นายสิปปนนท์ เกตุทัต ประธานคณะกรรมการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้เป็นประธานในการประชุม
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อการคัดเลือกกันเอง ให้ได้บุคคลผู้ที่จะเป็นสมาชิกที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2544
ณ โรงแรม บรินซ์พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร
ได้สมาชิกที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำนวน 99 คน โดยประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นตัวแทนกลุ่มกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ กลุ่ม
การผลิตด้านการเกษตร 16 คน กลุ่มการผลิตด้านการอุตสาหกรรม 17 คน กลุ่มการผลิตด้านการบริการ 17 คน กลุ่มในภาคสังคม 19 คน
กลุ่มในภาคฐานทรัพยากร 16 คนและกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ 14 คน
โดยในระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์- 28 เมษายน 2544 สำนักงานสภาที่ปรึกษาฯ ได้ประกาศรับสมัครองค์กรเพื่อเสนอชื่อสมาชิก
สภาที่ปรึกษาฯ มีองค์กรที่มาสมัครทั้งสิ้น 6,215 องค์กร เมื่อคณะอนุกรรมการได้ทำการตรวจสอบคุณสมบัติขององค์กรต่างๆ โดยใช้หลักเกณฑ์
ตามที่คณะกรรมการสรรหาฯ กำหนดไว้แล้ว ปรากฎว่ามีองค์กรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นองค์กรผู้มีสิทธิ์เสนอชื่อรวมทุกคณะจำนวน 2,738 องค์กร
โดยมีจำนวนบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อ 3,659 คน
เมื่อได้องค์กรที่มีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกฯแล้ว คณะอนุกรรมการแต่ละคณะได้นำรายชื่อบุคคลที่องค์กรเสนอมาดังกล่าวมาทำการคัดเลือก
ตามหลักเกณฑ์คัดเลือกบุคคลที่กำหนด โดยต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 เท่าของจำนวนสมาชิกที่จะพึงมีได้ตามกำหนดสำหรับกลุ่มนั้นๆ ซึ่งมีจำนวน
บุคคลที่ได้รับคัดเลือกทั้งสิ้น 658 คน โดยจะต้องมาประชุมเพื่อคัดเลือกกันเองตามวิธีการที่คณะกรรมการสรรหากำหนด เพื่อให้ได้บุคคลที่เป็น
สมาชิกสภาที่ปรึกษา จำนวน 99 คน
การดำเนินการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ในขั้นตอนแต่ละขั้นตอนที่กล่าวมาแล้วนั้น คณะกรรมการสรรหาฯ และคณะอนุกรรมการ
ทั้ง 6 ได้คำนึงถึงความโปร่งใส โดยปฎิบัติตามมาตรา 6 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ และระเบียบคณะกรรมการสรรหาฯ
เป็นหลัก
นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กล่าวว่า การประชุมสัมมนาครั้งนี้
เป็นการแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ตามรัฐธรรมูญฉบับปัจจุบันที่เนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยเฉพาะในส่วนของกระบวนการคัดเลือกกันเองเพื่อให้ได้บุคคลผู้ที่จะเป็นสมาชิกที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เลขาธิการฯกล่าวต่อไปว่าสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมีหน้าที่ให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี
ในปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม และการให้ความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
ผลจากการประประชุมเพื่อคัดเลือกกันเองในแต่ละกลุ่ม ปรากฎว่ามีผู้ได้รับการคัดเลือกเพื่อเป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ดังรายชื่อต่อไปนี้
กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ
1. น.ส.ศรีสว่าง พั่ววงศ์แพทย์ 2. นายเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
3. นายสังศิต พิริยะรังสรรค์ 4. นายชุมพล พรประภา
5. นายจิรายุทธ์ วสุรัตน์ 6. นายชนะ รุ่งแสง
7. นายะรรมรักษ์ การพิศิษฎ์ 8. นายชนะ กสิภาร์
9. นายวิจิตร ณ ระนอง 10. นายพจน์ สะเพียรชัย
