ภาพรวมเศรษฐกิจ ( มิถุนายน 2551 )
ดัชนีผลผลิตภาคออุตสาหกรรม : เดือนเมษายนปรับบดีขึ้นเล็กน้ออยที่ระดับ 114.5 ขณะที่คความเชื่อมั่นนทางธุรกิจทรงตัว
ดัชนีชี้วัดผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production Indexx: IPI) ที่ปรับตามฤดูกาลแล้วประจำเดือนเมษายนของกลุ่ม EU15 ปรับดีขึ้นเล็กน้อยจากเดือนที่แล้วมาอยู่ที่ระดับ 114.5 จุด เพิ่มขึ้น 1.0 จุดจากเดือนที่แล้ว แต่เพิ่มขึ้น 4.3 จุดจากเดือนเมษายนของปีที่แล้ว สะท้อนถึงภาวะการผลิตในภาคอุตสาหกรรมของกลุ่มประเทศศยูโรยังคง
ขยายตัวได้ดีต่อแนื่อง แม้แนววโน้มเศรษฐกกิจของพื้นที่ยูโรจะเริ่มมีสัญญาณของการชะลอตัวบ้างแล้วก็ตามโดยการผลิตสินคค้าทุน สินค้าขขั้นกลาง สินคค้าบริโภคชนิดดคงทน และสสินค้าบริโภคชนิดไม่คงทนนปรับตัวดีขึ้นจจากเดือนที่แลล้วระหว่างร้ออยะล 0.2-2.00 ขณะที่การผลิตตในสาขาพลังงงานเป็นเพียยงอุตสาหกรรรมเดียวที่มีการขขยายตัวลดลลงจากเดือนกก่อนหน้าร้อยละ 1.4
ขณะที่ดัชนีชี้วัดทางด้านอุปปสงค์ของกลุ่มม EU15 ในเดือนพฤษภาคมทรงตัวจากเดือนก่อนหน้าหลังจากที่อ่อนตัวลงต่อเนนื่องในช่วง 11 เดือนที่ผ่านมา สะท้อนนถึงผลกระทบบจากปัญหาใในภาคการเงินและการชชะลอตัวของสสินเชื่อที่มีต่ออความเชื่อมั่นนในแนวโน้มภภาวะเศรษฐกกิจ โดยดัชนีผผลสำรวจความเชื่อมั่นทางงธุรกิจ (Econnomic Sentimment Index: ESI) ประจำเดือนพฤษภภาคมอยู่ที่ระดดับ 97.1 จุดเท่ากกับเดือนที่แลล้ว นับเป็นเดือนที่สามติดต่อกันที่ดัชนนีอยู่ในระดับตต่ำกว่า 100 จุจุด หลังจากทที่ดัชนีขึ้นไปสูงสสุดที่ระดับ 111.6 จุดเมื่อเดดือนพฤษภาคมปีที่แล้ว
อัตราแงินเฟ้อ : เดือนพฤษภาคมเร่งตัวขขึ้นอีกครั้งถึงร้อยละ 3.7 สูงสุดในรรอบ 16 ปี
ดัชนีราคาผู้บรริโภค (Harmoonised Indexx of Consummer Prices: HICP) ของพพื้นที่ยุโรป (Eurro Area: 15 ประเทศ) ปรระจำเดือนพฤฤษภาคมเร่งตตัวขึ้นอีกครั้งสู่ระดับร้อยลละ 3.7 หลังจากชะลอลงชั่วคราวเหลือร้อยละ 3.3 ในเดือนที่แล้ว ถือเป็นอัตราเงินเฟ้อที่สูงที่สุดในรอบ 16 ปีและนับเป็นเดือนที่เจ็ดติดต่อกันที่อัตราเงินเฟ้ออยู่เหนือระดับร้อยละ 3.0 โดยปัจจัยที่ทำให้อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีที่แล้วยังคงมีสาเหตุหลักมาจากการที่ราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ที่มีการปรับตัวสูงขึ้น โดยหมวดที่มีราคาปรับบตัวสูงขึ้นมากในเดือนนี้มาจากหมวดอาหาร (6.4%) หมวดคมนาคม (5.9%) และหมวดที่อยู่อาศัย (5.7%) ที่ยังคงขยายตัวสูงเนื่องจากเดือนก่อนขณะที่หมวดที่มีระดับราคาเพิ่มขึ้นต่ำเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ได้แก่ หมวดสื่อสาร (-1.7%) หมวดสันธนาการและบันเทิง (0.1%) และเครื่องนุ่งห่ม (0.7%)
ประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ Slovenia Belgium Grece Luxembourg และ Spain ที่มีอัตราเงินเฟ้อร้อยละ 6.2, 5.1, 4.9, 4.8 และ 4.7 ตามลำดับ ขณะที่ประเทศ Nethherlands Portugal และ Germany มีอัตราเงินเฟ้อต่ำสุดร้อยละ 2.1, 2.8 แลละ 3.1 ตามลำดับ
