รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 4 เม.ย. 68

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday April 10, 2025 14:26 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด

? ภาวะเศรษฐกิจไทยในสัปดาห์ล่าสุดสะท้อนสัญญาณขยายตัวโดย อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน มี.ค. 68 เพิ่มขึ้น

ที่ร้อยละ 0.4 ต่อปี และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นร้อยละ 0.9 ต่อปี และปัจจัยการขยายตัวจากการบริโภคจาก

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ใน เดือน ก.พ. 68 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.4 ต่อปีและปริมาณ

รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มี.ค. 68 ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 1.1 ต่อปี เนื่องจากนโยบายสนับสนุน

การบริโภคภายในประเทศของภาครัฐ แต่ขณะที่ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 68

หดตัวที่ร้อยละ -8.0 ต่อปี รวมทั้งปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มี.ค. 68 หดตัวที่ร้อยละ

-12.1 ต่อปี ในส่วนจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 24 - 30 มี.ค. 2568

มีจานวนนักท่องเที่ยว 5.8 แสนคน

ปัจจัยเสี่ยง

? การชะลอตัวของนักท่องเที่ยวต่างชาติเนื่องจากการชะลอด้านการเดินทางของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะใกล้

? ปัญหาการชะลอตัวของสินเชื่อภาคธุรกิจและภาคครัวเรือนจากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ

ข้อเสนอแนะ

? มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจสร้างเสถียรภาพและการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น

? มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในภาคธุรกิจอสังหาฯของภาครัฐจะเป็นส่วนช่วยในภาคอสังหาฯ

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.พ. 68 ขยายตัวร้อยละ 13.0 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.พ. 68 ขยายตัวร้อยละ 2.9 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก .พ. 68 พบว่าดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุลจานวน -37,857 ล้านบาท

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน

? ณ วัน ที่ 31 มีนา ค ม 25 6 8 ว ง เ งินง บ ป ร ม ณร ย จ่า ย ล ง ทุน ห ลัง โอ น เ ปลี่ย น แ ปล ง อ ยู่ที่ 9 . 3

แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 2.3 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 26.3 โดยสัปดาห์สุดท้ายของเดือน

เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.5 น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 8.7 และต่ากว่า

เป้าหมายที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 35.0 จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุน

โดยเฉพาะใน 5 กระทรวงที่มีวงเงินสูง เช่น ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.8 แสนล้านบาท)

กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.0 แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.8

หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.2 หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา

วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.1 หมื่นล้านบาท)

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

4

ที่มา กรมการขนส่งทางบก

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 1.1 เนื่องจากผู้บริโภคเริ่มมีกาลังซื้อมากขึ้นจากมาตรการรัฐทั้งในด้านการกระตุ้นการบริโภคและมาตรการด้านการแก้ไขปัญหาหนี้ อย่างไรก็ตาม ในระยะข้างหน้า ตลาดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ยังคงมีปัจจัยกดดันอย่างต่อเนื่อง จากปัญหาหนี้ครัวเรือน ความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ และความไม่แน่นอนในสภาวะอากาศแปรปรวน

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มี.ค. 68 ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 1.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวร้อยละ -3.5

Indicators

(%yoy)

2024

2025

Q3

Q4

ทั้งปี

Feb

Mar

YTD

ปริมาณรถจักรยานยนต์

-

11.8 -

1.8 -

8 .0 2.4

1.1

1.8

%

MoM_sa

QoQ_sa

-

3.7

5.3

-

-2.9

-3.5

-

ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มี.ค. 6868หดตัวที่ร้อยละ 12.112.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลหดตัวที่ร้อยละ 5.1

ในเดือน มี.ค. 6868ปริมาณรถยนต์เชิงพาณิชย์จดทะเบียนใหม่หดตัวร้อยละ 12.112.1และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล(Van และ Pick up หดตัวที่ร้อยละ 19.619.6ซึ่งเป็นการหดตัวอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสถาบันการเงินยังมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ จากปัญหาหนี้เสียที่ยังอยู่ในระดับสูง แต่ขณะที่การลดลงของอัตราดอกเบี้ยอาจส่งผลดีต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบธุรกิจ

