ภาวะเศรษฐกิจสหราชอาณาจักร พฤษภาคม 2551

ข่าวเศรษฐกิจ Friday June 20, 2008 14:17 —กระทรวงการคลัง

ภาพรวมเศรษษฐกิจ  ( พฤษภาคม 2551)
ดัชนี้ชี้วัดการผลิตภาคอุตสาหหกรรมเดือนมีนาคมเริ่มอ่อนตัวลงง 0.4 จุด
ดัชนีใช้วัดการผผลิตภาคอุตสาหกรรม (Inddustrial Prodduction Indeex: IPI) ในเดือนมีนาคมอยู่ที่ระดับ 99.2 ลดลงง 0.4 จุดจากกเดือนที่แล้วซึ่งหากพิจารณาจากค่าเฉลี่ยของดัชนีช่วง 3 เดือนน (มกราคม-มีนาคม) ค่าเฉลี่ยของดัชนีจะลดลงจากช่วง 3 เดือนก่อนหน้า (ตุลาคม-ธันววาคม) 0.2 จุด โดยดัชนีการผลิตสินคค้าอุตสาหกรรรม(Maanufacturing) ซึ่งมีน้ำหนักกร้อยละ79 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 จากช่วง 3 เดือนก่อนหน้าขณะที่ดัชนีผลผผลิตภาคเหมืองแร่ ทรัพยากร ธรรมชาติ และ น้ำมันซึ่งมีน้ำหนักร้อยละ 12 ลดลงต่อเน่นืองร้อยละ 4.6 ส่วนดัชนีผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้า น้ำ และ ก๊าซ ซึ่งมีน้ำหนักร้อยละ 9 ลดดลงร้อยละ 1.3
ทั้งนี้ หากพิจารณาดัชนีการรผลิตตามระดับขั้นของผลลผลิตพบว่าคค่าเฉลี่ย 3 เดือนของดัชนีผลผลิตสินค้าขั้นกลางและพลังงาน (Intermediatee goods andd energy) ซึ่งมีน้ำหนักร้อยละ 48 ในดัชนี IPI ลดลงงจากรอบ 3 เดือนต่อเนื่องอยละ 0.8 ดัชนีผลผลิตสินค้าเพื่อการบริโภคที่ไม่คงทน (Consumer nonn-durable) ซึ่งมีน้ำหนักร้อยละ 27 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 สินค้าเพื่อการบริโภคที่คงทน (Consumer duraable) ซึ่งมีน้ำหนักร้อยละ 3.6 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 ขณะที่สินค้าทุน (Capital goods) ซึ่งมีน้ำหนักร้อยละ 21 ไม่เปลี่ยนแปลงจากรอบ 3 เดือนก่อนหน้า ซึ่งดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เริ่มมีทิศทางทีชะลอตัวลงสอดดคล้องกับการชะลอตัวขอองผลผลิตมวลรวมภายในนประเทศที่ชะลอตัวลงในไตรมาสแรก
อัตราแงินเฟ้อ : CCPI เดือนเมษายนพุ่งแตตะร้อยละ 33.0 เป็นครั้งงแรกใน 13 เดือน
ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ในเดือนเมษายนเร่งตัวขึ้นแรงแตะระดับร้อยละ 3.00 จากระดับร้อยละ 2.5 ในเดือนมีนาคม นับเป็นครั้งแรกนับจากเดือนมีนาคมปีที่แล้วที่อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับร้อยละ 3.00 หรือสูงกว่าออัตราเงินเฟ้ออเป้าหมายถึงงร้อยละ 1.0 โดยสาเหตุหลักที่ทำให้อัตราเงินเฟ้อในเดือนเพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีที่แล้วมาจากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายหมวดอาหาร และเครื่องดื่มที่ไม่ใช่แอลกอฮอล์ที่เร่งตัวขึ้นในเดือนนี้สู่ระดับร้อยละ 6.6 จากปีที่แล้ว หมวดค่าขนส่งที่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 6.1 และหมวดค่าใช้จ่ายประจำในครัวเรือนและค่าสาธารณูปโภค น้ำแก๊สและไฟฟ้า ที่เร่งตัวขึ้นเป็นร้อยละ 5.4 สำหรับหมวดสินค้าที่มีระดับราคาลดลงเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ได้แก่ หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าที่มีระดับราคาลดลงร้อยละ 6.3 หมวดสื่อสารลดลงร้อยลละ 2.9 และหมวดสันธนาการและวัฒนธรรมลดลลงร้อยละ 1.0
