ผลกระทบทางด้านสังคม
ภาคเหนือ
ผลทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคเหนือพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 85.6 มีความเห็นว่าโครงการกองทุนหมู่บ้านมีส่วนช่วยทำให้ชุมชนเข้มแข็ง มีความสามารถในการพึ่งตนเอง มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ เพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชน ให้ชุมชนมีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส นอกจากนี้กองทุนหมู่บ้านยังมีประโยชน์ในการเพิ่มสุขอนามัยแก่คนในชุมชนถึงร้อยละ 65.0 และลดปัญหายาเสพติดถึงร้อยละ 81.3
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคเหนือ
หน่วย : ร้อยละ
รายการ ดีขึ้น แย่ลง ไม่เปลี่ยนแปลง รวม
1. ชุมชนเข้มแข็ง 95.3 - 4.7 100.0
2. ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 93.8 - 6.3 100.0
3. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 85.9 - 14.1 100.0
4. การมีส่วนร่วมของชุมชน 89.1 - 10.9 100.0
5. มีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 89.1 - 10.9 100.0
6. สุขภาพอนามัย 65.0 4.8 30.2 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 81.3 9.3 9.4 100.0
รวม 599.5 14.1 86.5 700.0
เฉลี่ย 85.6 2.0 12.4 100.0
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 69.8 เห็นว่าโครงการนี้มีส่วนช่วยทำให้ชุมชนเข้มแข็ง มีความสามารถในการพึ่งตนเอง และการมีส่วนร่วมของชุมชนเพิ่มขึ้น
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
หน่วย:ร้อยละ
รายการ ดีขึ้น แย่ลง ไม่เปลี่ยนแปลง รวม
1. ชุมชนเข้มแข็ง 78.4 2.5 19.1 100.0
2. ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 84.7 - 15.3 100.0
3. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 57.5 - 42.5 100.0
4. การมีส่วนร่วมของชุมชน 78.6 1.0 20.4 100.0
5. มีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 64.8 8.5 26.7 100.0
6. สุขภาพอนามัย 59.0 5.4 35.6 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 66.0 4.0 30.0 100.0
รวม 489.0 21.4 189.6 700.0
เฉลี่ย 69.8 3.1 27.1 100.0
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
ภาคกลาง
การสำรวจผลกระทบทางด้านสังคม ผู้สำรวจได้แบ่งเกณฑ์ออกเป็น 3 ระดับ คือ ดีขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง และแย่ลง เพื่อพิจารณาถึงด้านความเข้มแข็งของชุมชน ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ การมีส่วนร่วมของชุมชน ความสามัคคีเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส สุขภาพอนามัย และปัญหายาเสพติด หลังจากที่เข้าร่วมโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ซึ่งผลการสำรวจพบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 74.3 เห็นว่าโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวมในทางที่ดีขึ้น ขณะที่ร้อยละ 23.1 ของกลุ่มตัวอย่างเห็นว่าโครงการฯ ไม่ได้ส่งผลกระทบโดยรวมต่อสังคม และมีเพียงร้อยละ 2.6 เห็นว่าทำให้สังคมโดยรวมแย่ลง ซึ่งสามารถสรุปตารางได้ดังนี้
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองภาคกลาง
หน่วย:ร้อยละ
ผลกระทบทางด้านสังคม ดีขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง แย่ลง รวม
1. ชุมชนเข้มแข็ง 94.0 6.0 - 100.0
2. ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของหมู่บ้านและชุมชนเมือง 91.0 9.0 - 100.0
3. ความรู้ทักษะในการประกอบอาชีพ 62.0 38.0 - 100.0
4. การมีส่วนรวมของชุมชน 84.0 16.0 - 100.0
5. ความสามัคคีเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 66.0 34.0 - 100.0
6. สุขภาพอนามัย 69.0 22.0 9.0 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 54.0 37.0 9.0 100.0
รวม 520.0 162.0 18.0 700.0
เฉลี่ย 74.3 23.1 2.6 100.00
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
ภาคตะวันออก