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ใน เดือน ก.พ. 688ขยายตัวที่ร้อยละ 0.4ต่อปี แต่หดตัวเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ -2 3 ต่อปี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จากการจัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศขยายตัวในเกณฑ์สูงที่ร้อยละ 7.5 ต่อปี ต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า จากปัจจัยบวกของนโยบายสนับสนุนการบริโภคของภาครัฐเป็นสาคัญ ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าหดตัวที่ร้อยละ -10 3 ต่อปี ซึ่งทาให้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ โดยรวมขยายตัวที่ร้อยละ 0.4

ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ.6868หดตัวที่ร้อยละ 8.08.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ 2.12.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 6868หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยมาจากปัญหาการชะลอตัวของสินเชื่อภาคธุรกิจและภาคครัวเรือนจากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ ในส่วนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในภาคธุรกิจอสังหาฯของภาครัฐจะเป็นส่วนช่วยในภาคอสังหาฯ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

วันที่ 24 3 00มี.ค. 2568มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวน 5.84แสนคน โดยจานวนนักท่องเที่ยวในสัปดาห์นี้ชะลอตัวลงเล็กน้อย จากการชะลอด้านการเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะใกล้ (Short

Haul) อย่างไรก็ตาม พบว่านักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยttไกล (Long Haul) ยังมีจานวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวจากสหราชอาณาจักร เป็นต้น

จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ 5อันดับแรกรายสัปดาห์ในปี 2567 และปี 2568

ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา

6

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลttกีฬา

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 24-30 มี.ค. 2568 มีจานวนนักท่องเที่ยว 5.84 แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค 30 มี.ค. 68 (YTD) มีจานวนทั้งสิ้น 9.54 ล้านคน สร้างรายได้ 4.62 แสนล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 4848,460 บาท โดยในสัปดาห์ที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติชะลอตัวลงเล็กน้อย เนื่องจากการชะลอด้านการเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะใกล้ (Short

HaulHaul) อย่างไรก็ตาม พบว่านักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยttไกล (Long Haul Haul) ยังมีจานวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวจากสหราชอาณาจักร เป็นต้น

สาหรับสัปดาห์ถัดไป คาดว่าจะมีจานวนนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น จากปัจจัยสนับสุนได้แก่ การท่องเที่ยวในช่วงวันอีดอิดิ้ลฟิตริของนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดมุสลิม การประกาศปี Amazing Thailand Grand Tourism

and Sport Year 20252025และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการแข่งขันกีฬาอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการยกเว้นบัตร ตม.6รวมถึงสายการบินหลายสายมีการเพิ่มเที่ยวบินมากขึ้น

ทั้งนี้ ในเดือนมีนาคม 2568 ที่ผ่านมา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รายงานว่า มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ทั้งหมด 2.7 ล้านคน ซึ่งต่ากว่าคาดการณ์ของ สศค. ที่คาดการณ์ไว้ที่ 3.1ล้านคน (คาดการณ์ เมื่อ ม.ค. 68) อย่างไรก็ตาม สศค. คากการ์ไว้ว่าในเดือนเมษายน 2568จะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติประมาณ 3.0ล้านคน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2567 31 มี.ค. 2568พบว่า ณ สิ้นเดือน มี.ค. 2568 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 9.3 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน 2.55แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 26.33หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 4.44แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 46.7

โดยจานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2568(วันที่ 1เม.ย. -30ก.ย. 2568) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 80 ตามประมาณการของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 5.0 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 53.7ทั้งนี้ ณ สัปดาห์สุดท้ายของเดือนมีนาคม 2562568 ผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่ร้อยละ 26.33เบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.55น้อยกว่าที่ต้องเบิกจ่ายต่อสัปดาห์ที่ร้อยละ 8.7 เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ณ สิ้นเดือนที่กรมบัญชีกลางคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 35.0 จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนในเดือนถัดไป โดยมีแนวทางดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.8 แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.0 แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.7 หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.22หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 3.1 หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 356.4 ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน 329.88ล้านบาท) สมุทรปราการ (วงเงินลงทุน 298.0 ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 296.3 ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน290.2290.2ล้านบาท)