สำหรับดัชนีราคาผู้บริโภคของประเทศยยูโร 27 ประเททศ (EU 27) ก็เร่งตัวขึ้นเป็นร้อยละ 3.9 จากร้อยละ 3.6 ในเดือนที่แล้ว โดยประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อสูงสุดในกลุ่มยูโร ได้แก่ Latvia Bulgaria และ Lithuania ที่มีอัตราเงินเฟ้อสูงถึงร้อยละ 17.7, 14.0 แลละ 12.3 ตามลำดับ
อัตราการว่างงาน : เดือนพฤษภาคมทรงตัวที่ร้อยละ 7.2 เป็นเดือนที่หก
ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม Euro area 15 ประเทศมียอดผู้ว่างงานที่ปรับตามฤดูกาลแล้วรวมกันทั้งสิ้น 11.199 ล้านคน คิดเป็นอัตราการว่างงานร้อยละ 7.2 ของจำนวนแรงงานทั้งหมด นับเป็นเดือนทที่ 6 ติดต่อกันที่อัตราการว่างงานอยู่ในระดับดังกล่าว และถือเป็นอัตราการว่างงานต่ำที่สุดนับจากมีการจัดเก็บข้อมูลของพื้นที่ยุโรป โดยยอดผู้ว่างงานในเดือนนี้เพิ่มขึ้น 6.7 หมื่นคนจากเดือนที่แล้ว แต่ลดลง9.0 แสนคนเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ทั้งนี้ ในเดือนพฤษภาคมของปีที่แล้วมีผู้ว่างงานทั้งสิ้น 11.425 ล้านคน หรือคิดเป็นอัตราการว่างงานร้อยละ 7.5
ขณะที่ยอดผู้ว่างงานของ EU 27 ประเทศ ณ เดือนพฤษภาคม มีจำนวนทั้งสิ้น 16.171 ล้านคน คิดเป็นอัตราการว่างงานร้อยละ 6.8 เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้วที่อยู่ที่ระดับร้อยละ 6.7
อัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน
อัตราดอกเบี้ย : ECB คงอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.0 เป็นเดือนที่ 12
เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน คณะกรรมการธนาคารกลางสหภาพยุโรป มีมติคงอัตราดอกเบี้ย Refinancing Operations (MRO) ซึ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบายขออง ECB ไว้ทที่ร้อยละ 4.0 ตามเดิมนับแป็นเดือนที่ 13 ติดต่อกันที่ ECB คงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับดังกล่าว โดย ECB ได้ให้เหตุผลถึงการตัดสินใจคงอัตราดอกเบี้ยว่าความเสี่ยงจากต่อเงินเฟ้อใในระยะปานกกลางมีเพิ่มขึ้นอีกโดยอัตราเงินเฟ้อนับจากฤดูใบไม้ร่วงเป็นต้นมาได้เพิ่มขึ้นมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงานและอาหารโดยล่าสุดเดือนพฤษภาคมอัตราเงินเฟ้อเร่งตตัวขึ้นไปถึงร้ออยละ 3.6 ทำให้คาดการณ์ว่าอัตราเงินนเฟ้อจะอยู่ในนระดับสูงต่อไปยาวนานกวว่าที่คาดไว้เดิมซึ่งการคาดการณ์ดังกล่าวยืนยันได้จากการที่ปริมาณเงินและสินเชื่อในระบบยังมีการขยายตัวในรระดับสูง ประกอบกับสถาบันการเงินยังไม่ชะลอสินเชื่อลงอย่างมีนัยสสำคัญ ขณะที่เศรษฐกิจของยุโรปในไตรมาสแรกขยายตัวร้อยละ 0.8 สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่ไตรมาสสองน่าจะชะลอลง แต่เนื่อองจากเป้าหมายหลักของ ECB คือการรักษาเสถียรภาพด้านราคาในระยะปานกลาง ดังนั้น ECB จึงตัดสินใจคงอัตราดอกเบี้ยไว้ตามเดิมเพื่อป้องกันมิให้แรงกดดันจากเงินเฟ้อนำไปสู่การเพิ่มของอัตราเงินเฟ้อในระยะปานกลางและระยะยาวต่อไป โดยการประชุมครั้งต่อไปจะมีขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม
ทั้งนี้ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม สภาพคล่องในระบบเศรษฐกิจของ Euro Area ยังคงอยู่ในระดับค่อนข้างสูงง โดยยอดคงค้างของปริมมาณเงินตามความหมายกว้างง หรือ M3 อยู่ที่ระดับ 9.022 ล้านล้านนยูโร ขยายตัวัวร้อยละ 10.44 จากปีที่แล้ว้ว (ลดลงจากเดือนเมษายนที่ขยายตัวรร้อยละ 10.6)) ขณะที่ยอดคงค้างสินเชื่ออที่สถาบันการเงิน (MFI) ให้กู้กับภาคคเอกชน (loan to private sector) มียออดคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคมอยู่ทที่ระดับ 10.588 ล้านล้านยูโร ขขยายตัวจากปีปีที่แล้วร้อยลละ 10.4 (ลดลงจากเดือนเมษายนที่ขยายตัวร้อยละ 10.6)
สำหรับค่าเฉลี่ยยของอัตราดอกเบี้ยในตลาดเงิน (Monney market interest rates) ในเดือนมิถุนนายนปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเกือบทุกอายยุ ยกเว้นอัตรราดอกเบี้ยเงินนให้กู้ยืมระหว่างธนาคารประเภทข้ามคืน (overnight) หรือ Eonia ที่อยู่ในระดับใกล้เคียงกับับเดือนก่อน โดยขณะที่อัตตราดอกกเบี้ยเงินให้กู้ยืมระหว่างธนาคารที่มีอายุตั้งแต่ 1 เดือนนถึง 1 ปีเพิ่มมขึ้นจากเดือนนที่แล้วระหว่าง 8-37 basis points ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันนธบัตรระยะยาว 5 และ 10 ปี ปรับเพพิ่มขึ้นระหว่าง 39-55 basis points ตามลำดับ
อัตราแลกเปลี่ยน : ยูโรอ่อนค่าเล็กน้อยเมื่อเทียบกับดอลลาร์ สรอ.และ ปอนด์ แต่แข็งค่ากับเยน
ค่าเงินยูโรเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. ในเดือนมิถุนายนมีการเคลื่อนไหวทที่ค่อนข้างผันผวน โดยในสัปดาห์แรกเงินยูโรอ่อนค่าเมื่อเทียบกับดออลลาร์ สรอ. ต่อเนื่องจากปลายเดือนที่แล้ว อย่างไรก็ดีเมื่อมีการประกาศตัวเลขอัตราการว่างงานของสหรัฐฯ ออกมาแย่กว่าที่คาดรวมถึงการที่นาย Jean-Claude Trichet ผู้ว่าการธนาคารกลาง ECB ออกมาส่งสัญญาณว่าอัตราดอกเบี้ย ECB อาจปรับเพิ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคมหลังจากยอมรับว่าคณะกรรมการเสียงแตกเนื่องจากบางส่วนต้องการให้ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยทันทีทำให้เงินยูโรกลับแข็งค่าขึ้นทันทีโดยมีระดับปิดสูงสุดของเดือนที่ระดับ 1.5784 ดอลลาร์/ยูโร จากนั้นในช่วงสัปดาห์ที่สอง เงินยูโรกลับอ่อนค่าลงอีกครั้งเมื่อธนาคารกลางสหรัฐฯ ส่งสัญญาณว่าต้องการเห็นค่าเงินดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อจากราคาสินค้านำเข้าทำให้ตลาดคาดการณ์ว่ามีโอกาสที่อัตราดอกเบี้ยของสหรัฐฯ จะเป็นขาขึ้นมากกว่าที่จะเป็นขาลง รวมถึงการที่ดัชนี Purchasing Managers' index ประจำเดือนมิถุนายนของเยอรมันลดลงต่ำกว่า 50 จุด เป็นครั้งแรกนับจากเดือนกรกฎาคม 20033 ส่งผลให้ค่าเงินยูโรอ่อนตัวลงเนื่องจากบั่นทอนโอกาสที่จะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยของ ECB โดยเงินยูโรอ่อนตัวลงจนมีระดับปิดต่ำสุดของเดือนที่ระดับ 1.5336 ดอลลาร์/ยูโร แต่ในช่วงหลังของเดือนเงินยูโรกลับแข็งค่าขึ้นอีกครั้งโดยกลับขึ้นไปปอยู่เหนือระดับ 1.57 ดอลลาร์/ยูโร อีกครั้งในช่วงปลายเดือนเมื่อธนาคารกลางสหรัฐฯ ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ร้อยละ 2.0 เท่าเดิม ประกอบกับการที่ราคาน้ำมันดิบทำสถถิติใหม่สูงสุดที่ระดับ 142 ดอลลาร์ สรอ.