภาคการผลิตและบริการ: สะท้อนจาก ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลก (Global Composite PMI) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 อยู่ที่ระดับ 51.5 จุด ลดลงจาก เดือนก่อนหน้าที่ 51.8 จุด แต่ยังอยู่สูงกว่าระดับ 50.0 จุด บ่งชี้ว่าเศรษฐกิจโลกยังคงมีทิศทางขยายตัว โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลกภาคการผลิต (Global Manufacturing PMI) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 50.6 จุด จากระดับ 50.1 จุด ในเดือนก่อนหน้า โดยด้านผลผลิตและยอดคาสั่งซื้อใหม่ขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่ ราคาปัจจัยการผลิตยังคงเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลกภาคบริการ (Global Service PMI) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 อยู่ที่ระดับ 51.6 จุด ปรับตัวลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.2 และสูงกว่าระดับ 50.0 จุด ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 26 บ่งชี้ว่าภาคบริการยังคงขยายตัว นอกจากนี้ สถานการณ์การท่องเที่ยวที่ยังฟื้นตัวต่อเนื่องประกอบกับการดาเนินนโยบายการเงินที่ผ่อนคลายในหลายประเทศ จะเป็นปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในระยะต่อไป สาหรับสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์และมาตรการการกีดกัน ทางการค้าของสหรัฐฯ ยังคงต้องติดตามอย่างต่อเนื่อง ภายใต้สถานการณ์ที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง
- 7 -
เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจโลก 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลก (Global composite PMI)
52.5
52.0
53.0
52.4
52.4
51.8
51.5
51.7
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลก ภาคการผลิต (Global Manufacturing PMI)
50.0
50.3
50.7
49.3
49.7
50.1
50.6
50.4
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลก ภาคบริการ (Global Service PMI)
53.1
52.4
53.3
53.4
53.3
52.2
51.6
51.9
หมายเหตุ: 1. Global PMI ย่อมาจาก Global Purchasing Managers' Index หรือ ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อทั่วโลก เป็นตัวชี้วัดที่สาคัญอย่างหนึ่งที่ใช้ติดตามและประเมินสภาพเศรษฐกิจทั่วโลก ดัชนีแบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ 1) Global Composite PMI เป็นดัชนีรวมที่วัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งภาคการผลิตและภาคบริการ 2) Global Service PMI เป็นดัชนีรวมที่วัดวัดระดับกิจกรรมในภาคบริการ และ 3) Global Manufacturing PMI เป็นดัชนีรวมที่วัดระดับกิจกรรมในภาคการผลิต
2. Global PMI สามารถบ่งบอกถึงทิศทางของเศรษฐกิจโลกได้ว่ากาลังขยายตัว หดตัว หรือชะลอตัว หากดัชนีสูงกว่า 50 แสดงว่าเศรษฐกิจขยายตัว หากต่ากว่า 50 แสดงว่าเศรษฐกิจหดตัว
- 8 -
ตารางที่ 1 เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ (Economic Indicators) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจรายเดือน 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD ภาวะเศรษฐกิจภายนอก
ราคาน้ามันดิบ Dubai (ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล) /7
80.3
81.6
85.0
78.4
76.0
80.14
74.97
77.74
อัตราดอกเบี้ย Federal Fund (%)/7
4.25-4.50
5.25?5.50
5.25?5.50
4.75?5.00
4.50?4.75
4.25-4.50
4.25-4.50
4.25-4.50 ด้านอุปสงค์ การบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ (%YoY)/1
4.0
1.5
4.2
7.0
3.4
6.9
n.a.
6.9
ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่(%YoY)/13
?22.1
?18.0
?23.2
?20.6
-28.4
-16.3
-15.5
-16.0
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%YoY)/12
?8.0
?10.2
?7.6
?11.8
-1.8
2.1
2.4
2.2
ปริมาณการนาเข้าสินค้าอุปโภคในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY)/14
2.0
?0.8
0.7
3.4
5.0
4.5
9.9
5.3
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อเศรษฐกิจโดยรวม (ระดับ) /5
59.3
63.2
60.5
56.5
56.9
59.0
57.8
58.4 การลงทุนภาคเอกชน
ปริมาณการนาเข้าสินค้าทุนในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY)/14
10.1
16.6
1.0
10.2
13.0
13.4
-
-15.6
-
-1.8
ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่(YoY)/13
-
-21.4
?24.8
?22.3
-18.7
?18.5
-14.8
-11.5
-13.2
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์รวม(%YoY)/1
-
-5.3
?11.5
?4.1
-
-3.6.