จากการศึกษาผลกระทบทางสังคมหลังจากการเข้าร่วมโครงการกองทุนหมู่บ้านแล้ว พบว่า ร้อยละ 82.1เห็นว่ามีโครงการแล้วทำให้สังคมดีขึ้น โดยทำให้ชุมชนเข้มแข็งขึ้น มีความสามารถในการพึ่งพาตนเอง และความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาสมากขึ้น และมีสุขภาพดีขึ้น โดยเฉพาะผู้ร่วมโครงการฯ ทั้งหมดได้มีโอกาสในการเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน และร้อยละ 62.5 เห็นว่าทำให้ปัญหายาเสพติดดีขึ้น ในขณะที่ร้อยละ 15.2 เห็นว่าหลังจากมีโครงการฯ สังคมไม่เปลี่ยนแปลง
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านของภาคตะวันออก
หน่วย : ร้อยละ
รายการ ดีขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง แย่ลง รวม
1.ชุมชนเข้มแข็ง 81.3 18.8 - 100.0
2.ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 93.8 6.3 - 100.0
3.มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 68.8 31.3 - 100.0
4.การมีส่วนร่วมของชุมชน 100.0 - - 100.0
5.มีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 87.5 6.3 6.3 100.0
6. สุขภาพอนามัย 81.3 18.8 - 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 62.5 25.0 12.5 100.0
รวม 575.2 106.5 18.8 700.0
เฉลี่ย 82.1 15.2 2.7 100.0
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
ภาคใต้
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองภาคใต้ ครัวเรือนร้อยละ 75.7 มีความเห็นโดยรวมว่าสังคมดีขึ้นกว่าเดิมเมื่อเข้าร่วมโครงการกองทุนหมู่บ้าน รายละเอียดทั้งหมดแสดงโดยตารางต่อไปนี้
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคใต้
หน่วย : ร้อยละ
รายการ ดีขึ้น แย่ลง ไม่เปลี่ยนแปลง รวม
1. ชุมชนเข้มแข็ง 91.0 - 9.0 100.0
2. ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 86.0 - 14.0 100.0
3. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 69.0 - 31.0 100.0
4. การมีส่วนร่วมของชุมชน 77.0 - 23.0 100.0
5. มีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 86.0 6.0 8.0 100.0
6. สุขภาพอนามัย 54.0 6.0 8.0 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 67.0 - 33.0 100.0
รวม 530.0 12.0 158.0 700.0
เฉลี่ย 75.7 1.7 22.6 100.0
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-
ภาคเหนือ
ผลทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคเหนือพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 85.6 มีความเห็นว่าโครงการกองทุนหมู่บ้านมีส่วนช่วยทำให้ชุมชนเข้มแข็ง มีความสามารถในการพึ่งตนเอง มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ เพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชน ให้ชุมชนมีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส นอกจากนี้กองทุนหมู่บ้านยังมีประโยชน์ในการเพิ่มสุขอนามัยแก่คนในชุมชนถึงร้อยละ 65.0 และลดปัญหายาเสพติดถึงร้อยละ 81.3
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคเหนือ
หน่วย : ร้อยละ
รายการ ดีขึ้น แย่ลง ไม่เปลี่ยนแปลง รวม
1. ชุมชนเข้มแข็ง 95.3 - 4.7 100.0
2. ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 93.8 - 6.3 100.0
3. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 85.9 - 14.1 100.0
4. การมีส่วนร่วมของชุมชน 89.1 - 10.9 100.0
5. มีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 89.1 - 10.9 100.0
6. สุขภาพอนามัย 65.0 4.8 30.2 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 81.3 9.3 9.4 100.0
รวม 599.5 14.1 86.5 700.0
เฉลี่ย 85.6 2.0 12.4 100.0
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 69.8 เห็นว่าโครงการนี้มีส่วนช่วยทำให้ชุมชนเข้มแข็ง มีความสามารถในการพึ่งตนเอง และการมีส่วนร่วมของชุมชนเพิ่มขึ้น
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
หน่วย:ร้อยละ
รายการ ดีขึ้น แย่ลง ไม่เปลี่ยนแปลง รวม
1. ชุมชนเข้มแข็ง 78.4 2.5 19.1 100.0
2. ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 84.7 - 15.3 100.0
3. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 57.5 - 42.5 100.0
4. การมีส่วนร่วมของชุมชน 78.6 1.0 20.4 100.0
5. มีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 64.8 8.5 26.7 100.0
6. สุขภาพอนามัย 59.0 5.4 35.6 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 66.0 4.0 30.0 100.0