ต่อบาร์เรล จึงเป็นปัจจัยกระตุ้นให้มีการเทขายเงินดอลลาร์ สรอ. โดยเงินยูโรปิดตลาดวันสุดท้ายของเดือนที่ระดับ 1.5764 ดอลลาร์/ยูโร ส่งผลให้โดยรวมแล้วค่าเฉลี่ยของอัตราแลกเปลี่ยนเงินยูโรในเดือนนี้ใกล้เคียงจากเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดีค่าเฉลี่ยเงินยูโรยังแข็งค่าเมื่อเทียบกับดอลลาร์ สรอ. ถึงร้อยละ 15.9 ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
เงินยูโรเมื่อเทียบกับเงินปอนด์ในเดือนนี้เคลื่อนไหวในช่วงแคบๆ ระหว่าง 0.785 - 0.795 ปอนด์/ยูโร โดยเงินยูโรในสัปดาห์แรกแรกแข็งค่าขึ้นจากระดับปิดของเดือนที่แล้วโดยมีระดับปิดสูงสุดของเดือนที่ระดับ 0.7974 ปอนด์/ยูโร ซึ่งเป็นผลจากการที่ ECB ส่งสัญญาณว่าจะขึ้นอัตราดอกเบี้ยในเดือนหน้า จากนั้นเงินยูโรก็กลับอ่อนตัวลงโดยลำดับโดยมีระดับปิดที่ต่ำที่สุดของเดือนที่ระดับบ 0.7863 ปอนด์/ยูโร โดยมีเหตุผลมาจากการที่ระดับอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษปรับสูงขึ้นสู่ระดับร้อยละ 3.3 ทำให้ตลาดมองว่ามีโอกาสที่อัตราดอกเบี้ยของอังกฤษอาจจะปรับขึ้นเช่นกัน ประกอบกับผลประชามติของชาวไอร์แลนด์ที่มีต่อ Lisbon treaty ก็มีส่วนต่อการกดดันค่าเงินยูโรด้วยเช่นกัน โดยในช่วงท้ายของเดือนเงินยูโรเคลื่อนไหวใกล้เคียงระดับ 0.790 ปอนด์ /ยูโร และปิดตลาดวันสุดท้ายขของเดือนที่ระดับ 0.79225 ปอนด์/ยูโร ส่งผลให้ค่าเฉลี่ยของอัตราแลกเปลี่ยนเงินยูโรในเดือนใกล้เคียงกับเดือนที่แล้วโดยอ่อนค่าลงเล็กน้อยจากเดือนที่แล้วเพียงร้อยละ 0.1 แต่ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาเงินยูโรยังคงแข็งค่าเมื่อเทียบกับเงินปอนด์อยู่ถึงร้อยละ 17.2
เงินยูโรเมื่อเทียบกับเงินเยนในเดือนนี้เริ่มแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง โดยเงินยูโรปิดตลาดวันแรกของเดือนที่ระดับบ 162.64 เยน/ยูโร และอ่อนตัวลงสู่ระดับปิดดต่ำสุดของเดือนที่ระดับ 161.82 เยน/ยูโร ในช่วงกลางสัปดาห์แรก แต่หหลังจากนั้นเงงินยูโรก็เริ่มแข็งค่าขึ้นโดยยลำดับและมีรระดับปิดสูงสสุดของเดือนทที่ระดับ 169.23 เยน/ยูโร ก่อนนที่จะชะลอลงและปิดตลาดวันสุดท้ายของเดือนที่ระดับ 166.44 เยน/ยูโร ส่งผลให้ค่าเฉลี่ยของเงินยูโรในเดือนนี้แข็งค่าขึ้นจากเดือนที่แล้วร้อยละ 2.4 อย่างไรก็ดีในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาเงินยูโรแข็งค่าเล็กน้อยเมื่อเทียบกับเงินเยนร้อยละ 1.0
