1
ฉบับที่ 10/2568 วันที่ 28 มีนาคม 2568
ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคเดือนกุมภาพันธ์ 2568
?เศรษฐกิจภูมิภาคเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนโดยเฉพาะภาคใต้ อีกทั้งการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่อง และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น ในหลายภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ควรติดตามสถานการณ์การลงทุนภาคเอกชนของภูมิภาคที่ชะลอตัว?
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ว่า ?เศรษฐกิจภูมิภาคเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนโดยเฉพาะภาคใต้ อีกทั้งการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่อง และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้นในหลายภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ควรติดตามสถานการณ์การลงทุนภาคเอกชนของภูมิภาคที่ชะลอตัว? โดยมีรายละเอียดดังนี้
เศรษฐกิจภาคใต้ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน เงินทุน ของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ และการท่องเที่ยวที่ขยายตัว อีกทั้งความเชื่อภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวที่ร้อยละ 15.7 6.4 และ 20.3 ต่อปี ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -11.9 ต่อปี อีกทั้งดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 55.9 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 57.0 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถบรรทุก จดทะเบียนใหม่ และจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -19.3 และ -12.1 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 442.5 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานห้องเย็นและถนอมเนื้อสัตว์ด้วยวิธีทาให้เยือกแข็งโดยฉับพลันในจังหวัดสงขลา เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 86.7 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 83.2 เครื่องชี้ภาคการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ที่ร้อยละ 1.5 และ 2.2 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอย เพื่อการบริโภค และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวเร่งขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวที่ร้อยละ 14.0 และ 1.6 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่รายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -12.5 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.2 เมื่อเทียบกับ เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -16.0 ต่อปี และดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 60.3 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 61.4 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -29.1 และ -31.4 ต่อปี ตามลาดับ อีกทั้งเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 71.3 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า
- 2 -
ซึ่งอยู่ที่ระดับ 73.0 เครื่องชี้ภาคการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ที่ร้อยละ 11.2 และ 8.5 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคเหนือในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภค ที่ขยายตัวเร่งขึ้น และการท่องเที่ยวที่ขยายตัว โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวที่ร้อยละ 11.0 และ 4.2 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่รายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -8.3 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับ เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -10.5 ต่อปี ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 57.9 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 59.0 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -20.0 และ -7.1 ต่อปี ตามลาดับ อีกทั้งเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 90.5 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 91.8 เครื่องชี้ภาคการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ที่ร้อยละ 2.8 และ 3.1 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอย เพื่อการบริโภค และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการที่ขยายตัว อีกทั้งความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ที่ปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.5 และ 1.9 ต่อปี ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -15.7 และ -3.8 ต่อปี ตามลาดับ อีกทั้ง ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 57.2 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 58.4 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ขยายตัวที่ร้อยละ 20.4 ต่อปี ขณะที่จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -27.4 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาล ทั้งนี้ เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 52.0 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานผลิตนมสเตอริไลส์ผสม และเครื่องดื่มแบบพร้อมดื่ม ในจังหวัดปทุมธานี เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 99.3 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 95.0 เครื่องชี้ภาคการบริการ สะท้อนจากสะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนหดตัวที่ร้อยละ -1.4 และ -3.3 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคตะวันออกในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากท่องเที่ยว และเงินทุน ของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการที่ขยายตัว โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.2 ต่อปี อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -6.4 -23.9 และ -3.4 ต่อปี ตามลาดับ อีกทั้ง ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 60.3 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 61.5 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -24.5 และ -17.8 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 25.0 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานผลิตภัณฑ์จากพลาสติกในจังหวัดชลบุรี เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 99.4 ทรงตัวจากเดือนก่อนหน้า เครื่องชี้ภาคการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 6.3 และ 2.0 ต่อปี ตามลาดับ
- 3 -
เศรษฐกิจภาคตะวันตกในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -0.6 -1.4 และ -2.6 ต่อปี ตามลาดับ แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.4 3.4 และ 0.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาล ตามลาดับ อีกทั้งจานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -14.0 ต่อปี และดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 56.9 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 58.0 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -13.2 และ -30.1 ต่อปี ตามลาดับ แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 8.3 และ 33.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาล ตามลาดับ ทั้งนี้ เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 99.3 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 95.0 เครื่องชี้ภาคการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 3.7 และ 3.5 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคกลางในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปัจจัยสนับสนุนจากท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก การรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -2.8 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาล ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัวอีกทั้งดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 56.9 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 58.0 เครื่องชี้ ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -22.6 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถบรรทุก จดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 99.3 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 95.0 เครื่องชี้ภาคการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 0.5 และ 2.0 ต่อปี ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการสารวจภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคของไทย ประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งสารวจ จากสานักงานคลังจังหวัดและสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยพบว่า ภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคเดือนกุมภาพันธ์ 2568 สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาคปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้จากความเชื่อมั่นที่เพิ่มขึ้นในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ในขณะที่กาลังซื้อสะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชนซึ่งปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าในหลายภูมิภาคโดยมีปัจจัยสนับสนุนจากภาคเกษตรเป็นสาคัญ สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาคใน 6 เดือนข้างหน้าปรับเพิ่มขึ้นในหลายภูมิภาคโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคกลาง และ กทม. และปริมณฑล ซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจากทุกองค์ประกอบของดัชนีทั้งภาคการผลิต การจ้างงาน และการลงทุน อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องติดตามสถานการณ์ความผันผวนของสภาพอากาศ เศรษฐกิจโลก และการค้าระหว่างประเทศอย่างใกล้ชิด
โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมปรากฏตามเอกสารแนบ
ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2568
ตารางที่ 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคใต้
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2567 Q1/67 Q2/67 Q3/67 Q4/67 ม.ค.68 ก.พ.68 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
12.3
13.5
6.6
15.6
13.8
11.9
15.7
13.8
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-25.9
-24.6
-27.1
-21.3
-32.3
-25.4
-11.9
-20.1
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-0.3
-2.7
1.4
-6.8
7.6
-1.9
6.4
2.2
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
56.8
60.3
57.8
54.2
54.9
57.0
55.9
56.5
รายได้เกษตรกร (%yoy)
29.3
10.4
49.4
35.1
25.0
20.3
20.3
20.3
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-35.0
-41.6
-34.7
-27.7
-32.8
-17.8
-12.1
-15.4
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-23.9
-29.7
-26.0