รวม 489.0 21.4 189.6 700.0
เฉลี่ย 69.8 3.1 27.1 100.0
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
ภาคกลาง
การสำรวจผลกระทบทางด้านสังคม ผู้สำรวจได้แบ่งเกณฑ์ออกเป็น 3 ระดับ คือ ดีขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง และแย่ลง เพื่อพิจารณาถึงด้านความเข้มแข็งของชุมชน ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ การมีส่วนร่วมของชุมชน ความสามัคคีเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส สุขภาพอนามัย และปัญหายาเสพติด หลังจากที่เข้าร่วมโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ซึ่งผลการสำรวจพบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 74.3 เห็นว่าโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวมในทางที่ดีขึ้น ขณะที่ร้อยละ 23.1 ของกลุ่มตัวอย่างเห็นว่าโครงการฯ ไม่ได้ส่งผลกระทบโดยรวมต่อสังคม และมีเพียงร้อยละ 2.6 เห็นว่าทำให้สังคมโดยรวมแย่ลง ซึ่งสามารถสรุปตารางได้ดังนี้
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองภาคกลาง
หน่วย:ร้อยละ
ผลกระทบทางด้านสังคม ดีขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง แย่ลง รวม
1. ชุมชนเข้มแข็ง 94.0 6.0 - 100.0
2. ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของหมู่บ้านและชุมชนเมือง 91.0 9.0 - 100.0
3. ความรู้ทักษะในการประกอบอาชีพ 62.0 38.0 - 100.0
4. การมีส่วนรวมของชุมชน 84.0 16.0 - 100.0
5. ความสามัคคีเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 66.0 34.0 - 100.0
6. สุขภาพอนามัย 69.0 22.0 9.0 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 54.0 37.0 9.0 100.0
รวม 520.0 162.0 18.0 700.0
เฉลี่ย 74.3 23.1 2.6 100.00
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
ภาคตะวันออก
จากการศึกษาผลกระทบทางสังคมหลังจากการเข้าร่วมโครงการกองทุนหมู่บ้านแล้ว พบว่า ร้อยละ 82.1เห็นว่ามีโครงการแล้วทำให้สังคมดีขึ้น โดยทำให้ชุมชนเข้มแข็งขึ้น มีความสามารถในการพึ่งพาตนเอง และความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาสมากขึ้น และมีสุขภาพดีขึ้น โดยเฉพาะผู้ร่วมโครงการฯ ทั้งหมดได้มีโอกาสในการเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน และร้อยละ 62.5 เห็นว่าทำให้ปัญหายาเสพติดดีขึ้น ในขณะที่ร้อยละ 15.2 เห็นว่าหลังจากมีโครงการฯ สังคมไม่เปลี่ยนแปลง
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านของภาคตะวันออก
หน่วย : ร้อยละ
รายการ ดีขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง แย่ลง รวม
1.ชุมชนเข้มแข็ง 81.3 18.8 - 100.0
2.ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 93.8 6.3 - 100.0
3.มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 68.8 31.3 - 100.0
4.การมีส่วนร่วมของชุมชน 100.0 - - 100.0
5.มีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 87.5 6.3 6.3 100.0
6. สุขภาพอนามัย 81.3 18.8 - 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 62.5 25.0 12.5 100.0
รวม 575.2 106.5 18.8 700.0
เฉลี่ย 82.1 15.2 2.7 100.0
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
ภาคใต้
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองภาคใต้ ครัวเรือนร้อยละ 75.7 มีความเห็นโดยรวมว่าสังคมดีขึ้นกว่าเดิมเมื่อเข้าร่วมโครงการกองทุนหมู่บ้าน รายละเอียดทั้งหมดแสดงโดยตารางต่อไปนี้
ผลกระทบทางสังคมของโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของภาคใต้
หน่วย : ร้อยละ
รายการ ดีขึ้น แย่ลง ไม่เปลี่ยนแปลง รวม
1. ชุมชนเข้มแข็ง 91.0 - 9.0 100.0
2. ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 86.0 - 14.0 100.0
3. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 69.0 - 31.0 100.0
4. การมีส่วนร่วมของชุมชน 77.0 - 23.0 100.0
5. มีความเอื้ออาทรเกื้อกูลต่อผู้ด้อยโอกาส 86.0 6.0 8.0 100.0
6. สุขภาพอนามัย 54.0 6.0 8.0 100.0
7. ปัญหายาเสพติด 67.0 - 33.0 100.0
รวม 530.0 12.0 158.0 700.0
เฉลี่ย 75.7 1.7 22.6 100.0
ที่มา : จากการสำรวจภาคสนาม
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-