ทางด้านดัชนี RPI ในเดือนนี้เร่งตัวขึ้นสู่ระดับร้อยละ 4.2 หลังจากที่ชะลอตัวลงเหลือร้อยละ 3.8 ในเดือนที่แล้ว เนื่องจากรายจ่ายหมวดอาหารที่เร่งตัวขึ้นสู่ระดับร้อยละ 6.0 หมวด และค่าใช้จ่ายเพื่อที่อยู่อาศัยและรายจ่ายในครัวเรือนที่เร่งตัวขึ้นเช่นกันสู่ระดับร้อยละ 5.0 เนื่องจาก รายจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยที่ยังเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0 ขณะที่ค่าเช่าเร่งตัวขึ้นอีกเล็กน้อยเป็นร้อยละ 3.9 รายจ่ายหมวดพลังงานที่เร่งตัวเร็วถึงร้อยลละ 9.1 ขณะที่รายจ่ายเกี่ยวกับยานพาหนะแม้จะชะลอลงบ้างแต่ก็ยังเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6
อัตราการว่างงาน : เดือนมีนนาคมยังทรงงตัวในระดับต่ำที่ร้อยละ 5.2
ในรอบ 3 เดือนสิ้นสุดเดือนนมีนาคมปรากกฎว่าทั้งจำนวนผู้มีงานทำ (employment level) และอัตราการจ้างงานของผู้อยู่ในวัยทำงาน (working age employment rate) ยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยจำนนวนผู้มีงานทำในรอบไตรมาสสิ้นสุดเดือนมีนาคม (มกราคม-มีนาคม) มีจำนวน 29.538 ล้านคน เพิ่มขึ้น 117,000 คนจากรอบไตรมาสก่อน (ตุลาคม-ธันวาคม) และเพิ่มขึ้น 466,000 คนจากรอบไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว โดยคิดเป็นอัตราการจ้างงานของผู้อยู่ในวัยทำงานเท่ากับร้อยละ 74.9 ของผู้อยู่ในวัยทำงานทั้งหมด เพิ่มขึ้น 0.1 จุด จากรอบไตรมาสก่อนหน้า
ทางด้านจำนวนผู้ว่างงานมีเพิ่มขึ้น ขณะที่อัตราการว่างงานนยังคงที่ระดับร้อยละ 5.2 เท่ากับไตรมาสก่อนและลดลง 0.3 จุดจากรอบไตรมาสเดียวกันขอปีที่แล้ว โดย ณ สิ้นเดือนมีนาคม มียอดผู้ว่างงานทั้งสิ้น 1.612 ล้านคน เพิ่มขี้น 14,000 คนจากรอบไตรมาสก่อนหน้าแต่ลดลง 83,000 คน จากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว
สำหรับดัชนีชี้วัดรายได้เฉลี่ยของแรงงานนไม่รวมเงินโบนัส (GB average earnings indeex: AEI) ในรอบไตรมาสสิ้นสุดเดือนมีนาคมเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 จากปีที่แล้ว (ไม่เปลี่ยนแปลงจากรอบไตรมาสก่อนหน้า) ขณะที่ดัชนีที่รวมรายได้จากโบนัสเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 จากปีที่แล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 จากรอบไตรมาสก่อนหน้า)
อัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน
อัตราดอกเบี้ย : Bank of England ลดอัตราดอกเบี้ยลงเหลือร้อยละ 5.0
เมื่อวันที 8 พฤฤษภาคม คณะกรรมการนนโยบายการเงิน (MPC) ของธนาคารกลางอังกฤษมีมติ 8:1 ให้คงอัตราดอกเบี้ย Base rate ไว้ที่ร้อยละ 5.0 โดยรายหนึ่งเห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยลง ทั้งนี้ธนาคารได้ให้เหตุผลในการคงอัตราดดอกเบี้ยว่าแม้ว่าเศรษฐกิจมีสัญญาณเข้าสู่ภาวะชะลอตัวชัดเจน ประกอบกับการที่แนวโน้มราคาที่อยู่อาศัยและธุรกรรมในภาคอสังหาริมทรัพย์ ที่ชะลอตัวลง รวมถึงการที่สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อมากขึ้นจะส่งผลให้การบริโภภคโดยรวมลดลงก็ตาม แต่การที่อัตราเงินเฟ้อในเดือนเมษายนเร่งตัวเร็วขึ้นเป็นร้อยละ 3.0 จากการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันซึ่งแน่นอนว่ามีอัตราเงินเฟ้อในปีนี้จะอยู่สูงกว่าอัตราเป้าหมายและ หากราคาพลังงานเริ่มคงที่แล้วก็คาดว่าอัตราเงินเฟ้อ น่าจะกลับเข้าสู่เป้าหมายได้ในปีที่สอง หากธนาคารกลางลดอัตราดออกเบี้ยลงก็จะเท่ากับเป็นการส่งสัญญญาณว่าให้คววามสำคัญกับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจชะลอตัวมากกว่าจะให้ความสำคัญกับการควบคุมอัตราเงินเฟ้อ ดังนั้น จึงมีมติให้คงอัตราดอกเบี้ยไว้เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่าอัตราเงินเฟ้อจะเข้าสู่เป้าหมายร้ออละ 2 ภายในสองปีและไม่ส่งผลให้มีการปรับราคาหรือค่าแรงติดตามมามากเกินไป โดยการประชุมครั้งต่อไปที่จะมีขึ้นวันที่ 5 มิถุนายน 2008
การคงอัตราดอกเบี้ย Base rate ในเดือนนี้ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยชนิดลอยตัวยังคงอยู่ในระดับเท่ากับเดือนที่แล้ว แต่ส่วนต่างเมื่อเทียบกับ Base rate ในนเดือนนี้กว้างขึ้นเป็นร้อยยละ 2.16 ขณะที่อัตราดอกเบี้ยปรระเภทคงยังคคงปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง หลังจากที่สถาบันการเงินเริ่มเข้มงวดการปล่อยสินเชื่อมากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงโดยส่วนต่างในเดือนนี้ปรับแพิ่มเป็นนร้อยละ 1.86 จากที่เคยอยู่ในระดับเพียงร้อยละ 0.5 - 0.6 ในปีที่แล้ว
สำหรับโครงสร้างอัตราผลตตอบแทนเฉลี่ย (average yield curve)) ประจำเดือนพฤษภาคมพบว่าอัตราผลตอบแทนโดยรวมอยู่ใกล้เคียงกับเดือนที่แล้ว ยกเว้นอัตราผลตอบแทนระยะสั้น 3 เดือนถึง 11 ปีที่ปรับสูงขึ้นกว่าเดือนที่แล้วระหว่าง 8-30 basis poinnts ขณะที่อัตราผลตอบแทนระยะยาวกก็ใกล้เคียงกับเดือนก่อน ทั้งนี้เป็นที่น่าสังเกตว่าโครงสร้างอัตราผลตอบแทนแม้จะมีลักษณะที่อัตราผลตอบแทนระยะสั้น อยู่ในระดับที่สูงกว่าอัตราผลตอบแทนระยะยาว (inverted yield curve) แต่เส้นอัตราผลตอบแทนก็เริ่มลดความชันลงเมื่อเทียบกับเมื่อปลายปีที่แล้วอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการประกาศปรับลดอัตราดอกเบี้ยของ Bannk of Englannd รวมถึงมาตรการเพิ่มสภภาพคล่องให้กับระบบธนาคารในช่วงที่ผ่านมา