ขณะที่เงินยูโรเมื่อเทียบกับเงินบาทในเดือนนี้แข็งค่าขึ้นเร็วต่อเนื่องจากเดือนก่อน โดยเงินยูโรปิดตลาดวันแรกของเดือนที่ระดับ 50.583 บาท/ยูโร ต่อเนื่องจากปลายเดือนที่แล้ว จากนั้นเงินยูโรแข็งค่าขึ้นจากระดับ 50 บาท/ยูโร ขึ้นไปแตะระดับ 51 บาท/ยูโร และ 52 บาท/ยูโร ตามลำดับ โดยสาเหตุหลักมาจากการอ่อนค่าลงของเงินบาทเนื่องจากยังคงมีเงินทุนไหลออกจากประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ขณะที่อัตราดอกเบี้ยของ ECB มีแนวโน้มที่จะปรับเพิ่มขึ้น โดยเงินยูโรขึ้นมาปิดสูงสุดของเดือนที่ระดับ 52.819 บาท/ยูโร ในช่วงปลายเดือน และปิดตลาดวันสุดท้ายของเดือนที่ระดับ 52.738 บาท/ยูโร ส่งผลให้ค่าเฉลี่ยของอัตราแลกเปลี่ยนเงินยูโรเมื่อเทียบกับเงินบาทในเดือนนี้แข็งค่าขึ้นถึงร้อยละ 3.4 นับเป็นเดือนที่หกติดต่อกัน ทั้งนี้ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาเงินยูโรแข็งค่าเมื่อเทียบกับเงินบาททร้อยละ 18.8
ดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลการชำระเงิน
เดือนเมษายน: Euro Area ขาดดุลบัญชชีเดินสะพัดเล็กน้อย
ณ สิ้นเดือนเมษายน Euro area มีฐานะดุลบัญชีเดินสะพัดที่ปรับตามฤดูกาลแล้ว (seasonally adjusted current account balance) ขาดดุลเพียง 0.3 พันล้านยูโร (หรือเท่ากับขาดดุล 9.2 พันล้านยูโร กรณีเป็นข้อมูลทที่ยังไม่ได้ปรับตามฤดูกกาล) โดย Euro area มีการเกินดุลการค้า (goods trade) และดุลบริการร (services) เป็น จำนวน 5.9 และ 3.3 พันล้านยูโร ขณะที่มีการขาดดุลรายได้ (income) และดุลเงินโอน (currrent transfer) จำนวนน 2.1 และ 7.4 พันล้านยูโรตามลำดับ
อย่างไรก็ดี หากพิจารณาฐานะดุลบัญชชีเดินสะพัดสะสมในรอบ 12 เดือนสิ้นสุดเดือนเมษายน พบว่า Euro area มีฐานะเกินดุลบัญชีเดินสะพัดสะสมค่อนข้างสมดุลโดยเกินดุลเพียง 0.1 พันล้านยูโร เทียบกับเดือนเมษายนของปีที่แล้วที่มีฐานะดุลบัญชีเดินสะพัดสะสมเกินดุลจำนนวน 10.3 พันล้านยูโร ซึ่งการที่ยอดดุลบัญชีเดินสะพัดสะสมกลับมาสมดุลแม้ว่าจะมีการเกินดุลการค้าและบริการสะสมสูงขึ้นเป็นจำนวน 43.2 และ 51.8 พันล้านยูโร ตามลำดับ แต่เนื่องจากมีการขาดดุลดุลรายได้และดุลเงินโอนเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว จึงส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดสะสมมีฐานะสมดุลดังกล่าว
ทางด้านดุลบัญญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย (financial account) ที่ยังไม่ปรับตามฤดูกกาล (non-seasonal adjusted) ประจำเดือนเมษายน พบว่า Euro area มีฐานนะบัญชีเงินทุนไหลเข้าสุทธิ 21.4 พันล้านยูโร (เทียบกับเดือนที่แล้วที่มีฐานะเงินทุนไหลเข้าสุทธิถึง 11.6 พันล้านยูโร) แยกเป็น 1) เงินลงทุนทางตรง (ddirect investmment) มียอดไหลออกสุทธิ 24.2 พันล้านยูโร 2) เงินลงทุนในหลักทรัพย์ (portfolio investment) มียอดไหลเข้าสุทธิ 0.5 พันล้านยูโร 3) อนุพันธ์ทางการเงิน มีฐานะไหลออกสุทธิ 17.2 พันล้านยูโร และ 4) เงินนลงทุนประเภทอื่น (otherr investment) มีฐานะไหลลเข้าสุทธิถึง 62.7 พันล้านยูโร เนื่องจากในเดือนนี้สถาบันการเงิน (MFIs) มีฐานะเป็นผู้กู้ยืมสุทธิถึง 66.6 พันล้านยูโร
