แท็ก
GDP
GDP ขยายตัวร้อยละ 4.4 แม้จะมีความเสี่ยงจากราคาน้ำมันเพิ่มขึ้น
GDP (%)
2547 2548
2547 H1 H2 Q1 Q2 H1
ภาคเกษตร -3.9 -3.7 -4.0 -7.9 -2.3 -5.4
ภาคนอกเกษตร 7.2 7.7 6.8 4.6 5.0 4.8
GDP 6.1 6.6 5.7 3.3 4.4 3.9
GDP ปรับฤดูกาล 2.8 2.8 -0.7 1.9 1.0
* ภาพรวม : GDP ขยายตัวร้อยละ 4.4 สูงกว่าร้อยละ 3.3 ของไตรมาสที่แล้ว และเมื่อปรับค่าฤดูกาลแล้ว GDP ขยายตัวร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบ
กับ ร้อยละ -0.7 ในไตรมาสก่อน อุปสงค์รวมภายในประเทศขยายตัวทั้งการบริโภคและการลงทุน ขณะที่อุปสงค์ภายนอกประเทศสุทธิหดตัวลงมากยิ่งขึ้น
เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผ่านมา
* ด้านการผลิต : ขยายตัวร้อยละ 4.4 จากการขยายตัวของการผลิตภาคนอกเกษตรที่ขยายตัวร้อยละ 5.0 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ 4.6 ในไตรมาสที่
แล้ว แม้ว่าการผลิตภาคเกษตรยังคงติดลบร้อยละ 2.3 แต่ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนที่ติดลบถึงร้อยละ 7.9
- เกษตรกรรม หดตัวร้อยละ 2.3 หมวดพืชผลลดลงร้อยละ 16.7 จากภาวะภัยแล้ง ทำให้ข้าวเปลือกนาปรังและอ้อยมีผลผลิตลด
ลง ขณะที่หมวดปศุสัตว์ขยายตัวร้อยละ 9.9 จากการส่งออกไก่ปรุงสุกที่เพิ่มขึ้นหลังจากที่ตลาดส่งออกไทยยอมรับมาตรฐานและคุณภาพไก่ ส่วนหมวด
ประมงขยายตัวเร่งขึ้นร้อยละ 9.2 ตามปริมาณการส่งออกกุ้งที่เพิ่มขึ้น
- อุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 6.4 สูงกว่าร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อน เร่งตัวขึ้นในทุกกลุ่มอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการขยาย
การผลิตเพื่อส่งออกเครื่องปรับอากาศ Hard disk drive และรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ การเพิ่มการผลิตสุราและเบียร์เพื่อสะสมเป็นสินค้าคงคลังล่วง
หน้า ก่อนปรับภาษีสรรพสามิต และการขยายการผลิตเหล็กภายหลังการยกเลิกภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดชั่วคราว
- การก่อสร้าง ขยายตัวร้อยละ 8.8 โดยการก่อสร้างภาคเอกชนขยายตัวชะลอลงร้อยละ 8.7 จากการชะลอตัวในการก่อสร้าง
อาคารประเภทที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชย์ และอาคารโรงงาน เช่นเดียวกับการก่อสร้างภาครัฐที่ขยายตัวชะลอลงร้อยละ 9.0
- ขนส่งคมนาคม ขยายตัวร้อยละ 4.9 โดยบริการขนส่งขยายตัวเพียงร้อยละ 1.7 จากภาวะราคาค่าโดยสารสูงขึ้น ขณะที่การขน
ส่งสินค้าและการขนส่งทางอากาศขยายตัวร้อยละ 5.1 และ 4.6 ตามลำดับ ส่วนบริการโทรคมนาคมขยายตัวชะลอลงร้อยละ 10.6
- โรงแรมและภัตตาคาร ขยายตัวร้อยละ 2.9 ฟื้นตัวจากอัตราติดลบในไตรมาสที่แล้ว โดยบริการโรงแรมขยายตัวร้อยละ 0.2
จากเดิมที่ ติดลบถึงร้อยละ 9.1 ในไตรมาสก่อน ตามภาวะการท่องเที่ยวที่ปรับตัวดีขึ้นหลังเหตุการณ์สึนามิ ส่วนบริการภัตตาคารขยายตัวร้อยละ
3.9
- การเงิน ขยายตัวร้อยละ 7.3 ชะลอลงจากไตรมาสที่ผ่านมา เนื่องจากการขยายการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ชะลอตัว
ลง
* ด้านการใช้จ่าย : อุปสงค์รวมภายในประเทศขยายตัวเร่งขึ้นร้อยละ 4.3 เมื่อเทียบกับร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อน แม้ว่าอุปสงค์ภายนอกประเทศ
สุทธิหดตัวลงมากยิ่งขึ้น
- การใช้จ่ายในประเทศ การใช้จ่ายของครัวเรือนขยายตัวเร่งขึ้น ขณะที่การลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาลขยายตัวชะลอลงจากไตร
มาสก่อน
(1) การบริโภค การใช้จ่ายของครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 4.7 สูงกว่าเล็กน้อยเมื่อเทียบกับร้อยละ 4.5 ในไตรมาส
ก่อน เป็นผลจากการที่รายได้ภาคเกษตรเพิ่มขึ้น การว่างงานที่ลดลง และการขยายตัวของสินเชื่อเพื่อการบริโภค แม้จะได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันที่
ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่การใช้จ่ายของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 9.2 ชะลอลงจากร้อยละ 16.0 ในไตรมาสที่แล้ว
(2) การลงทุน ขยายตัวร้อยละ 14.2 ชะลอลงจากร้อยละ 15.1 ในไตรมาสที่ผ่านมา โดยการลงทุนภาคเอกชนขยายตัว
ร้อยละ 12.3 จากการขยายการลงทุนในหมวดเครื่องจักร ขณะที่การลงทุนด้านการก่อสร้างชะลอตัวจากต้นทุนการก่อสร้างที่สูงขึ้น ส่วนการลงทุนภาครัฐ
ขยายตัวในอัตราร้อยละ 20.2 ต่ำกว่าร้อยละ 29.2 ของไตรมาสที่ผ่านมา เนื่องจากโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่โดยเฉพาะสนามบินสุวรรณภูมิก่อสร้าง
เกือบแล้วเสร็จ
- การส่งออกสุทธิ มูลค่าการส่งออกสุทธิสินค้าและบริการในราคาปีฐานลดลงมากถึงร้อยละ 60.7 จากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้นสูง
(1) การส่งออกสินค้าและบริการในราคาปีฐานขยายตัวร้อยละ 0.3 เนื่องจากการส่งออกสินค้าหลักชะลอตัว โดยเฉพาะ
แผงวงจรไฟฟ้าที่เผชิญภาวะการซบเซาของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในตลาดโลก ขณะเดียวกันปริมาณการส่งออกสินค้าเกษตรลดลงจากปัญหาภัยแล้ง
ส่วนรายรับด้านบริการขยายตัวร้อยละ 5.8 จากภาวะการท่องเที่ยวที่ปรับตัวดีขึ้นภายหลังเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิ
(2) การนำเข้าสินค้าและบริการในราคาปีฐานขยายตัวร้อยละ 15.1 จากการเพิ่มขึ้นของนำเข้าน้ำมัน เหล็ก และสินค้า