อัตราแลกเปลี่ยน: ปอนด์ ยังคงอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับ ยูโร และ ดอลลาร์ แต่แข็งค่ากับเยน
เงินปอนด์เมื่อแทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ.ในเดือนพฤษภาคมเคลื่อนไหวผันผวนอยู่ในกรอบระหว่าง 1.94-1.98 ดอลลาร์/ปอนด์ โดยในช่วงแรกของเดือนนเงินดอลลาร์ สรอ.อ่อนตัวลงหลังจากมีการเปิดเผยรายงานการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐฯ ประจำเดือนเมษายน โดยได้แสดงความกังวลถึงความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟ้อที่ยังคงสูงขึ้นต่อเนื่องขณะที่มีการประเมินภาวะเศรษฐกิจว่าจะแย่ลงไปออีกทั้งแนวโน้มการจ้างงาน รวมถึงราคาอสังหาริมทรัพย์ที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะถึงจุดต่ำสุด ประกอบกับการที่ราคาน้ำมันดิบยังคงเดินหน้าทำสถิติใหม่อีกครั้งที่ระดับ $1135 ต่อบาร์เรล กดดันให้เงินดอลลลาร์ สรอ.ลงมาปิดต่ำสุดดของเดือนเมื่อเทียบกับเงินปอนด์ที่ระดดับ 1.9417 ดอลลาร์/ปอนด์ ในช่วงกลางเดือน แต่หลังจากนั้นเงินดอลลาร์ สรอ.ก็เริ่มปรับตัวดีขึ้นเมื่อราคาน้ำมันแริ่มอ่อนตัวลงหลังจากขึ้นไปทำสถิตติสูงสุดประกอบกับนักลงทุนเริ่มให้ความสำคัญกับความเป็นไปได้ที่อัตราดอกเบี้ยของสหรัฐฯ อาจจะปรับเพิ่มขึ้นภายในปีนี้เมื่อนาย Richard Fisher ผู้ว่าการธนาคารกลาง Dallas ออกมาแสดงความเห็นว่าอัตราดอกเบี้ย Fed funds rate ควรปรับเพิ่มขึ้นโดยเร็วหากความคาดหวังเกี่ยวกับบอัตราเงินเฟ้อแย่ลงแม้จะต้องเสี่ยงกับการชะลอตัวของเศรษษฐกิจก็ตามส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยล่วงหน้าประจำเดือนธันวาคมเริ่มปรับบขึ้นรองรับทัศนะดังกล่าว โดยเงินปอนด์เมื่อเทียบกับดอลลาร์ สรอ.ปิดตลาดวันสุดท้ายของเดือนที่ระดับ 1.9762 ดอลลาร์/ปอนด์ ส่งผผลให้ค่าเฉลี่ยเงินปอนด์ในเดือนนี้ออ่อนค่าลงต่อแนื่องจากเดือนที่แล้วอีกเล็กน้อยร้อยละ 0.9 และเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยในรอบ 12 เดือนเงินปอนด์อ่อนนค่าลงเล็กน้อยร้อยละ 1.0
หลังจากที่เงินยยูโรแข็งค่าต่ออเนื่องและทำสถิติสูงสุดเมมื่อเทียบกับเงงินปอนด์ที่ระดับ 1.2387 ดอลลาร์/ปอนด์ เมื่อกลางเดือนเมษายนก่อนที่เงินปอนด์จะเริ่มฟื้นตัวเร็วในช่วงปลายเดือนในเดือนนี้ เงินปอนด์ก็กลับเริ่มอ่อนตัวลงอีกครั้งหลังจากปิดตลาดวันแรกของเดือนที่ระดับ 1.2781 ยูโร/ปอนด์ เมื่อเศรษฐกิจของฟื้นที่ Euro แม้จะมีแนวโน้มชะลอลงให้เห็นแล้วแต่ก็ไม่เพียงพอที่จะส่งผลต่อการปรับเปลี่ยน นโยบายดอกเบี้ยของ ECB