ทั้งนี้ ในรอบ 12 เดือนสิ้นสุดเดือนเมษายน Euro area มีฐานะดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย (financial account) ไหลเข้าสุทธิ 57.0 พันล้านยูโร (เทียบกับช่วงแดียวกันของปีที่แล้วที่มีฐานะไหลเข้าสุทธิสูงถึง 121.3 พันล้านยูโร) ซึ่งการที่ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา Euro area มีฐานะดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้ายสะสมเกินดุลลดลงจากปีที่แล้วเนื่องจากในปีนี้แม้จะมีการขาดดุลเงินนลงทุนทางตรงเพิ่มขึ้น ขณะที่ยอดสะสมเงินลงทุนในหลักทรัพย์ (portfolio investment) ไหลเข้าสุทธิลดลงค่อนข้างมาก แต่เนื่องจากมีการเกินดุลเงินลงทุนประเภทอื่นมาชดเชยจึงทำให้ฐานะโดยรวมแล้วมียอดสะสมเงินทุนไหลเข้าลดลงดังกล่าว
ประเด็นข่าวสำคัญ ๆในรอบเดือนที่ผ่านมา
- IMF ปรับการคาดการณ์เศรษฐกิจในปี 2008 ของพื้นที่ยูโร 15 ประเทศ (Euro area) เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 1.75 จากเดิมที่เคยคาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวเพียงร้อยละ 1.4 เมื่อสองเดือนก่อนหน้า แต่ยังคงอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจปี 2009 ไว้เพียงร้อยละ 1.2 เท่าเดิม (3 มิถุนายน 2008)
- ECB ทบทวนตัวเลขคาดการณ์เศรษฐกิจในปี 2008 ของพื้นที่ยูโร 15 ประเทศ (Euro area) ว่าจะขยายตัวระหว่างร้อยละ 1.5 -2.1 (เพิ่มขึ้นจากที่เคยประมาณการไว้เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมาที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.3 - 2.1) สำหรับอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจปี 2009 ประมาณการใหม่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.0 - 2.0 (ลดลงจากที่เคยประมาณการไว้เมื่อเดือนมีนาคมที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.3 - 2.3) (5 มิถุนายน 2008)
- ชาวไอร์แลนด์ลงประชามติไม่รับ Lisbon treaty ด้วยคะแนนเสียง 53.4 ต่อ 47.6 ส่งผลกระทบต่อความพยายามในการปรับปรุงองค์กรและการเพิ่มอำนาจให้กับ EU เช่น การมีประธานถาวร การเพิ่มบทบาทด้านการต่างประเทศให้กับรัฐมนตรีว่าการด้านต่างประเทศของ EU การลดจำนวนกรรมการใน EU Commission ลงเหลือ 2 ใน 3 ของประเทศสมาชิก เป็นต้น (12 มิถุนายน)
- ประมาณการเบื้องต้นของอัตราเงินเฟ้อ (flash estimated inflation) ประจำเดือนมิถุนายนของ Euro area พุ่งแตะระดับร้อยละ 4.0 สูงสุดเป็นประวัติการณ์นับรวมเป็น Euro area เมื่อปี 1999 โดยสูงเป็น 2 เท่าของอัตราเงินเฟ้อเป้าหมาย (inflation target) ร้อยละ 2.0 ทำให้มีแนวโน้มสูงที่ ECB จะขึ้นอัตราดอกเบี้ยในการประชุมเดือนกรกฎาคมนี้ ขณะที่นาย Nicolas Sarkozy ประธานาธิบดี
ฝรั่งเศสได้ออกมาเตือน ECB ว่าให้คำนึงถึงอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจด้วยเนื่องจากปัญหาเงินเฟ้อในปัจจุบันไม่ใช่ปัญหาเชิงโครงสร้างเช่นเมื่อ 30 ปีที่แล้ว แต่เป็นปัญหาจากการเพิ่มของราคาน้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์ (30 มิถุนายน 2008)
ที่มา : Macroeconomic Analysis Group : Fiscal Policy Office
Tel 02-273-9020 Ext 3665 : www.fpo.go.th