-21.8
-15.8
-10.0
-19.3
-14.8
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
9.3
1.5
1.2
1.7
4.8
0.5
1.4
1.9
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
53.9
9.1
49.5
107.6
60.2
-26.5
442.5
106.7
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-2.8
-7.5
-0.5
-1.2
-1.3
1.2
-
1.2
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
85.1
92.5
86.8
81.2
80.0
83.2
86.7
85.0
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
25.0
44.7
27.9
18.5
12.3
14.8
1.5
8.0
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
15.2
31.6
24.2
2.8
4.9
7.2
5.2
6.2
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
38.1
63.1
33.0
41.3
21.4
23.1
-2.5
10.1
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
29.8
59.7
21.6
26.7
16.2
20.3
2.2
11.2
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
18.4
46.0
14.8
8.2
8.9
9.1
9.5
9.3
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
33.0
63.3
23.5
31.9
18.1
22.8
0.5
11.6
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
0.2
-1.0
0.5
0.3
1.1
-
-
-
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.2
1.2
1.2
1.2
1.2
-
-
-
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.6
0.6
0.7
0.7
0.6
0.6
0.6
0.6
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
ตารางที่ 2 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2567 Q1/67 Q2/67 Q3/67 Q4/67 ม.ค.68 ก.พ.68 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
13.6
8.6
14.9
16.7
14.3
13.4
14.0
13.7
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-24.8
-22.1
-24.3
-25.1
-29.5
-17.6
-16.0
-16.9
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-8.6
-12.6
-8.2
-12.9
0.5
2.7
1.6
2.2
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
61.8
65.6
63.0
59.2
59.4
61.4
60.3
60.9
รายได้เกษตรกร (%yoy)
1.8
6.8
3.1
-0.9
-1.6
-10.0
-12.5
-11.3
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-32.1
-35.6
-31.9
-32.9
-24.9
-18.8
-29.1
-23.7
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-20.3
-24.7
-19.9
-18.8
-16.8
-17.9
-31.4
-24.8
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
21.5
3.8
8.6
2.1
7.0
0.8
0.6
1.4
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
70.9
-31.2
677.0
30.9
60.4
-65.0
-15.3
-53.4
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
1.1
-2.4
2.3
2.2
2.7
0.7
-
0.7
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
74.6
79.3
73.5
71.6
73.9
73.0
71.3
72.2
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
16.2
17.6
19.0
17.4
11.5
4.5
11.2
7.7
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
15.0
16.7
18.6
15.6
9.8
3.5
10.6
6.9
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
35.2
32.9
24.6
46.8
37.4
19.8
20.5
20.2
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
18.6
27.2
21.4
15.9
11.5
5.0
8.5
6.7
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
17.1
26.6
21.1
13.3
9.0
3.8
7.5
5.6
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
36.7
34.3
23.8
47.7
41.7
21.0
20.8
20.9
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
0.7
-0.4
1.1
0.9
1.2
-
-
-
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
0.8
1.0
0.9
0.9
0.5
-
-
-
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.8
0.8
0.8
0.7
0.7
0.7
0.6
0.7
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
ตารางที่ 3 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเหนือ
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2567 Q1/67 Q2/67 Q3/67 Q4/67 ม.ค.68 ก.พ.68 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
4.7
5.9
2.4
2.4
8.5
5.9
11.0
8.4
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-22.6
-18.3
-23.1
-25.9
-25.2
-15.7
-10.5
-13.6
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-6.4
-12.9
-5.2
-8.6
2.9
2.2
4.2
3.1
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
59.8
63.6
61.2
57.2
57.1
59.0
57.9
58.5
รายได้เกษตรกร (%yoy)
-0.6
-1.7
-4.8
-1.0
1.2
-5.3
-8.3
-6.8
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-28.3
-27.5
-29.0
-28.6
-28.5
-24.8
-20.0
-22.7
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-21.6
-23.0
-17.0
-26.6
-19.6
-0.5
-7.1
-3.6
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
6.5
0.8
2.3
2.1
1.2
0.7
0.3
1.0
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-12.9
-2.9
-29.4
33.8
-29.1
317.9
-32.7
70.3
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
2.3
-1.0
2.1
3.1
5.7
0.7
-
0.7
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
90.0
94.3
88.6
89.9
87.2
91.8
90.5
91.2
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
4.0
5.3
6.6
-0.4
4.2
6.4
2.8
4.7
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
2.1
2.5
5.4
-3.0
3.2
6.6
5.3
6.0
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
18.4
27.3
16.4
19.4
11.4
5.1
-12.9
-3.7
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
8.9
14.9
11.7
3.2
5.6