ขณะที่แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักรยังคงชะลอตัวลง โดยเงินปอนด์มีระดับปิดที่ต่ำที่สุดของเดือนที่ระดับ 1.2457 ดอลลาร์/ปอนด์ อย่างไรก็ดี ในช่วงท้ายของเดือนเงินปอนด์ก็เริ่มปรับตัวดีอย่างแข็งแกร่งและสามารถกลับขึ้นมายืนเหนือระดับ 1.27 ยูโร/ปอนด์ ได้เมื่อปรากฎว่าตัวเลขยอดขายปลีกของเยอรมันชะลอลงติดต่อกันเป็นเดือนที่สองเหนือความคาดหมายของตลาดทำให้ตลาดเริ่มกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจของพื้นที่ยูโรอีกครั้ง ขณะเดียวกันอัตราเงินเฟ้อในฟื้นที่ยูโรก็พุ่งขึ้นสู่ระดับร้อยละ 3.6 ในเดือนพฤษภาคม ทำให้นักวิเคราะห์เชื่อวว่าแม้ ECB จะยังไม่มีท่าที่เปลี่ยนนโยบายการเงินแต่เชื่อว่าการที่กิจกรรมทาง เศรษฐกิจชะลอลงรวมถึงการที่ค่าเงินยูโรแข็งค่าขึ้นมากน่าจะส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อในพื้นที่ยูโรในระยะต่อไปลดลงและเปิดช่องให้ ECB ดำเนินนโยบายการเงินแบบบผ่อนคลายได้ในที่สุด โดยเงินปอนด์ปิดตลาดวันสุดท้ายของเดือนที่ระดับ 1.2716 ยูโร/ปอนด์ ใกล้เคียงกับระดับปิดของเดือนที่แล้วส่งผลให้ค่าเฉลี่ยเงินปอนด์ในเดือนนี้แข็งค่าขึ้นเล็กน้อยร้อยละ 0.4 เป็นครั้งแรกกที่ค่าเฉลี่ยรายเดือนของเงินปอนด์แข็งค่าเมื่อเทียบกับยูโรหลังจากที่ค่าเงินปอนด์อ่อนค่าลง 9 เดือนติดต่อกันโดยเงินปอนด์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินยูโรร้อยละ 13.9
เมื่อเทียบกับเงินบาทแล้ว เงินปอนด์ในเดือนนี้ค่อนข้างมีเสถียรภาพต่อเนื่องจากเดือนที่แล้วโดยเคลื่อนไหวในกรอบระหว่าง 62-64 Baht/ปอนด์ โดยเงินปอนด์ปิดตลาดวันแรกของเดือนที่ระดับ 62.4467 Baht/ยูโร จากนั้นก็เคลื่อนไหวขึ้นลงระหว่าง 62-63 Baht/ยูโร อย่างไรก็ดี ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนเงินปอนด์เริ่มปรับแข็งค่าขึ้นเหนือระดับ 64 Baht/ยูโร ได้เป็นครั้งแรกนับจากเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้วจากการที่ประเทศไทยประสบปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเร็วและสูงกว่าที่ทางการเคยประมาณการไว้จากผลของราคาน้ำมันรวมถึงการที่เงินทุนบางส่วนเริ่มไหลออกจากประเทศไทยโดยเงินปอนด์ปิดตลาดวันสุดท้ายของเดือนที่ระดับ 64.1969 Baht/ยูโร ส่งผลให้ค่าเฉลี่ยของเงินปอนด์ในเดือนนี้โดยรวมแข็งค่าเล็กน้อยร้อยละ 0.7 แต่อ่อนค่าลงร้อยละ 3.4 ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ดุลงบประมาณ: เดือนเมษายน รัฐบาลเกินดุลเล็กน้อย 0.5 พันล้านปอนด์
