รายงานภาวะเศรษฐกิจญี่ปุ่น ประจำสัปดาห์วันที่ 9 — 13 สิงหาคม 2553

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday August 25, 2010 11:23 —กระทรวงการคลัง

ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา มีความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจที่น่าสนใจ ดังนี้

1. เดือนมิถุนายน 2553 ยอดคาสั่งซื้อเครื่องจักรใหม่ของญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6

2. ประเทศญี่ปุ่นมียอดหนี้สาธารณะคงค้าง 904 ล้านล้านเยน

3. เงินเยนมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ

-----------------------------------

1. เดือนมิถุนายน 2553 ยอดคาสั่งซื้อเครื่องจักรใหม่ของญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6

Cabinet office รายงานว่าคาสั่งซื้อเครื่องจักรใหม่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 ในเดือนมิถุนายน 2553 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า โดยมีมูลค่ารวม 704 พันล้านเยน ทั้งนี้ คาสั่งซื้อเครื่องจักรในไตรมาสที่ 2 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบไตรมาส 1 แต่มีอัตราการเพิ่มขึ้นน้อยกว่าไตรมาสที่ 1 อยู่ที่ร้อยละ 2.9 และน้อยกว่าอัตราที่คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 1.6 ด้วย

2. ประเทศญี่ปุ่นมียอดหนี้สาธารณะคงค้าง 904 ล้านล้านเยน

กระทรวงการคลังได้เปิดเผยว่ายอดหนี้สาธารณะของประเทศญี่ปุ่น ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2553 มียอดคงค้างทั้งสิ้น 904.772 ล้านล้านเยน ซึ่งเป็นการมีหนี้สาธารณะมากกว่า 900 ล้านล้านเยนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ โดยคาดว่าจะมียอดหนี้เพิ่มขึ้นถึง 973 ล้านล้านเยนภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2554 และอาจจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 1,000 ล้านล้านเยนภายในปี 2554 ถึงแม้ว่าอัตราดอกเบี้ยระยะยาวของญี่ปุ่นอยู่ที่ระดับต่าอย่างมีเสถียรภาพ แต่รัฐบาลยังมีฐานะการคลังแย่ลงอีก ซึ่งจานวนหนี้สาธารณะที่เพิ่มในช่วง 3 เดือนเป็นจานวนสูงสุดนับตั้งแต่สิ้นเดือนมีนาคม 2548 ทั้งนี้ รายจ่ายของงบประมาณทั่วไปในปีงบประมาณ 2553 มียอดอยู่ที่ 92.3 ล้านล้านเยน ในขณะที่รายได้จากการเก็บภาษีมีจานวนเพียง 37.4 ล้านล้านเยน ส่วนที่ขาดดุลงบประมาณนั้น รัฐบาลจะทาการออกพันธบัตรจานวน 44.3 ล้านล้านเยนเพื่อชดเชย ทั้งนี้รัฐบาลจะพยายามทาการออกพันธบัตรไม่ให้เกิน 44 ล้านล้านเยนในปีงบประมาณ 2554 แต่การบริหารฐานะการคลังโดยออกพันธบัตรอย่างเดียวจะมีผลทาให้หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น

ณ เดือนกรกฎาคม 2553 ประเทศญี่ปุ่นมียอดหนี้สาธารณะคิดเป็น 1.9 เท่าของ Nominal GDP และมีภาระหนี้ต่อประชากรรายละ 7.1 ล้านเยน

3. เงินเยนมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ

เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2553 อัตราแลกเปลี่ยนเงินเยนต่อดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งตัวมากขึ้นที่สุดในรอบ 15 ปีอยู่ที่ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 84.84 เยน ซึ่งจากสถิติในอดีตพบว่าค่าเงินเยนมักจะมีการแข็งตัวขึ้นในเดือนสิงหาคมเมื่อเทียบกับเดือนอื่นๆ บ่อยครั้ง โดยเมื่อดูจากสถิติย้อนหลัง 30 ปีพบว่าค่าเงินเยนแข็งตัวขึ้นในเดือนสิงหาคมเป็นจานวน 19 ครั้ง ย้อนหลัง 20 ปีมีจานวน 15 ครั้ง และย้อนหลัง 10 ปีมีจานวน 8 ครั้ง ทาให้หลายฝ่ายจับตามองการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินเยนในเดือนสิงหาคมเป็นพิเศษ สาเหตุหนึ่งมาจากเดือนสิงหาคมเป็นเดือนที่มีพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ครบกาหนดไถ่ถอนเป็นจานวนมาก ดังนั้นเมื่อบริษัทหรือนักลงทุนได้รับเงินคืนซึ่งเป็นเงินดอลลาร์มาก็จะนามาซื้อเงินเยนเพื่อความสะดวกในการส่งกลับประเทศทาให้ความต้องการเงินเยนนั้นเพิ่มสูงขึ้นในเดือนสิงหาคม และบริษัทส่งออกก็มักจะนาเงินดอลลาร์ที่มีอยู่ซื้อเงินเยนในช่วงเดือนนี้เพื่อชาระหนี้ก่อนช่วงหยุดยาวของประเทศญี่ปุ่นในเดือนสิงหาคมและเป็นการเตรียมตัวปิดบัญชีกลางปีในเดือนกันยายนด้วย นอกจากนั้น ในอดีตเหตุการณ์ที่สร้างความวุ่นวายแก่ตลาดการเงินโลก ได้เกิดขึ้นในช่วงเดือนสิงหาคมหลายครั้งเช่น ในปี 2540 เกิดวิกฤติการเงินในเอเชีย และปี2541 เกิดวิกฤติการเงินในรัสเซียเป็นต้น ในปีนี้ถึงแม้ว่าจะไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงใดๆ ที่ส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินโดยตรง แต่ปัญหาความไม่มั่นคงทางการเงินของสหภาพยุโรป และเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ยังคงถดถอยลงต่อเนื่องทาให้ความมั่นคงในตลาดการเงินนั้นลดต่าลง ประกอบกับการที่ธนาคารกลางของสหรัฐฯ (Federal Reserve System: Fed) และ ธนาคารกลางญี่ปุ่น (Band of Japan : BOJ) ไม่ได้ได้มีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนออกมา ทาให้หลายฝ่ายคาดว่าหากมีปัจจัยเพียงเล็กน้อยก็จับตามองการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินเยนในเดือนสิงหาคมเป็นพิเศษ สาเหตุหนึ่งมาจากเดือนสิงหาคมเป็นเดือนที่มีพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ครบกาหนดไถ่ถอนเป็นจานวนมาก ดังนั้นเมื่อบริษัทหรือนักลงทุนได้รับเงินคืนซึ่งเป็นเงินดอลลาร์มาก็จะนามาซื้อเงินเยนเพื่อความสะดวกในการส่งกลับประเทศทาให้ความต้องการเงินเยนนั้นเพิ่มสูงขึ้นในเดือนสิงหาคม และบริษัทส่งออกก็มักจะนาเงินดอลลาร์ที่มีอยู่ซื้อเงินเยนในช่วงเดือนนี้เพื่อชาระหนี้ก่อนช่วงหยุดยาวของประเทศญี่ปุ่นในเดือนสิงหาคมและเป็นการเตรียมตัวปิดบัญชีกลางปีในเดือนกันยายนด้วย นอกจากนั้น ในอดีตเหตุการณ์ที่สร้างความวุ่นวายแก่ตลาดการเงินโลก ได้เกิดขึ้นในช่วงเดือนสิงหาคมหลายครั้งเช่น ในปี 2540 เกิดวิกฤติการเงินในเอเชีย และปี2541 เกิดวิกฤติการเงินในรัสเซียเป็นต้น ในปีนี้ถึงแม้ว่าจะไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงใดๆ ที่ส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินโดยตรง แต่ปัญหาความไม่มั่นคงทางการเงินของสหภาพยุโรป และเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ยังคงถดถอยลงต่อเนื่องทาให้ความมั่นคงในตลาดการเงินนั้นลดต่าลง ประกอบกับการที่ธนาคารกลางของสหรัฐฯ (Federal Reserve System: Fed) และ ธนาคารกลางญี่ปุ่น (Band of Japan : BOJ) ไม่ได้ได้มีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนออกมา ทาให้หลายฝ่ายคาดว่าหากมีปัจจัยเพียงเล็กน้อยก็

สำนักงานที่ปรึกษาเศรษฐกิจและการคลัง ณ กรุงโตเกียว

ที่มา: Macroeconomic Analysis Group: Fiscal Policy Office

Tel 02-273-9020 Ext 3665 : www.fpo.go.th


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