11. นายวรพงษ์ รวิรัตน์ 12. นายวิจิตร บุณยะโหตระ
13. นายอานันท์ ปันยารชุน 14. นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม
ภาคเศรษฐกิจ: กลุ่มการผลิตด้านการเกษตร
1. นางพิณัญญา สงวนกุล 2. นางรัตนา ภูฆัง
3. นางบุญเพ็ง รัตนะพันธ์ 4. นายจรูญ พงศาปาน
5. นางนิพา นันตา 6. นายไพจิตร กุลาผาบ
7. นายเสรี ต้นวิชา 8. นายรังสรรค์ ผ ดุงธรรม
9. นายปราโมทย์ วนิชานนท์ 10.นายวันชัย แสงสุขเอี่ยม
11 นายกิตติศักดิ์ ลัคนทินวงศ์ 12.นายสน รูปสูง
13.นายอำนวย ปิ่นพิลา 14.นางภัคจินดา ลังกาฟ้า
15.นายอำนวย ทงก๊ก 16.นางสารีเพาะ เต็งสาแม
ภาคเศรษฐกิจ: กลุ่มการผลิตด้านการอุตสาหกรรม
1. นายสุชาติ ชัยชนะเลิศวงศ์ 2. นายสุนทร หงษ์คู
3. นายสมาน ทองมา 4. นายอโณทัย ฤทธิ์ปัญญาวงศ์
5. นายสุทิน ภาศิวะมาศ 6. นายประดิษฐ สุโชคชัยกุล
7. นายรังษี เหลืองวารินกุล 8. นายปรีชา ส่งวัฒนา
9. นายสุภโชติ นวลปาน 10.นายสุรพล ว่องวัฒนโรจน์
11.นายจงรักษ์ สุพลจิตร์ 12.พ.ต.ท.พีระ วิชากรกุล
13.นายเตชะ บุณยะชัย 14.นายสมชัย ว่องอรุณ
15.น.ส.ฉัตรวนิช พวงมาลัย 16.นางสุณี ศรีอรทัยกุล
17.นายสมบัติ เปรมประภา
ภาคเศรษฐกิจ:กลุ่มการผลิตด้านการบริการ
1. นายกงกฤช หิรัญกิจ 2. นายอนันต์ วรธิติพงศ์
3. นายสมัคร เชาวภานันท์ 4. นายแถมสิน รัตนพันธ์
5. นายสุวัฒน์ ทองะนากุล 6. นายสวัสดิ์ แสงบางปลา
7. นายสุธรรม จิตรานุเคราะห์ 8. น.ส.สุวรรณี จริยะพร
9. นายประยุทธ วาสนาวิน 10.นายธีระวัฒน์ อรุณธัญญะ
11.นายต่อตระกูล ยมนาค 12.นางปิยรมณ์ หมานเหตุ
13.นางอารยา เพ็นิติ 14.นางลาลีวรรณ กาญจนจารี
15.นายปรีด์ บุรณศิริ 16.นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล
17.นายสิทธิโชค ศรีเจริญ
ภาคสังคม:กลุ่มการพัฒนาชุมชน
1. นางรัชนีภรณ์ คุปรัตน์ 2. นายชัยวัฒน์ สุรวิชัย
ภาคสังคม: กลุ่มการสาธารณสุข
1. นางยุวดี นิ่มสมบุญ 2.นายสวิง ตันอุด
ภาคสังคม: กลุ่มการศึกษาศิลปวัฒนธรรมและศาสนา
1. นายสนั่น อินทรประเสริฐ 2. นายสาโรช วัฒนสโรช
3. นางรัชนี ธงไชย 4. นายชาติชาย พุคยาภรณ์
ภาคสังคม: กลุ่มการพัฒนาและสงเคราะห์คนพิการ
1. นายสรรพสิทธฺ คุมพ์ประพันธ์ 2. นายวีระ นามศิริพงศ์พันธ์
ภาคสังคม: กลุ่มการพัฒนาเด็ก เยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ
1. นายสรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ 2. นางวีระ เทียมถวิล
3. นายประนอม จันทร์ภักดี 4. นางประภาศรี สุฉันทบุตร
ภาคสังคม: กลุ่มการพัฒนาแรงงาน
1. นายแสงชัย โสตถีวรกุล 2. นายบุญเชิด เขียวขำ
3. นายบรรจง บุญรัตน์ 4. นายพนัส ไทยล้วน
ภาคสังคม: กลุ่มการคุ้มครองผู้บริโภค
1. น.ส.เทวี โพธิผละ
ภาคฐานทรัพยากร: กลุ่มฐานทรัพยากร
1. นายเริงชัย ตันสกุล 2. นายสมเจตน์ จันทวัฒน์
3. นายสุวิทย์ โพธิราชา 4. นายจอนิ โอ่โดชา
5. นางภินันทน์ โชติรสเศรณี 6. นายวิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ
7. นางอรพิน จำปาเนตร 8. นายประเสริฐ ตระการศุภกร
9. นางศิริกุล รินฤทธิ์ 10.นางวงจันทร์ วงศ์แก้ว
ภาคฐานทรัพยากร:กลุ่มการพัฒนาระบบการเกษตร
1. นายณรงค์ จันทรประเสริฐ 2. นายเวียงชัย ศรีวิพัฒน์
3. นายเจนวิทย์ ขวัญเพชร 4. นางวิไล ไวษภาษ
ภาคฐานทรัพยากร:กลุ่มการพัฒนาระบบการอุตสาหกรรม
1. นางวนิดา กุลกำม์ธร
ภาคฐานทรัพยากร: กลุ่มการพัฒนาระบบบริการ
1. นายวิสุทธิ์ เจตสันติ์
สำนักงานสภาที่ปรึกษาฯ จะทำการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ที่ไดัรับการคัดเลือกเป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ และนำรายชื่อสมาชิกที่ได้รับ
การคัดเลือกดังกล่าว เสนอต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อดำเนินการประกาศรายชื่อสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป
นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติชุดใหม่
นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติชุดใหม่ แทนกรรมการซึ่งครบวาระการดำรงตำแหน่งโดย
คณะกรรมการชุดใหม่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 คน และกรรมการโดยตำแหน่งอีก 5 คน
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แทนคณะกรรมการฯ ซึ่งพ้น
จากตำแหน่งตามวาระ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคมนี้ โดยคณะกรรมการชุดใหม่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 คน ได้แก่ นายทนง พิทยะ
เป็นประธานกรรมการ และกรรมการประกอบด้วย นายแพทย์ประเวศ วะสี นายพนัส สิมะเสถียร นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา
นายเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ นางจุรี วิจิตรวาทการ นายกฤษณพงศ์ กีรติกร นายนิพนธ์ พัวพงศกร และนายประสิทธิ์
โฆวิไลกุล ส่วนกรรมโดยตำแหน่งอีก 5 คน ได้แก่ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ ผู้อำนวยการ
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้ว่าการธนาคารแห่งแระเทศไทย และเลขาธิการคระกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการ
และเลขานุการ
ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2521 ได้กำหนดให้มีคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ รวมจำนวน 15 คน ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากนายกรัฐมนตรี จำนวน 10 คน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง
คราวละ 4 ปี ซึ่งหากครบวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้ และกรรมการโดยตำแหน่งอีก 5 คน โดยคณะกรรมการชุดนี้ มีหน้าที่เสนอแนะ
และให้ความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อนายกรัฐมนตรี พิจารณาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ
เสนอความเห็นต่อนายกรัฐมนตรี และจัดให้มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านการจัดทำแผนงาน โครงการพัฒนา และในด้าน
การปฏิบัติตามแผนงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
--ข่าวการพัฒนา กองศึกษาและเผยแพร่การพัฒนา สนง.คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีที่ 18 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2544--
-สส-
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อการคัดเลือกกันเอง ให้ได้บุคคลผู้ที่จะเป็นสมาชิกที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2544
ณ โรงแรม บรินซ์พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร
ได้สมาชิกที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำนวน 99 คน โดยประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นตัวแทนกลุ่มกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ กลุ่ม
การผลิตด้านการเกษตร 16 คน กลุ่มการผลิตด้านการอุตสาหกรรม 17 คน กลุ่มการผลิตด้านการบริการ 17 คน กลุ่มในภาคสังคม 19 คน
กลุ่มในภาคฐานทรัพยากร 16 คนและกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ 14 คน
โดยในระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์- 28 เมษายน 2544 สำนักงานสภาที่ปรึกษาฯ ได้ประกาศรับสมัครองค์กรเพื่อเสนอชื่อสมาชิก
สภาที่ปรึกษาฯ มีองค์กรที่มาสมัครทั้งสิ้น 6,215 องค์กร เมื่อคณะอนุกรรมการได้ทำการตรวจสอบคุณสมบัติขององค์กรต่างๆ โดยใช้หลักเกณฑ์
ตามที่คณะกรรมการสรรหาฯ กำหนดไว้แล้ว ปรากฎว่ามีองค์กรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นองค์กรผู้มีสิทธิ์เสนอชื่อรวมทุกคณะจำนวน 2,738 องค์กร
โดยมีจำนวนบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อ 3,659 คน