ณ สิ้นเดือนเมษายนซึ่งเป็นเดือนแรกของปีงบประมาณปัจจุบัน (2008/09) รัฐบาลมีฐานะงบประมาณรายจ่ายประจำเกินดุลจำนวน 0.57 พันล้านปอนดด์ (เทียบกับทที่ขาดดุล 0.05 พันล้านปอนด์ในเดือนเมษายนของปีที่แล้ว) และเมื่อรวมกับในเดือนนี้นีรัฐบาลมีการลงทุนสุทธิจำนวน 0.05 พันล้านปอนด์ ทำให้ฐานะดุลงบประมาณโดยรวมในเดือนนี้มียอดเกินดุลสุทธิเป็นนจำนวน 0.52 พันล้านปอนนด์ (เพิ่มขึ้น 3.3 เท่าจากเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว) โดยในส่วนของรัฐบาลกลาง (central government account) สามารถจัดเก็บรายได้ในเดือนนี้จำนวน 42.6 พันล้านปอนด์ ขณะที่งบรายจ่ายปประจำและงบลงทุนของรัฐบาลกลางมีจำนวน 44.7 พันล้านปอนด์ และเมื่อรวมกับรายจ่ายค่าเสื่อมราคา 0.5 พันล้านปอนด์ ส่งผลให้รัฐบาลกลางมีฐานะขาดดุลงบปประมาณเป็นจำนวน 2.7 พันล้านปอนด์ (เทียบกับที่ขาดดุล 3.1 พันล้านปอนด์ในเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว)
ทั้งนี้ ในคราวแถลงงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2008/09 เมื่อเดือนมีนาคมรัฐบาลประมาณการว่าในปีงบประมาณปัจจุบันจะขาดดุลเป็นจำนวน 43 พันล้านปอนด์
Debt/GDP : เดือนเมษายน อยู่ที่ระดับร้อยละ 36.5
ณ สิ้นเดือนเมษษายน ยอดคคงค้างหนี้สาธธารณะลดลงเหลือ 526.8 พพันล้านปอนด์ หรือเท่ากับร้อยละ 36.5 ของ GDP เนื่องงจากในเดือนนี้รัฐบาลมีการเกินดุลงบประมาณเล็กน้อยโดยในงบประมาณปี 2008/09 คาดดการณ์ว่ายอดหนี้สาธารณะจะอยู่ที่ระดับ 581 พันล้าน ปอนด์ หรือเท่ากับร้อยละ 38.5 ของ GDP เมื่อสิ้นปีงบประมาณในเดือนมีนาคม 2009
ดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลการชำระเงิน
ดุลการค้าและบริการ: เดือนมีนาคมอังกฤษขาดดุล 4.0 พันล้านปอนด์
เดือนมีนาคมอังกฤษมียอดส่งออกสินค้าและบริการรวม 32.1 พันล้านปอนด์ แต่มีการนำเข้ารวม 36.1 พันล้านปปอนด์ ส่งผลให้มียอดขาดดุลการค้าและบริการรวม 4.0 พันล้านปอนด์ (ขาดดุลลดลงจากเดือนเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 5.2) โดยเป็นการขาดดุลการค้าสินค้าจำนวน 7.4 พันล้านปอนด์ แต่มีการเกินดุลการค้าบริการจำนวน 3.4 พันลล้านปอนด์ หากพิจารณาดุลการค้าและบริการสะสมในไตรมาสแรกของปีพบว่าอังกฤษมียอดขาดดุลการค้าและบริการรวม 13.4 พันล้านปอนด์ (เพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรกของปีทีแล้วร้อยละ 11.2) แยกเป็นนการขาดดุลการค้า 22.9 พันล้านปอนนด์ และเกินดุลบริการ 9.6 พันล้านปอนนด์
ทั้งนี้ในเดือนนี้อังกฤษมียอดขาดดุลการค้าสินค้ากับบประเทศในกกลุ่ม EU (27 ประเทศ) จำนวนน 3.7 พันล้านนปอนด์ เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 4.2 และขาดดุล กับประเทศนอกกลุ่ม EU จำนนวน 3.8 พันล้านปอนด์ ใกล้เคียงกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว
สำหรับการค้ากับประเทศไทยในเดือนมีนาคม อังกฤษมียอดส่งออกสินค้าไปยังประเทศไทยจำนนวน 59 ล้านปปอนด์ แต่มีกการนำเข้า จำนนวน 180 ล้านนปอนด์ ทำให้ขาดดุลการค้ากับประเทศไทยเป็นจำนวน 121 ล้านปอนด์ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 11.0 ส่งผลให้ยอดขาดดุลการค้าสะสมกับประเททศไทย ในช่วง 3 เดือนแรกของปีมีจำนวนรวม 361 ล้านปอนด์ หรือขาดดุลการค้ากับประเทศไทยเฉลี่ยเดือนละ 120 ล้านปอนด์
ประเด็นข่าวสำคัญ ๆในรอบเดือนที่ผ่านมา
- ตลาดการเงินเริ่มตั้งคำถามถึงความน่าเชื่อถือของอัตราดอกเบี้ย Libor ที่ถูกกำหนดโดย British Bankers Association (BBA) หลังจากที่อัตราดอกเบี้ย Libor ในสกุลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นดอลลาร์ สรอ. ยูโร และสเตอริง ยังคงอยู่ในอัตราที่สูงเหนืออัตราดอกเบี้ยนโยบายถึง70 basis points ในขณะนี้เทียบกับที่เคยอยู่ในระดับเพียง 10 basis points ในภาวะปกติ ขณะที่อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น ๆ ไม่มีส่วนต่างที่สูงเช่นนี้ซึ่งปัญหามาจากการที่สถาบันการเงินในลอนดอนและอยู่ในสูตรการคำนวณของ BBA ต่างก็ต้องการถือครองสภาพคล่องไว้รองรับการให้สินเชื่อ ที่ผูกพันไว้ล่วงหน้าก่อนวิกฤต จึงส่งผลกระทบต่อตลาดการให้กู้ยืมระหว่างธนาคาร (interbank) จนทำให้อัตรา Libor สูงเกินปกติและกลายเป็นต้นทุนโดยรวมของระบบเศรษฐกิจ เนื่องจาก Libor ถือเป็นอัตราอ้างอิงที่สำคัญ (23 พฤษภาคม 2008)
- Alistair Darling อาจทบทวนการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมจากน้ำมัน (Hydrocarbon Oil Duties) ที่จัดเก็บจากผู้ประกอบการเพิ่มอีกในอัตรา 2 เพนซ์ต่อลิตรจากอัตราปัจจุบันโดยจะมีผลใช้บังคับในวันที่ 1 ตุลาคมนี้ หลังจากที่บรรดาผู้ประกอบการรถบรรทุกออกมาประท้วงด้วยการขับรถเข้ากรุงลอนดอนเนื่องจากเห็นว่าเป็นการซ้ำเติมปัญหาจากการที่ราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้นในขณะนี้ รวมถึงอัตราภาษีน้ำมันของอังกฤษในขณะนี้สูงกว่าประเทศในยูโรมากอยู่แล้ว (27 พฤษภาคม 2008)
- BBA ประกาศจะไม่เปลี่ยนแปลงรายชื่อสถาบันการเงินที่อยู่ในสูตรคำนวณเนื่องจากการคัดเลือกสถาบันการเงินแต่ละแห่งอยู่ภายใต้การตัดสินใจของ BBA's FX and Money Markets Advisory Panel ซึ่งมีเกณฑ์การคัดเลือกโดยพิจารณาจากขนาดของธุรกรรมทางการเงินที่มีในตลาดลอนดอนเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความเชี่ยวชาญในสกุลเงินนั้นๆ ความมีชื่อเสียง รวมถึงระดับความน่าเชื่อถือทางด้านเครดิตของสถาบันการเงินนั้น ๆ ซึ่ง BBA ไม่อยู่ในสถานะที่ให้ความเห็น ได้ แต่ปกติแล้ว BBA จะมีการทบทวน Advisory Panel ปีละครั้งอยู่แล้ว (30 พฤษภาคม 2008) สำนักงานที่ปรึกษาเศรษฐกิจและการคลัง ประจำสหราชอาณาจักรและยุโรป
ที่มา : Macroeconomic Analysis Group : Fiscal Policy Office
Tel 02-273-9020 Ext 3665 : www.fpo.go.th

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