7.3
3.1
5.3
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
4.5
8.0
7.1
-3.0
4.8
7.8
8.6
8.2
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
24.4
40.9
28.7
24.7
8.1
5.8
-12.4
-3.1
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
0.6
-0.8
1.0
1.0
1.3
-
-
-
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.0
0.9
1.1
1.0
0.9
-
-
-
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.7
0.6
0.7
0.7
0.7
0.7
0.7
0.7
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
ตารางที่ 4 เครื่องชี้เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2567 Q1/67 Q2/67 Q3/67 Q4/67 ม.ค.68 ก.พ.68 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
6.1
0.6
6.7
9.9
7.5
18.8
9.5
14.2
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-18.9
-13.4
-21.4
-16.5
-26.3
-13.8
-15.7
-14.6
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-8.3
-7.8
-9.2
-9.9
-6.0
6.5
1.9
4.2
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
58.8
63.0
60.0
55.8
56.5
58.4
57.2
57.8
รายได้เกษตรกร (%yoy)
-2.4
-11.0
4.9
2.3
-0.1
-3.5
-3.8
-3.6
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-31.0
-34.1
-37.8
-26.6
-21.9
-7.5
20.4
5.6
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-19.4
-14.5
-20.7
-17.6
-24.9
-14.1
-27.4
-21.2
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
30.8
6.2
3.6
14.6
6.4
1.8
5.0
6.8
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-1.8
-39.5
-51.1
137.9
-16.4
8.0
52.0
37.3
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
1.8
-1.1
2.1
2.8
3.8
2.7
-
2.7
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
93.6
94.2
93.4
91.6
95.0
95.0
99.3
97.2
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
6.9
7.3
5.5
7.5
7.4
2.3
-1.4
0.5
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
6.6
4.2
11.6
8.7
2.4
2.6
2.2
2.4
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
7.5
12.2
-3.7
5.4
16.3
2.0
-6.2
-2.2
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
14.1
28.5
9.3
9.1
11.1
7.9
-3.3
2.4
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
11.6
14.2
13.6
15.1
5.0
5.5
0.3
3.1
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
14.9
33.5
8.0
7.2
13.0
8.8
-4.2
2.1
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
0.6
-0.3
1.0
0.6
1.0
-
-
-
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.1
1.1
1.1
1.2
1.1
-
-
-
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.5
0.5
0.6
0.5
0.5
0.5
0.5
0.5
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
ตารางที่ 5 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออก
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2567 Q1/67 Q2/67 Q3/67 Q4/67 ม.ค.68 ก.พ.68 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-2.7
-3.4
-0.9
1.4
-7.7
5.8
-6.4
-0.4
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-31.6
-27.8
-29.3
-31.1
-40.6
-19.0
-23.9
-21.2
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-12.0
-14.7
-9.5
-16.2
-6.7
2.0
2.2
2.1
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
61.8
65.9
63.0
59.0
59.4
61.5
60.3
60.9
รายได้เกษตรกร (%yoy)
4.0
-26.3
14.8
7.8
-0.5
-1.2
-3.4
-2.1
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-33.9
-39.3
-32.3
-32.1
-29.9
-27.0
-24.5
-25.8
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-12.3
-14.9
-8.4
-14.6
-11.1
-8.9
-17.8
-13.4
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
64.5
6.8
22.3
20.7
14.7
2.7
3.0
5.7
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
31.8
-66.0
466.6
14.8
109.6
-1.7
25.0
10.9
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
3.3
2.3
5.3
3.0
2.4
-0.9
-
-0.9
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
91.7
90.1
89.8
91.7
95.1
99.4
99.4
99.4
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
16.2
11.7
15.4
16.5
20.9
4.2
6.3
5.2
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
12.9
2.4
18.9
11.8
18.5
2.4
10.0
6.1
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
26.8
46.0
4.5
31.1
28.7
8.7
-2.3
3.0
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
29.1
49.7
17.3
28.5
24.4
7.2
2.0
4.6
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
19.6
2.4
29.0
22.0
24.4
4.8
12.9
8.7
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
38.2
105.6
6.5
34.4
24.4
8.5
-3.2
2.4
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
0.5
-0.7
0.9
0.9
1.1
-
-
-
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
0.7
0.8
0.7
0.8
0.6
-
-
-
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.6
0.6
0.6
0.6
0.6
0.6
0.6
0.6
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
ตารางที่ 6 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันตก
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2567 Q1/67 Q2/67 Q3/67 Q4/67 ม.ค.68 ก.พ.68 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-1.1
2.1
-3.1
4.0
-7.1
0.0
-0.6
-0.3