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.พ. 68เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 207,0866ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 13.013.0ต่อปี ทาให้ห้าเดือนแรกของปีงบประมาณ 68เบิกจ่ายที่ร้อยละ 31.0

8

ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 186,672 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 8.5ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 5.0ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา 158,684 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -0.1 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 5.6 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 27,987 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 113.0ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 3.0(2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 20,414 ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 82.1 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 7.4ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.พ.68 ได้ 168,235168,235ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 2.99ต่อปี

โดยรายได้ในเดือนก.พ. 68ขยายตัวจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ขยายตัวร้อยละ 2.5ต่อปี ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ขยายตัวร้อยละ 8.0ต่อปี และภาษีเงินได้นิติบุคคลขยายตัวร้อยละ 5.2 ต่อปี

ครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.พ. 68 พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน 37,857 ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณขาดดุล 34,221 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล 72,078 ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน 66,000 ล้านบาท ส่งผลให้จานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 239,416ล้านบาท

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ก.พ. 68 เกินดุลที่ 5,490.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐเกินดุลเพิ่มขั้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 2,656.99ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ก.พ. 68 ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน เกินดุลที่1,124.4ล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่4,365.66ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 68 เกินดุลรวม 8,146.99ล้านดอลลาร์สหรัฐ

Current Account

1

0

ที่มา : ธนาคาแห่งประเทศไทย

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ก.พ. 68มียอดคงค้าง 20.55ล้านล้านบาท คิดเป็นการหดตัวที่ร้อยละ -0.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ก.พ. 68มียอดคงค้าง 25.82 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหดตัวที่ร้อยละ -0.1 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่าสินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ -1.33และสินเชื่อเพื่อการบริโภคพลิกกลับมาหดตัวที่ร้อยละ -0.22จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือหดตัวที่ร้อยละ -0.11จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า เงินฝากในธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ และสถาบันการเงินอื่น ขยายตัวที่ร้อยละ 2.0ร้อยละ 3.6และร้อยละ 7.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามลาดับ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

2 เม.ย.68 (ตามเวลาท้องถิ่น) ปธน.ทรัมป์ประกาศ ขึ้นภาษีสินค้านาเข้าจากประเทศไทยในอัตราร้อยละ 36 ภายใต้นโยบายภาษีตอบโต้ (Reciprocal Tariffs)

ดัชนีราคาค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล (PCE price Index) เดือน ก. พ. 68 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 (YoY) ตามที่ตลาดคาดการณ์ ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า และ Core PCEPCEอยู่ที่ร้อยละ 2.8 (YoY) เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเล็กน้อยที่ร้อยละ 2.7

ดัชนี PMI ภาคบริการ (ของ ISM) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ 50.8 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 53.5จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดที่ 53.0จุด

ดัชนี PMI ภาคการผลิต (ของ ISM) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ 49.0 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 50.3จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดที่ 49.5จุด

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (23-29 มี.ค. 68) อยู่ที่ 2.19 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าและต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.23แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 48.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 47.6 จุด โดยต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 48.7จุด นอกจากนี้ ดัชนียังต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.6จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 50.4จุด อย่างไรก็ดี ดัชนียังสูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 68 อยู่ที่ร้อยละ 6.1 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.2ของกาลังแรงงานรวม และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค 68 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ยูโรโซน

มาเลเซีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 48.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.7 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10อันเนื่องจากยอดคาสั่งซื้อใหม่ที่ลดลง

ยอดขายปลีก เดือน ก.พ. 68 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 ต่อปี (ร้อยละ 0.5 ต่อเดือน) ลดลงจากร้อยละ 4.4 ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า เป็นการขยายตัวของยอดขายปลีกเดือนที่ 35ติดต่อกัน และเป็นการเติบโตที่ช้าที่สุดนับตั้งแต่ ต.ค. 67โดยค่าจ้างที่เพิ่มขึ้นยังคงสนับสนุนการบริโภค