ทุน การนำเข้าที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าการส่งออกทำให้ดุลการค้าขาดดุลสูงถึง 209,876 ล้านบาท ขณะที่รายจ่ายด้านบริการลดลงร้อยละ 0.5
จากรายจ่ายเพื่อการท่องเที่ยวของคนไทยในต่างประเทศที่ชะลอลงร้อยละ 6.8
อัตราขยายตัวเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า (y-o-y)
GDP ด้านการผลิต
หน่วย : ร้อยละ
น้ำหนัก 2547 2548
2545 2546 2547
2547 Q1 Q2 H1 Q3 Q4 H2 Q1 Q2 H1
เกษตร 9.2 1.0 8.7 -3.9 -2.0 -5.8 -3.7 -5.2 -3.3 -4.0 -7.9 -2.3 -5.4
นอกเกษตร 90.8 5.8 6.7 7.2 7.7 7.7 7.7 7.1 6.5 6.8 4.6 5.0 4.8
อุตสาหกรรม 38.7 6.9 10.4 8.4 10.2 7.3 8.8 8.4 7.6 8.0 3.5 6.4 5.0
ไฟฟ้า ประปา และโรงแยกก๊าซ 3.3 6.0 4.6 5.5 3.7 5.4 4.6 8.0 4.9 6.4 8.5 6.8 7.6
ก่อสร้าง 2.6 5.4 3.3 12.7 14.3 7.3 10.6 9.4 22.2 14.6 13.2 8.8 11.0
การค้า 13.9 1.9 3.5 3.0 3.5 2.7 3.1 2.8 2.9 2.9 2.9 2.3 2.6
ขนส่ง 10.1 6.8 3.7 7.7 5.9 10.4 8.1 8.4 6.5 7.4 4.9 4.9 4.9
โรงแรม ภัตตาคาร 3.6 4.5 -3.7 12.2 1.8 28.4 13.6 16.3 6.1 10.9 -2.0 2.9 0.5
การเงิน 3.5 12.2 16.2 14.2 12.9 16.7 14.9 11.6 15.7 13.5 17.7 7.3 12.3
อื่น ๆ 15.1 5.9 4.5 5.0 7.3 6.5 6.9 3.3 3.2 3.3 5.3 3.1 4.2
GDP 100.0 5.3 6.9 6.1 6.7 6.4 6.6 6.1 5.3 5.7 3.3 4.4 3.9
GDP ด้านการใช้จ่าย
น้ำหนัก 2547 2548
2545 2546 2547
2547 Q1 Q2 H1 Q3 Q4 H2 Q1 Q2 H1
การใช้จ่ายของครัวเรือน 54.5 5.3 6.4 5.7 6.2 5.7 5.9 5.6 5.4 5.5 4.5 4.7 4.6
-ไม่รวมรายจ่ายนักท่องเที่ยว 52.9 5.2 7.2 5.6 5.8 5.4 5.6 6.1 5.1 5.6 4.4 4.8 4.6
การใช้จ่ายของรัฐบาล 8.4 1.8 2.0 4.1 7.0 4.9 6.0 0.3 5.2 2.5 16.0 9.2 12.5
การลงทุน 22.4 6.5 11.9 14.4 16.7 12.9 14.7 12.0 16.2 14.0 15.1 14.2 14.7
- ภาคเอกชน 16.5 13.4 17.5 15.3 18.6 16.1 17.3 14.2 12.7 13.4 11.1 12.3 11.7
- ภาครัฐ 6.0 -6.3 -0.8 11.7 10.3 3.8 6.8 8.1 28.2 15.6 29.2 20.2 24.4
การส่งออก 65.6 12.0 7.0 7.8 6.2 11.8 9.0 8.4 5.2 6.7 -0.7 1.3 0.3
- สินค้า 53.6 12.0 9.5 7.0 6.3 6.7 6.5 9.2 5.9 7.5 -0.5 0.3 -0.1
- บริการ 12.1 11.9 -2.9 11.4 5.8 43.3 21.0 4.5 2.1 3.2 -1.5 5.8 2.0
หัก : การนำเข้า 52.9 13.7 7.7 12.2 13.5 20.1 16.8 12.5 3.9 8.1 10.3 12.8 11.6
- สินค้า 45.1 13.3 9.7 12.1 14.3 19.8 17.1 13.3 2.3 7.7 11.7 15.1 13.4
- บริการ 7.8 15.6 -3.0 12.8 9.5 21.8 15.4 7.4 13.3 10.4 2.2 -0.5 0.8
GDP 100.0 5.3 6.9 6.1 6.7 6.4 6.6 6.1 5.3 5.7 3.3 4.4 3.9