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-23.3
-18.6
-27.3
-22.3
-25.7
-20.5
-14.0
-17.9
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-19.2
-15.9
-23.2
-24.7
-12.1
-10.8
-1.4
-6.3
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
58.1
61.5
59.4
55.5
55.8
58.0
56.9
57.5
รายได้เกษตรกร (%yoy)
5.3
4.8
3.4
11.9
4.3
-3.7
-2.6
-3.1
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-34.3
-37.5
-29.6
-32.3
-37.5
-18.8
-13.2
-16.1
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-11.6
-3.7
-12.1
-18.1
-12.6
-37.6
-30.1
-33.7
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
52.0
34.0
0.6
0.7
16.6
0.9
0.1
1.0
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
609.9
9,370.0
-83.8
-62.8
1,381.9
909.4
-69.0
134.7
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
3.6
0.3
6.6
3.7
4.1
-1.1
-
-1.1
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
93.6
94.2
93.4
91.6
95.0
95.0
99.3
97.2
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
2.7
0.5
6.9
4.6
-0.8
3.2
3.7
3.4
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
1.7
-0.7
6.3
3.5
-1.9
2.7
3.6
3.1
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
41.3
49.5
31.6
45.2
39.1
17.6
6.0
11.7
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
13.4
20.2
19.3
11.6
3.8
5.9
3.5
4.7
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
10.8
17.2
18.1
8.7
0.7
4.9
3.8
4.4
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
49.4
66.0
35.9
48.9
48.5
18.0
0.0
8.7
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
0.6
-0.8
1.0
0.9
1.2
-
-
-
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
0.8
0.9
1.0
0.7
0.8
-
-
-
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.5
0.6
0.5
0.6
0.5
0.5
0.5
0.5
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
ตารางที่ 7 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคกลาง
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2567 Q1/67 Q2/67 Q3/67 Q4/67 ม.ค.68 ก.พ.68 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
6.5
8.4
7.0
7.2
3.5
-0.3
0.0
-0.2
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-30.6
-33.1
-23.3
-33.4
-32.2
-21.3
-16.5
-19.3
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-9.4
-7.5
-6.3
-15.3
-8.6
-2.4
-3.7
-3.1
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
58.1
61.5
59.4
55.5
55.8
58.0
56.9
57.5
รายได้เกษตรกร (%yoy)
-1.7
-5.0
-1.6
-1.1
0.7
-1.4
-2.8
-2.1
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-32.4
-31.8
-30.6
-34.8
-32.8
-26.5
-22.6
-24.7
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-21.8
-15.4
-29.0
-14.7
-26.9
4.9
-34.5
-16.3
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
21.6
3.8
2.1
3.1
12.6
7.4
0.7
8.1
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-75.2
126.4
-6.8
-12.3
-84.2
524.0
-30.7
266.7
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
2.9
0.0
3.1
4.1
4.7
1.6
-
1.6
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
93.6
94.2
93.4
91.6
95.0
95.0
99.3
97.2
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
9.9
15.3
11.1
5.0
8.6
4.8
0.5
2.6
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
7.4
11.9
10.5
3.0
4.5
2.5
0.0
1.2
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
45.2
60.2
17.8
31.0
76.8
27.6
5.5
15.9
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
16.2
27.8
18.9
8.9
11.4
6.7
2.0
4.4
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
12.4
22.5
16.7
5.9
6.6
4.0
1.5
2.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
58.1
83.5
42.9
38.3
70.7
27.4
5.5
15.8
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
0.6
-0.6
1.0
0.6
1.1
-
-
-
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.4
1.2
1.9
1.2
1.2
-
-
-
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.5
0.6
0.5
0.5
0.5
0.6
0.6
0.6
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
ภูมิภาค จานวนเงินทุน (ล้านบาท) จังหวัดที่เงินทุนสูงสุด ของภูมิภาค รายละเอียดเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการสูงสุด ของจังหวัด
1. กทม. และปริมณฑล
4,992
- ปทุมธานี
โรงงานผลิตนมสเตอริไลส์ผสม และเครื่องดื่มแบบพร้อมดื่ม
3,811 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 3,492 ล้านบาท
- นครปฐม
โรงงานห้องเย็น
362 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 362 ล้านบาท
2. ภาคตะวันออก
3,045
- ชลบุรี
โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์จากพลาสติก
2,369 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 1,030 ล้านบาท
- ระยอง
โรงงานผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า
637 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 481 ล้านบาท
3. ภาคใต้
1,406
- สงขลา
ห้องเย็นและถนอมเนื้อสัตว์ พืชผักผลไม้ด้วยวิธีทาให้เยือกแข็งโดยฉับพลัน
592 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 528 ล้านบาท
- นครศรีธรรมราช
โรงงานผลิตไฟฟ้าโดยใช้แสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน
463 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 328 ล้านบาท
4. ภาคกลาง
710
- พระนครศรีอยุธยา
โรงงานผลิตทาภาชนะบรรจุจากพลาสติก
439 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 255 ล้านบาท
- ลพบุรี
โรงงานฆ่าสัตว์ปีก
126 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 126 ล้านบาท
5. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
574
- สุรินทร์
โรงงานผลิตผลิตพรีฟอร์ม และบรรจุภัณฑ์จากพลาสติก
408 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 408 ล้านบาท
- กาฬสินธุ์
โรงงานผลิตผลิตน้าแข็งก้อนเล็
51 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 43 ล้านบาท
6. ภาคเหนือ
270
- เชียงราย
โรงงานผลิตผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ และผลิตภัณฑ์คอนกรีตอัดแร
208 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 100 ล้านบาท
- นครสวรรค์
โรงงานกะเทาะเม็ดมะม่วงหิมพานต์
26 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 18 ล้านบาท
7. ภาคตะวันตก
107
- ราชบุรี
โรงงานผลิตภาชนะบรรจุและผลิตภัณฑ์พลาสติกรูปทรงต่างๆ
66 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 40 ล้านบาท
- สุพรรณบุรี
โรงงานผลิตอาหารสาเร็จรูปสาหรับเลี้ยงสัตว์
41 ล้านบาท
ด้วยเงินทุน 41 ล้านบาท
การลงทุนใหม่ในเศรษฐกิจภูมิภาคของไทย
ภาพรวมทั้งประเทศในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีมูลค่าเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการทั้งสิ้น 11,104 ล้านบาท โดยภูมิภาคที่มีจานวนเงินทุนสูงสุด ได้แก่ กทม. และปริมณฑล ภาคตะวันออก และภาคใต้
เดือนกุมภาพันธ์ 2568
ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ประมวลผลโดย ส่วนนวัตกรรมข้อมูลเศรษฐกิจและงานวิจัย กองนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3359
กทม. และปริมณฑล ภาคตะวัน ออก ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาค เหนือ ภาคตะวันตก ดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาค 66.0 73.7 75.0 78.2 66.0 75.3 71.3 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชน 70.8 71.8 64.2 65.7 60.1 60.4 65.6 ดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค 68.9 76.1 72.6 75.2 73.6 71.7 74.4
ผลการสารวจความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาคประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2568
ผลการสารวจรายภูมิภาค
ภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคเดือนกุมภาพันธ์ 2568 สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาคปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้จากความเชื่อมั่นที่เพิ่มขึ้นในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ในขณะที่กาลังซื้อ สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชนซึ่งปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าในหลายภูมิภาคโดยมีปัจจัยสนับสนุน จากภาคเกษตรเป็นสาคัญ สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาคใน 6 เดือนข้างหน้าปรับเพิ่มขึ้นในหลายภูมิภาคโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคกลาง และ กทม. และปริมณฑล ซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจากทุกองค์ประกอบของดัชนีทั้งภาคการผลิต การจ้างงาน และการลงทุน อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องติดตามสถานการณ์ความผันผวนของสภาพอากาศ เศรษฐกิจโลก และการค้าระหว่างประเทศอย่างใกล้ชิด
หมายเหตุ : สานักงานเศรษฐกิจการคลังขอขอบคุณสานักงานคลังจังหวัด 76 จังหวัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสาหรับการตอบแบบสอบถามการสารวจ ความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาค เพื่อประโยชน์ในการติดตามภาวะเศรษฐกิจรายเดือนผ่านดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาค ดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชน และดัชนี ความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค (Thailand Regional Economic Sentiment Index: RSI)
การอ่านค่าดัชนี (ช่วง 0 - 100)
? ดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาค > (<) 50 หมายถึง ความเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูมิภาคในปัจจุบันอยู่ในระดับ ?ดีขึ้นกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน? (?ชะลอลงกว่า ช่วงเดียวกันของปีก่อน?)
? ดัชนีความเชื่อมั่นภาคประชาชน > (<) 50 หมายถึง กาลังซื้อของภาคแรงงานหรือความสามารถในการใช้จ่ายของประชาชนในปัจจุบันอยู่ในระดับ ?ดีขึ้นกว่า ช่วงเดียวกันของปีก่อน? (?ชะลอลงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน?)
? ดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค > (<) 50 หมายถึง คาดการณ์แนวโน้มความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาคในช่วง 6 เดือนข้างหน้าอยู่ในระดับ ?ดีขึ้นกว่าปัจจุบัน? (?ชะลอลงกว่าปัจจุบัน?)
สีของตารางแสดงการเปรียบเทียบระหว่างเดือนปัจจุบันและเดือนก่อนหน้า
? สีเขียวเข้ม : คะแนนสูงกว่า 50 และสูงกว่าเดือนก่อนหน้า
? สีเขียวอ่อน : คะแนนสูงกว่า 50 แต่ลดลงจากเดือนก่อนหน้า
? สีเหลืองอ่อน : คะแนนต่ากว่า 50 แต่สูงกว่าเดือนก่อนหน้า
? สีแดง : คะแนนต่ากว่า 50 และลดลงจากเดือนก่อนหน้า
ส่วนนวัตกรรมข้อมูลเศรษฐกิจและงานวิจัย กองนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทร. 02-273-9020 ต่อ 3272
ที่มา: กระทรวงการคลัง