ยอดสั่งซื้องานก่อสร้าง เดือน ก.พ. 68 ลดลงร้อยละ -3.3 ต่อปี เหลือ 1,280 พันล้านเยน หลังจากเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.2 ในเดือนก่อนหน้า การลดลงนี้เกิดจากคาสั่งซื้อภายในประเทศที่อ่อนแอลง โดยเฉพาะจากภาครัฐ ขณะที่คาสั่งซื้อจากต่างประเทศพุ่งขึ้น การเติบโตในงานก่อสร้างอาคารเร่งตัวขึ้น และความต้องการงานวิศวกรรมโยธาฟื้นตัว

อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 68ลดลงเล็กน้อยเหลือร้อยละ 2.4จากร้อยละ 2.5ในเดือนก่อนหน้า โดยจานวนผู้ว่างงานลดลงร้อยละ 3.4หรือ 60,000คน เหลือ 1.68ล้านคน ในขณะที่การจ้างงานก็ลดลงร้อยละ 0.2หรือ 110,000คน เหลือ 68.16ล้านคน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ (final) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ 50 ลดลงจากระดับสูงสุดในรอบหกเดือนที่ 53.7 ในเดือนก่อนหน้า โดยการเติบโตของคาสั่งซื้อใหม่ชะลอตัวลงสู่ระดับต่าสุดในรอบสี่เดือน ในขณะที่ธุรกิจส่งออกใหม่ขยายตัวในอัตราที่อ่อนแอลงแต่ยังคงแข็งแกร่ง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต (final) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ 48.4 ต่ากว่าเดือนก่อนหน้าที่ 49 ซึ่งเป็นการหดตัวเดือนที่เก้าติดต่อกัน และเป็นการหดตัวที่รุนแรงที่สุดในกิจกรรมภาคการผลิตนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 67ทั้งในด้านการผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ เนื่องจากความต้องการที่ซบเซาทั้งในการขายภายในประเทศและต่างประเทศ

ญี่ปุ่น

จีน

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBSNBS) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 50.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.2จุด ซึ่งยังคงสูงกว่าที่ระดับ 50จุด บ่งชี้ถึงภาคอุตสาหกรรมของจีนยังคงขยายตัว

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (CaixinCaixin) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.21.2จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.88จุด

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (CaixinCaixin) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.1.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.4จุด

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 52.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.6จุด สูงกว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ อย่างไรก็ดี ดัชนียังสูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม

ธนาคารกลางออสเตรเลียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 4.1 ต่อปี

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 52.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.4จุด นับเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ต.ค. 65โดยได้รับแรงสนับสนุนจากเศรษฐกิจภายในประเทศที่ขยายตัวดีขึ้น

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 51.6 จุดเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.6จุด นับเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 7เดือน

ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 68 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.65 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.83จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ก.พ. 68หดตัวที่ร้อยละ -6.59จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -3.59จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือหดตัวที่ร้อยละ -3.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ก.พ. 68 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.22 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวที่ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.พ. 68 เกินดุลที่ระดับ 2.96 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 5.16พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

ยอดขายปลีกในฮ่องกงลดลงร้อยละ 15 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12 ติดต่อกันที่กิจกรรมการค้าปลีกลดลง โดยเกิดจากยอดขายที่ลดลงในทุกหมวดหมู่สินค้า ยอดขายลดลงสาหรับอาหาร เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยาสูบ ซูปเปอร์มาร์เก็ต เชื้อเพลิง เสื้อผ้าและรองเท้า ห้างสรรพสินค้า และสินค้าอุปโภคบริโภคอื่น ๆ