-
-0.9
-2.4
n.a.
-2.4
ปริมาณจาหน่ายปูนซีเมนต์ (%YoY) /14
0.1
?9.1
?8.9
4.8
15.7
16.9
n.a.
16.9
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (%YoY) /4
-
-0.1
?1.1
?0.4
0.6
0.4
0.3
0.1
0.2 การค้าระหว่างประเทศ
มูลค่าการส่งออก (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ); ระบบศุลกากร /4
300.8
71
74.3
77.9
27.2
25.3
26.7
52.0
(%YoY) /4
5.4
-0.3
4.3
7.5
10.5
13.6
14.0
13.8
ราคาสินค้าส่งออก (%YoY) /4
1.4
1.3
1.7
1.3
1.2
1.0
0.8
0.9
ปริมาณการส่งออก (%YoY)/14
4.3
-1.5
2.6
6.1
10.5
14.2
8.8
11.4
มูลค่าการนาเข้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ระบบศุลกากร/4
307.8
75.5
75.1
78.6
28
27.2
24.7
51.9
(%YoY) /4
6.3
3.9
2.2
10.7
10.2
7.9
4.0
6.0
ราคาสินค้านาเข้า (%YoY) /4
1.1
-1.1
2.3
1.6
1.6
3.6
4.0
3.8
ปริมาณการนาเข้า (%YoY) /14
5.2
5
-0.2
8.9
8.5
4.1
0.0
2.1
ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ);ระบบศุลกากร/4
?7.0
?4.5
?0.8
?0.7
-
-0.8
-1.9
2.0
0.1 ด้านอุปทาน
ภาคการเกษตร
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร (%YoY) /6
?1.0
?3.3
?1.8
-1.0
1.0
3.8
3.7
3.2
ดัชนีราคาสินค้าเกษตร (%YoY) /6
7.7
5.3
11
7.4
8.3
1.3
-
-0.9
0.2
รายได้เกษตรกรที่แท้จริง (%YoY) /14
5.8
2.5
8.2
5.2
7.0
3.4
1.2
1.6
การจ้างงานภาคเกษตร (%YoY)/3
-
-4.2
?5.2
?4.8
-
-3.4
-
-3.6
-
-4.1
-
-2.5
-
-3.3 ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (%YoY) /9
?1.3
?2.8
0.2
?0.8
-
-1.8
-1.1
-3.9
-2.5
มูลค่าการนาเข้าวัตถุดิบในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY) /4
12.3
4.7
9
19.7
13.9
4.2
12.8
8.2
ปริมาณการนาเข้าวัตถุดิบในรูปดอลลาร์สหรัฐ(%YoY) /14
8.9
3.1
5.9
15
8.5
0.5
7.7
3.8
อัตราการใช้กาลังการผลิต (%)/9
59.0
61.0
58.3
58.8
57.7
59.9
59.0
59.4
การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม (%YoY) /3
1.1
1.4
1.8
0.2
-1.7
3.3
-
-3.2
-
-0.1
- 9 -
เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจรายเดือน 2567 2567 2568 Q1 Q2 Q3 Q4 ม.ค. ก.พ. YTD
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)/8
89.5
91
88.7
88
89.1
91.6
93.4
92.5
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME (SMESI)/15
52.4
53.9
52.8
49.6
52.2
53.1
52.1
52.6 ภาคบริการ
จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ (ล้านคน)/10
35.54
9.37
8.13
8.59
2.63
3.70
3.12
6.83
(%YoY) /14
26.3
43.5
26.3
21.1
21.9
22.2
-6.9
6.8
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%YoY)/10
8.5
8.6
13
6.6
5.2
3.6
3.5
3.5
การจ้างงานภาคบริการ (%YoY) /3
1.6
2.1
1.2
2.1
1.0
2.1
0.3
1.2 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจต่างประเทศ
อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย (บาท/ดอลลาร์สหรัฐ)/2
35.4
35.7
36.7
34.8
34.0
34.4
34.0
34.1
ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2
9.4
3.4
1.1
2.2
5.6
2.7
n.a.