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-
GDP (%)
2547 2548
2547 H1 H2 Q1 Q2 H1
ภาคเกษตร -3.9 -3.7 -4.0 -7.9 -2.3 -5.4
ภาคนอกเกษตร 7.2 7.7 6.8 4.6 5.0 4.8
GDP 6.1 6.6 5.7 3.3 4.4 3.9
GDP ปรับฤดูกาล 2.8 2.8 -0.7 1.9 1.0
* ภาพรวม : GDP ขยายตัวร้อยละ 4.4 สูงกว่าร้อยละ 3.3 ของไตรมาสที่แล้ว และเมื่อปรับค่าฤดูกาลแล้ว GDP ขยายตัวร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบ
กับ ร้อยละ -0.7 ในไตรมาสก่อน อุปสงค์รวมภายในประเทศขยายตัวทั้งการบริโภคและการลงทุน ขณะที่อุปสงค์ภายนอกประเทศสุทธิหดตัวลงมากยิ่งขึ้น
เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผ่านมา
* ด้านการผลิต : ขยายตัวร้อยละ 4.4 จากการขยายตัวของการผลิตภาคนอกเกษตรที่ขยายตัวร้อยละ 5.0 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ 4.6 ในไตรมาสที่
แล้ว แม้ว่าการผลิตภาคเกษตรยังคงติดลบร้อยละ 2.3 แต่ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนที่ติดลบถึงร้อยละ 7.9
- เกษตรกรรม หดตัวร้อยละ 2.3 หมวดพืชผลลดลงร้อยละ 16.7 จากภาวะภัยแล้ง ทำให้ข้าวเปลือกนาปรังและอ้อยมีผลผลิตลด
ลง ขณะที่หมวดปศุสัตว์ขยายตัวร้อยละ 9.9 จากการส่งออกไก่ปรุงสุกที่เพิ่มขึ้นหลังจากที่ตลาดส่งออกไทยยอมรับมาตรฐานและคุณภาพไก่ ส่วนหมวด
ประมงขยายตัวเร่งขึ้นร้อยละ 9.2 ตามปริมาณการส่งออกกุ้งที่เพิ่มขึ้น
- อุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 6.4 สูงกว่าร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อน เร่งตัวขึ้นในทุกกลุ่มอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการขยาย
การผลิตเพื่อส่งออกเครื่องปรับอากาศ Hard disk drive และรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ การเพิ่มการผลิตสุราและเบียร์เพื่อสะสมเป็นสินค้าคงคลังล่วง
หน้า ก่อนปรับภาษีสรรพสามิต และการขยายการผลิตเหล็กภายหลังการยกเลิกภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดชั่วคราว
- การก่อสร้าง ขยายตัวร้อยละ 8.8 โดยการก่อสร้างภาคเอกชนขยายตัวชะลอลงร้อยละ 8.7 จากการชะลอตัวในการก่อสร้าง
อาคารประเภทที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชย์ และอาคารโรงงาน เช่นเดียวกับการก่อสร้างภาครัฐที่ขยายตัวชะลอลงร้อยละ 9.0
- ขนส่งคมนาคม ขยายตัวร้อยละ 4.9 โดยบริการขนส่งขยายตัวเพียงร้อยละ 1.7 จากภาวะราคาค่าโดยสารสูงขึ้น ขณะที่การขน
ส่งสินค้าและการขนส่งทางอากาศขยายตัวร้อยละ 5.1 และ 4.6 ตามลำดับ ส่วนบริการโทรคมนาคมขยายตัวชะลอลงร้อยละ 10.6