ดัชนี PMIPMIฮ่องกง ลดลงเหลือ 48.3 ในเดือนมีนาคม 2568 ถือเป็นหดตัวติดต่อกัน 2 เดือน และถือเป็นระดับต่าสุดตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2567 ซึ่งเกิดจากอุปสงค์ในประเทศและต่างประเทศที่อ่อนแอ โดยเฉพาะจากจีนแผ่นดินใหญ่ โดยภาคการผลิตมีคาสั่งซื้อและผลผลิตลดลงมากที่สุด ในขณะเดียวกัน ระดับการจ้างงานลดลงเป็นครั้งที่ 3 ในรอบ 4 เดือน เนื่องจากบริษัทต่าง ๆ ตอบสนองต่อการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นและความไม่แน่นอนของนโยบายด้วยการลดจานวนพนักงาน กิจกรรมการจัดซื้อก็อ่อนตัวลงเช่นกัน ราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้นในอัตราที่เร็ว ซึ่งขับเคลื่อนโดยเงินเฟ้อค่าจ้างเป็นหลัก แม้ว่าแรงกดดันด้านราคาโดยรวมจะแสดงสัญญาณการคลี่คลาย อย่างไรก็ตาม ราคาขายยังคงซบเซาท่ามกลางอุปสงค์ที่อ่อนแอ เมื่อมองไปข้างหน้า ความเชื่อมั่นทางธุรกิจลดลงสู่ระดับต่าสุดในรอบ 1ปีครึ่ง เนื่องจากบริษัทต่าง ๆ อ้างถึงความกังวลเกี่ยวกับการแข่งขัน เงินเฟ้อ และความไม่แน่นอนของนโยบาย

งบประมาณขาดดุล (Budget Balance) ของรัฐบาลฟิลิปปินส์ ขยายตัวเป็น 171,400ล้านเปโซในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 จาก 164,700 ล้านเปโซในเดือนเดียวกันของปีก่อน รายได้ของรัฐบาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.4โดยได้รับแรงหนุนหลักจากการจัดเก็บภาษีที่สูงขึ้นร้อยละ 10.9ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 93.5ของรายได้ทั้งหมด

ดัชนีราคาผู้ผลิตในฟิลิปปินส์เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 เมื่อเทียบเป็นรายปีในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 โดยได้รับแรงหนุนจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของราคาในการผลิตโค้กและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกลั่น การผลิตอื่น ๆ และการซ่อมแซมและติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก และสิ่งทอ

อัตราเงินเฟ้อในฟิลิปปินส์ลดลงร้อยละ 1.8 ในเดือนมีนาคม 2568 เนื่องจากราคาอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ลดลงเป็นหลัก เสื้อผ้าและรองเท้า และบริการร้านอาหารและที่พัก ขณะเดียวกัน ต้นทุนการขนส่งลดลงอีก ในทางกลับกัน อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นสาหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ที่อยู่อาศัยและสาธารณูปโภค และข้อมูลและการสื่อสาร ในขณะเดียวกัน อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน ซึ่งไม่รวมอาหารและพลังงานบางรายการ ลดลงเหลือร้อยละ 2.2

ฟิลิปปินส์

เกาหลีใต้

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ก.พ. 68 ขยายตัวร้อยละ 7.0 ต่อปี (ร้อยละ 1.0 ต่อเดือน) การผลิตภาคอุตสาหกรรมในเกาหลีใต้มีค่าเฉลี่ย ร้อยละ 7.93ตั้งแต่ปี 2519จนถึงปัจจุบัน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 68 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็นร้อยละ 2.1 ต่อปี จากร้อยละ 2.0 ในเดือนก่อนหน้า ในขณะที่ BOKBOKได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงทั้งหมด 75 เบสิสพอยต์ ทาให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่ระดับต่าสุดในรอบสองปีที่ร้อยละ 2.75 ทั้งนี้ ธนาคารกลางได้ปรับลดการคาดการณ์การเติบโตลงเนื่องจากผลกระทบจากภาษีนาเข้าของสหรัฐฯ และความวุ่นวายทางการเมืองภายในประเทศ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน มี.ค. 68 ลดลงเหลือ 49.1 จาก 49.9 ในเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นการหดตัวเดือนที่สองติดต่อกันในภาคนี้ ปริมาณการผลิตลดลงเป็นครั้งแรกในรอบสามเดือนเนื่องจากความต้องการภายในประเทศชะงักงัน ในทางตรงกันข้าม ยอดขายระหว่างประเทศเพิ่มขึ้นในอัตราเร็วที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 67