2.7
ทุนสารองทางการ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2
237.0
223.4
224.3
243.0
238.6
242.1
244.7
244.7
ฐานะซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าสุทธิ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2
25.1
29.6
28.6
26
25.9
24.0
23.2
23.2 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจในประเทศ
อัตราการว่างงาน (%) /3
1.0
1.0
1.1
1.0
1.0
0.9
0.8
0.9
สัดส่วนผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานสะสมต่อจานวนผู้ประกันตน ม.33 (%)
1.81
1.84
1.92
1.82
1.8
1.87
1.85
1.85
ดัชนีราคาผู้ผลิต (%YoY) /4
1.6
1.2
3.7
1.7
?1.4
0.7
-0.3
0.2
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%YoY) /4
0.4
?0.78
0.78
0.6
0.83
1.32
1.08
1.20
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%YoY) /4
0.56
0.44
0.38
0.64
0.77
0.83
0.99
0.91
หนี้สาธารณะต่อ GDP(%) /1
63.9
63.7
63.4
63.3
64.0
64.1
n.a.
64.1 ภาวะเศรษฐกิจต่างประเทศ
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลก (Global Composite PMI) (ระดับ)/16
52.5
52.0
53.0
52.4
52.4
51.8
51.5
51.7
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลกภาคการผลิต (Global Manufacturing PMI) (ระดับ)/16
50.0
50.3
50.7
49.3
49.7
50.1
50.6
50.4
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของทั่วโลกภาคบริการ (Global Service PMI) (ระดับ)/16
53.1
52.4
53.3
53.4
53.3
52.2
51.6
51.9
เครื่องชี้ภาคการคลัง FY2567 FY2567 FY2568 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ม.ค. ก.พ. FY/YTD
รายจ่ายปีปัจจุบัน (พันล้านบาท)
3,396.0
910.1
570.7
1,056.2
858.8
1,160.6
295.6
186.7
1,642.9
%YoY
10.0%
-
-7.3%
?19.6%
42.3%
31.3%
27.5%
43.8%
8.5%
27.6%
รายจ่ายประจา (พันล้านบาท)
2,829.3
859.1
529.5
883.2
557.6
1,035.4
252.1
158.7
1,446.2
%YoY
8.4%
0.0%
?11.8%
41.2%
6.1%
20.5%
31.0%
?0.1%
19.5%
รายจ่ายลงทุน (พันล้านบาท)
566.6
51.1
41.2
173.0
301.3
125.2
43.6
28.0
196.7
%YoY
18.5%
-
-58.6%
?62.3%
48.1%
134.2%
145.2%
230.3%
113.0%
154.2%
รายจ่ายปีก่อน (พันล้านบาท)
146.4
53.6
36.5
22.2
34.2
101.2
23.9
20.4
145.5
%YoY
?15.8%
-
-9.1%
?18.1%
?20.6%
?19.7%
88.9
83.5%
82.1%
87.0%
รายจ่ายรวม (พันล้านบาท)
3,542.4
963.8
607.2
1078.4
893.1
1,261.8
319.5
207.1
1,788.4
%YoY
8.6%
-
-7.4%
?19.5%
40.0%
28.2%
30.9%
46.2%
13.0%
31.0%
ที่มา: 1/กระทรวงการคลัง 2/ธนาคารแห่งประเทศไทย 3/สานักงานสถิติแห่งชาติ 4/กระทรวงพาณิชย์ 5/มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 6/สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 7/Reuters 8/สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 9/สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 10/กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 11/ กรมจัดเก็บประกอบด้วยกรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร 12/กรมการขนส่งทางบก 13/บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด 14/คานวณโดยสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 15/สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) 16/CEIC


          ที่มา: กระทรวงการคลัง

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