ความเป็นมา
- ไทยเป็นเจ้าภาพประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ/การค้า BIMST-EC ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2004 ณ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งสมาชิก BIMST-EC 6 ประเทศ ได้แก่ ภูฏาน อินเดีย พม่า เนปาล ศรีลังกา และไทย ได้ลงนามในกรอบความร่วมมือ BIMST-EC เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2547
กรอบการเจรจร
-ครอบคลุมการค้าสินค้า บริการ การลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจอื่นๆ
ในด้านการค้าสินค้า ตกลง ดังนี้
Fast Track
ประเทศ ลดภาษีให้ประเทศกำลังพัฒนา ลดภาษีให้ประเทศพัฒนาน้อย
อินเดีย ศรีลังกา ไทย 1กค.2006-30มิย.2009 1กค.2006-30มิย.2007
ภูฐาน พม่า ปาล 1กค.2006-30มิย.2011 1กค.2006-30มิย.2009
Normal Track
ประเทศ ลดภาษีให้ประเทศกำลังพัฒนา ลดภาษีให้ประเทศพัฒนาน้อย
อินเดีย ศรีลังกา ไทย 1กค.2007-30มิย.2012 1กค.2007-30มิย.2010
ภูฐาน พม่า ปาล 1กค.2007-30มิย.2017 1กค.2007-30มิย.2015
กลไกการดำเนินการ
- จัดตั้งคณะเจรจา (Trade Negotiating Committee : TNC) เพื่อเจรจารายละเอียดความตกลง
แผนการเจรจา
- จะเริ่มเจรจาเดือนกรกฎาคม 2004 และคาดว่าจะเสร็จภายในปี 2005
การประชุมครั้งล่าสุดเมื่อ 8 กุมภาพันธํ์ 2004 _ลงนามกรอบ FTA สรุปสาระสำคัญ คือ
1) การค้าสินค้า เจรจาลด/ยกเว้นภาษีศุลกากรสินค้าระหว่างสมาชิก โดยแบ่งเป็น Fast Track และ Normal Track
2) การค้าบริการ ครอบคลุมสาขาที่สำคัญ โดยให้ใช้ positive list approach และมีให้การปฏิบัติเป็นพิเศษและแตกต่าง และความยืดหยุ่นแก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด
3) การลงทุน ส่งเสริมการลงทุนด้านต่างๆ และให้มีการเจรจาเพื่อเปิดเสรีในนโยบายการลงทุน โดยให้ใช้ positive list approach
4) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอื่นๆ ให้มีความร่วมมือสาขาความร่วมมือของ BIMST-EC ให้มีความก้าวหน้ามากขึ้น ให้มีการอำนวยความสะดวกในด้าน MRAs ความร่วมมือด้านศุลกากร เป็นต้น
การประชุมครั้งต่อไป
- คาดว่าจะมีการประชุมเพื่อเริ่มการเจรจาความตกลงในเดือนกรกฎาคม 2004
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-
- ไทยเป็นเจ้าภาพประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ/การค้า BIMST-EC ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2004 ณ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งสมาชิก BIMST-EC 6 ประเทศ ได้แก่ ภูฏาน อินเดีย พม่า เนปาล ศรีลังกา และไทย ได้ลงนามในกรอบความร่วมมือ BIMST-EC เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2547
กรอบการเจรจร
-ครอบคลุมการค้าสินค้า บริการ การลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจอื่นๆ
ในด้านการค้าสินค้า ตกลง ดังนี้
Fast Track
ประเทศ ลดภาษีให้ประเทศกำลังพัฒนา ลดภาษีให้ประเทศพัฒนาน้อย
อินเดีย ศรีลังกา ไทย 1กค.2006-30มิย.2009 1กค.2006-30มิย.2007
ภูฐาน พม่า ปาล 1กค.2006-30มิย.2011 1กค.2006-30มิย.2009
Normal Track
ประเทศ ลดภาษีให้ประเทศกำลังพัฒนา ลดภาษีให้ประเทศพัฒนาน้อย
อินเดีย ศรีลังกา ไทย 1กค.2007-30มิย.2012 1กค.2007-30มิย.2010
ภูฐาน พม่า ปาล 1กค.2007-30มิย.2017 1กค.2007-30มิย.2015
กลไกการดำเนินการ
- จัดตั้งคณะเจรจา (Trade Negotiating Committee : TNC) เพื่อเจรจารายละเอียดความตกลง
แผนการเจรจา
- จะเริ่มเจรจาเดือนกรกฎาคม 2004 และคาดว่าจะเสร็จภายในปี 2005
การประชุมครั้งล่าสุดเมื่อ 8 กุมภาพันธํ์ 2004 _ลงนามกรอบ FTA สรุปสาระสำคัญ คือ
1) การค้าสินค้า เจรจาลด/ยกเว้นภาษีศุลกากรสินค้าระหว่างสมาชิก โดยแบ่งเป็น Fast Track และ Normal Track
2) การค้าบริการ ครอบคลุมสาขาที่สำคัญ โดยให้ใช้ positive list approach และมีให้การปฏิบัติเป็นพิเศษและแตกต่าง และความยืดหยุ่นแก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด
3) การลงทุน ส่งเสริมการลงทุนด้านต่างๆ และให้มีการเจรจาเพื่อเปิดเสรีในนโยบายการลงทุน โดยให้ใช้ positive list approach
4) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอื่นๆ ให้มีความร่วมมือสาขาความร่วมมือของ BIMST-EC ให้มีความก้าวหน้ามากขึ้น ให้มีการอำนวยความสะดวกในด้าน MRAs ความร่วมมือด้านศุลกากร เป็นต้น
การประชุมครั้งต่อไป
- คาดว่าจะมีการประชุมเพื่อเริ่มการเจรจาความตกลงในเดือนกรกฎาคม 2004
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-