ดุลการค้า เดือน มี.ค. 68 เพิ่มขึ้นเป็น 4.99 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก 4.29 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 ต่อปี สูงสุดในรอบสามเดือนที่ 58.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมีสาเหตุหลักมาจากการฟื้นตัวของการส่งออกเซมิคอนดักเตอร์ ในขณะเดียวกัน การนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 สูงสุดในรอบสามเดือนที่ 53.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ท่ามกลางการเพิ่มขึ้นของการนาเข้าที่ไม่ใช่พลังงานและอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์

ดัชนี PMI ของ S&P Global เดือน มี.ค. 68 เพิ่มขึ้นเป็น 52.7 จาก 51.0 ในเดือนก่อนหน้า แสดงถึงการขยายตัวของภาคเอกชนเป็นเดือนที่สองติดต่อกัน ตัวเลขล่าสุดยังถือเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 67 เนื่องจากปริมาณคาสั่งซื้อใหม่เพิ่มขึ้นมากที่สุดในรอบสี่เดือน แม้ว่าสินค้าคงคลังจะยังคงลดลงเนื่องจากเกิดความล่าช้าในซัพพลายเชน

สิงคโปร์

ไต้หวัน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 49.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.5 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมเป็นครั้งแรกในรอบปี อันเนื่องจากผลผลิตและยอดคาสั่งซื้อใหม่ลดลงอย่างมีนัยสาคัญ

สหราชอาณาจักร

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 44.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.9จุด สูงกว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ อย่างไรก็ดี ดัชนียังต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 52.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.0จุด

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 68 เบื้องต้น อยู่ที่ร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้เป็นอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ. 64 อันเป็นผลจากการอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารและบริการที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อในหมวดพลังงาน และการขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงในอัตราเงินเฟ้อในหมวดพลังงาน และสินค้าอุตสาหกรรม เป็นสาคัญ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) final เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 48.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.8 จุด แต่ต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 48.9 จุดเล็กน้อย ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง แต่เป็นอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 66เนื่องจากผลผลิตและยอดคาสั่งซื้อใหม่หดตัวในอัตราที่ต่าที่สุดในรอบ 3ปี

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ (PMI) final เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 47.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.3 และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 46.6 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคบริการต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7อันเนื่องจากอุปสงค์ในภาคบริการที่ยังคงอ่อนแอ

อัตราเงินเฟ้อ (เบื้องต้น) เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 1.6

อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 68 อยู่ที่ร้อยละ 5.9 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.2ของกาลังแรงงานรวม

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 46.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 47.4จุด ต่ากว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ อย่างไรก็ดี ดัชนียังต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 52.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.0จุด

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 48.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.5จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ อย่างไรก็ดี ดัชนียังต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ดัชนี PMI ภาคบริการ เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 50.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.1จุด แต่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 50.2จุด และดัชนียังสูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค 68 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 68 ขยายตัวร้อยละ 4.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

สเปน

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 49.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.7 จุด โดยต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 50.0จุด นอกจากนี้ ดัชนียังต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 68 อยู่ที่ระดับ 54.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 56.2จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 55.5จุด อย่างไรก็ดี ดัชนียังสูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น

TWSE ไต้หวัน) และ Hang Seng ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 3 เม.ย. 68 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,161.81 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 31 มี.ค. 68 ถึง 3 เม.ย. 68 อยู่ที่33,194.26 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 31มี.ค. 68ถึง 3เม.ย. 68นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -572.71ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -11 ถึง -22 bpsbpsเมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อน โดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.78 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่31มี.ค. 68ถึง 3เม.ย. 68กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 13,411.14 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 3 เม.ย. 68กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ17,224.98 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่3 เม.ย.68เงินบาทปิดที่ 34.34 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -1.21 จากสัปดาห์ก่อนหน้าสอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลริงกิตวอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลเยน ยูโร เปโซ และดอลลาร์ไต้หวัน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -1.65

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