- โรงแรมและภัตตาคาร ขยายตัวร้อยละ 2.9 ฟื้นตัวจากอัตราติดลบในไตรมาสที่แล้ว โดยบริการโรงแรมขยายตัวร้อยละ 0.2
จากเดิมที่ ติดลบถึงร้อยละ 9.1 ในไตรมาสก่อน ตามภาวะการท่องเที่ยวที่ปรับตัวดีขึ้นหลังเหตุการณ์สึนามิ ส่วนบริการภัตตาคารขยายตัวร้อยละ
3.9
- การเงิน ขยายตัวร้อยละ 7.3 ชะลอลงจากไตรมาสที่ผ่านมา เนื่องจากการขยายการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ชะลอตัว
ลง
* ด้านการใช้จ่าย : อุปสงค์รวมภายในประเทศขยายตัวเร่งขึ้นร้อยละ 4.3 เมื่อเทียบกับร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อน แม้ว่าอุปสงค์ภายนอกประเทศ
สุทธิหดตัวลงมากยิ่งขึ้น
- การใช้จ่ายในประเทศ การใช้จ่ายของครัวเรือนขยายตัวเร่งขึ้น ขณะที่การลงทุนและการใช้จ่ายรัฐบาลขยายตัวชะลอลงจากไตร
มาสก่อน
(1) การบริโภค การใช้จ่ายของครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 4.7 สูงกว่าเล็กน้อยเมื่อเทียบกับร้อยละ 4.5 ในไตรมาส
ก่อน เป็นผลจากการที่รายได้ภาคเกษตรเพิ่มขึ้น การว่างงานที่ลดลง และการขยายตัวของสินเชื่อเพื่อการบริโภค แม้จะได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันที่
ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่การใช้จ่ายของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 9.2 ชะลอลงจากร้อยละ 16.0 ในไตรมาสที่แล้ว
(2) การลงทุน ขยายตัวร้อยละ 14.2 ชะลอลงจากร้อยละ 15.1 ในไตรมาสที่ผ่านมา โดยการลงทุนภาคเอกชนขยายตัว
ร้อยละ 12.3 จากการขยายการลงทุนในหมวดเครื่องจักร ขณะที่การลงทุนด้านการก่อสร้างชะลอตัวจากต้นทุนการก่อสร้างที่สูงขึ้น ส่วนการลงทุนภาครัฐ
ขยายตัวในอัตราร้อยละ 20.2 ต่ำกว่าร้อยละ 29.2 ของไตรมาสที่ผ่านมา เนื่องจากโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่โดยเฉพาะสนามบินสุวรรณภูมิก่อสร้าง
เกือบแล้วเสร็จ
- การส่งออกสุทธิ มูลค่าการส่งออกสุทธิสินค้าและบริการในราคาปีฐานลดลงมากถึงร้อยละ 60.7 จากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้นสูง
(1) การส่งออกสินค้าและบริการในราคาปีฐานขยายตัวร้อยละ 0.3 เนื่องจากการส่งออกสินค้าหลักชะลอตัว โดยเฉพาะ
แผงวงจรไฟฟ้าที่เผชิญภาวะการซบเซาของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในตลาดโลก ขณะเดียวกันปริมาณการส่งออกสินค้าเกษตรลดลงจากปัญหาภัยแล้ง
ส่วนรายรับด้านบริการขยายตัวร้อยละ 5.8 จากภาวะการท่องเที่ยวที่ปรับตัวดีขึ้นภายหลังเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิ
(2) การนำเข้าสินค้าและบริการในราคาปีฐานขยายตัวร้อยละ 15.1 จากการเพิ่มขึ้นของนำเข้าน้ำมัน เหล็ก และสินค้า
