มาตรการลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสำหรับที่อยู่อาศัย

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday April 8, 2025 15:27 —กระทรวงการคลัง

ฉบับที่ 42/2568 วันที่ 8 เมษายน 2568
มาตรการลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสาหรับที่อยู่อาศัย _____________________________________________
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2568 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบมาตรการลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสาหรับที่อยู่อาศัย โดยมีรายละเอียดสรุปได้ ดังนี้
1. วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนและบรรเทาภาระให้แก่ประชาชนที่ต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง และส่งเสริมการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ รวมถึงช่วยรักษาระดับกิจกรรม ทางเศรษฐกิจในภาคอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับภาคอสังหาริมทรัพย์
2. กลุ่มเป้าหมาย ผู้ซื้อซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยที่ต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง และผู้ขายที่ต้องการขายอสังหาริมทรัพย์ทั้งที่เป็นอาคารที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชย์ และห้องชุด ในราคาซื้อขาย และราคาประเมินทุนทรัพย์ไม่เกิน 7 ล้านบาท และวงเงินจานองไม่เกิน 7 ล้านบาท
3. ระยะเวลาดาเนินการ ให้มาตรการดังกล่าวมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่กฎหมายได้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2569
4. วิธีดาเนินการ ลดค่าจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพย์จากร้อยละ 2 เหลือร้อยละ 0.01 และลดค่าจดทะเบียนการจานองอสังหาริมทรัพย์จากร้อยละ 1 เหลือร้อยละ 0.01 เฉพาะที่จดทะเบียนโอนในคราวเดียวกัน สาหรับ การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ อาคารที่อยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝด หรือบ้านแถว หรืออาคารพาณิชย์ หรือที่ดินพร้อมอาคารดังกล่าว หรือห้องชุดที่จดทะเบียนอาคารชุด โดยมีราคาซื้อขายและราคาประเมินทุนทรัพย์ ไม่เกิน 7 ล้านบาท และวงเงินจานองไม่เกิน 7 ล้านบาทต่อสัญญา โดยไม่รวมถึงกรณีการขายเฉพาะส่วน
โฆษกกระทรวงการคลังกล่าวเพิ่มเติมว่า มาตรการดังกล่าวข้างต้นจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชน มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง และช่วยรักษาระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจผ่านภาคอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับภาคอสังหาริมทรัพย์ทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ อันจะก่อให้เกิดการจ้างงานและการผลิต ซึ่งสอดรับกับมาตรการผ่อนคลายเกณฑ์การกากับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยและสินเชื่ออื่น ที่เกี่ยวเนื่องกับสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย (Loan to Value: LTV) ของธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อช่วยประคับประคองภาคอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยบรรเทาปัญหาอุปทานคงค้างที่อยู่ในระดับสูง
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ติดต่อสานักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3514
มาตรการลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสาหรับที่อยู่อาศัย
(ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่กฎหมายได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาถึงวันที่ 30มิถุนายน 2569)วัตถุประสงค์
?
?เพื่อสนับสนุนและบรรเทาภาระให้แก่ประชาชนที่ต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง
?
?ส่งเสริมการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ
?
?ช่วยรักษาระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจผ่านภาคอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกลุ่มเป้าหมาย
?
?ผู้ซื้อซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยที่ต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง
?
?ผู้ขายที่ต้องการขายอสังหาริมทรัพย์ทั้งที่เป็นอาคารที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชย์ และห้องชุด (มือ 1และมือ 2)ประโยชน์
?
?ช่วยสนับสนุนและบรรเทาภาระให้แก่ประชาชนที่ต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง
?
?ส่งเสริมการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
?
?เพิ่มการบริโภคและการลงทุน
?
?GDP GDP เพิ่มขึ้นหลักเกณฑ์และเงื่อนไข
?
?ลดค่าจดทะเบียนโอน (จากร้อยละ 2) เหลือร้อยละ 0.01
?
?จดค่าจดทะเบียนการจานอง (จากร้อยละ 1) เหลือร้อยละ 0.01(เฉพาะกรณีโอนและจานองในคราวเดียวกัน)
?
?สาหรับการซื้อขายที่อยู่อาศัย (ทั้งมือ 1และมือ 2) ได้แก่ (1) บ้านเดี่ยว บ้านแฝด บ้านแถว (2) อาคารพาณิชย์ (3) ห้องชุด
?
?ราคาซื้อขาย ราคาประเมินทุนทรัพย์ และวงเงินจานอง ต้องไม่เกิน 7 ล้านบาทต่อสัญญา ไม่รวมถึงกรณีการขายเฉพาะส่วน
?
?ระยะเวลามาตรการ: : ตั้งแต่วันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2569ตัวอย่างการคานวณ
กรณีบ้านพร้อมที่ดินมูลค่า 7ล้านบาท
และวงเงินจานอง 7ล้านบาท
ค่าจดทะเบียน
ปกติ
ตามมาตรการฯ
การโอน
140,000 ,000 (2%)%)
700((0.01%)1%)
การจานอง
70,000 (1%)0,000 (1%)
700 (0.01%)00 (0.01%)
รวม
210,000,000
1,,400
?
? ลดค่าจดทะเบียนโอนและการจานองเหลือ ร้อยละ 0.01??
สาหรับบ้านมือ1 1 และมือ2 2 ที่มีราคาซื้อขาย ราคาประเมินทุนทรัพย์ และวงเงินจานอง ไม่เกิน 7 ล้านบาท
หน่วย: : บาท


          ที่มา: กระทรวงการคลัง

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