ทุน การนำเข้าที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าการส่งออกทำให้ดุลการค้าขาดดุลสูงถึง 209,876 ล้านบาท ขณะที่รายจ่ายด้านบริการลดลงร้อยละ 0.5
จากรายจ่ายเพื่อการท่องเที่ยวของคนไทยในต่างประเทศที่ชะลอลงร้อยละ 6.8
อัตราขยายตัวเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า (y-o-y)
GDP ด้านการผลิต
หน่วย : ร้อยละ
น้ำหนัก 2547 2548
2545 2546 2547
2547 Q1 Q2 H1 Q3 Q4 H2 Q1 Q2 H1
เกษตร 9.2 1.0 8.7 -3.9 -2.0 -5.8 -3.7 -5.2 -3.3 -4.0 -7.9 -2.3 -5.4
นอกเกษตร 90.8 5.8 6.7 7.2 7.7 7.7 7.7 7.1 6.5 6.8 4.6 5.0 4.8
อุตสาหกรรม 38.7 6.9 10.4 8.4 10.2 7.3 8.8 8.4 7.6 8.0 3.5 6.4 5.0
ไฟฟ้า ประปา และโรงแยกก๊าซ 3.3 6.0 4.6 5.5 3.7 5.4 4.6 8.0 4.9 6.4 8.5 6.8 7.6
ก่อสร้าง 2.6 5.4 3.3 12.7 14.3 7.3 10.6 9.4 22.2 14.6 13.2 8.8 11.0
การค้า 13.9 1.9 3.5 3.0 3.5 2.7 3.1 2.8 2.9 2.9 2.9 2.3 2.6
ขนส่ง 10.1 6.8 3.7 7.7 5.9 10.4 8.1 8.4 6.5 7.4 4.9 4.9 4.9
โรงแรม ภัตตาคาร 3.6 4.5 -3.7 12.2 1.8 28.4 13.6 16.3 6.1 10.9 -2.0 2.9 0.5
การเงิน 3.5 12.2 16.2 14.2 12.9 16.7 14.9 11.6 15.7 13.5 17.7 7.3 12.3
อื่น ๆ 15.1 5.9 4.5 5.0 7.3 6.5 6.9 3.3 3.2 3.3 5.3 3.1 4.2
GDP 100.0 5.3 6.9 6.1 6.7 6.4 6.6 6.1 5.3 5.7 3.3 4.4 3.9
GDP ด้านการใช้จ่าย
น้ำหนัก 2547 2548
2545 2546 2547
2547 Q1 Q2 H1 Q3 Q4 H2 Q1 Q2 H1
การใช้จ่ายของครัวเรือน 54.5 5.3 6.4 5.7 6.2 5.7 5.9 5.6 5.4 5.5 4.5 4.7 4.6
-ไม่รวมรายจ่ายนักท่องเที่ยว 52.9 5.2 7.2 5.6 5.8 5.4 5.6 6.1 5.1 5.6 4.4 4.8 4.6
การใช้จ่ายของรัฐบาล 8.4 1.8 2.0 4.1 7.0 4.9 6.0 0.3 5.2 2.5 16.0 9.2 12.5
การลงทุน 22.4 6.5 11.9 14.4 16.7 12.9 14.7 12.0 16.2 14.0 15.1 14.2 14.7
- ภาคเอกชน 16.5 13.4 17.5 15.3 18.6 16.1 17.3 14.2 12.7 13.4 11.1 12.3 11.7
- ภาครัฐ 6.0 -6.3 -0.8 11.7 10.3 3.8 6.8 8.1 28.2 15.6 29.2 20.2 24.4
การส่งออก 65.6 12.0 7.0 7.8 6.2 11.8 9.0 8.4 5.2 6.7 -0.7 1.3 0.3
- สินค้า 53.6 12.0 9.5 7.0 6.3 6.7 6.5 9.2 5.9 7.5 -0.5 0.3 -0.1
- บริการ 12.1 11.9 -2.9 11.4 5.8 43.3 21.0 4.5 2.1 3.2 -1.5 5.8 2.0
หัก : การนำเข้า 52.9 13.7 7.7 12.2 13.5 20.1 16.8 12.5 3.9 8.1 10.3 12.8 11.6
- สินค้า 45.1 13.3 9.7 12.1 14.3 19.8 17.1 13.3 2.3 7.7 11.7 15.1 13.4
- บริการ 7.8 15.6 -3.0 12.8 9.5 21.8 15.4 7.4 13.3 10.4 2.2 -0.5 0.8
GDP 100.0 5.3 6.9 6.1 6.7 6.4 6.6 6.1 5.3 5.7 3.3 4.4 3.9
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-