เมื่อได้องค์กรที่มีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกฯแล้ว คณะอนุกรรมการแต่ละคณะได้นำรายชื่อบุคคลที่องค์กรเสนอมาดังกล่าวมาทำการคัดเลือก
ตามหลักเกณฑ์คัดเลือกบุคคลที่กำหนด โดยต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 เท่าของจำนวนสมาชิกที่จะพึงมีได้ตามกำหนดสำหรับกลุ่มนั้นๆ ซึ่งมีจำนวน
บุคคลที่ได้รับคัดเลือกทั้งสิ้น 658 คน โดยจะต้องมาประชุมเพื่อคัดเลือกกันเองตามวิธีการที่คณะกรรมการสรรหากำหนด เพื่อให้ได้บุคคลที่เป็น
สมาชิกสภาที่ปรึกษา จำนวน 99 คน
การดำเนินการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ในขั้นตอนแต่ละขั้นตอนที่กล่าวมาแล้วนั้น คณะกรรมการสรรหาฯ และคณะอนุกรรมการ
ทั้ง 6 ได้คำนึงถึงความโปร่งใส โดยปฎิบัติตามมาตรา 6 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ และระเบียบคณะกรรมการสรรหาฯ
เป็นหลัก
นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กล่าวว่า การประชุมสัมมนาครั้งนี้
เป็นการแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ตามรัฐธรรมูญฉบับปัจจุบันที่เนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยเฉพาะในส่วนของกระบวนการคัดเลือกกันเองเพื่อให้ได้บุคคลผู้ที่จะเป็นสมาชิกที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เลขาธิการฯกล่าวต่อไปว่าสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมีหน้าที่ให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี
ในปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม และการให้ความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
ผลจากการประประชุมเพื่อคัดเลือกกันเองในแต่ละกลุ่ม ปรากฎว่ามีผู้ได้รับการคัดเลือกเพื่อเป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ดังรายชื่อต่อไปนี้
กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ
1. น.ส.ศรีสว่าง พั่ววงศ์แพทย์ 2. นายเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
3. นายสังศิต พิริยะรังสรรค์ 4. นายชุมพล พรประภา
5. นายจิรายุทธ์ วสุรัตน์ 6. นายชนะ รุ่งแสง
7. นายะรรมรักษ์ การพิศิษฎ์ 8. นายชนะ กสิภาร์
9. นายวิจิตร ณ ระนอง 10. นายพจน์ สะเพียรชัย
11. นายวรพงษ์ รวิรัตน์ 12. นายวิจิตร บุณยะโหตระ
13. นายอานันท์ ปันยารชุน 14. นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม
ภาคเศรษฐกิจ: กลุ่มการผลิตด้านการเกษตร
1. นางพิณัญญา สงวนกุล 2. นางรัตนา ภูฆัง
3. นางบุญเพ็ง รัตนะพันธ์ 4. นายจรูญ พงศาปาน
5. นางนิพา นันตา 6. นายไพจิตร กุลาผาบ
7. นายเสรี ต้นวิชา 8. นายรังสรรค์ ผ ดุงธรรม
9. นายปราโมทย์ วนิชานนท์ 10.นายวันชัย แสงสุขเอี่ยม
11 นายกิตติศักดิ์ ลัคนทินวงศ์ 12.นายสน รูปสูง
13.นายอำนวย ปิ่นพิลา 14.นางภัคจินดา ลังกาฟ้า
15.นายอำนวย ทงก๊ก 16.นางสารีเพาะ เต็งสาแม
ภาคเศรษฐกิจ: กลุ่มการผลิตด้านการอุตสาหกรรม
1. นายสุชาติ ชัยชนะเลิศวงศ์ 2. นายสุนทร หงษ์คู
3. นายสมาน ทองมา 4. นายอโณทัย ฤทธิ์ปัญญาวงศ์
5. นายสุทิน ภาศิวะมาศ 6. นายประดิษฐ สุโชคชัยกุล
7. นายรังษี เหลืองวารินกุล 8. นายปรีชา ส่งวัฒนา
9. นายสุภโชติ นวลปาน 10.นายสุรพล ว่องวัฒนโรจน์
11.นายจงรักษ์ สุพลจิตร์ 12.พ.ต.ท.พีระ วิชากรกุล
13.นายเตชะ บุณยะชัย 14.นายสมชัย ว่องอรุณ
15.น.ส.ฉัตรวนิช พวงมาลัย 16.นางสุณี ศรีอรทัยกุล
17.นายสมบัติ เปรมประภา
ภาคเศรษฐกิจ:กลุ่มการผลิตด้านการบริการ
1. นายกงกฤช หิรัญกิจ 2. นายอนันต์ วรธิติพงศ์
3. นายสมัคร เชาวภานันท์ 4. นายแถมสิน รัตนพันธ์
5. นายสุวัฒน์ ทองะนากุล 6. นายสวัสดิ์ แสงบางปลา
7. นายสุธรรม จิตรานุเคราะห์ 8. น.ส.สุวรรณี จริยะพร
9. นายประยุทธ วาสนาวิน 10.นายธีระวัฒน์ อรุณธัญญะ
11.นายต่อตระกูล ยมนาค 12.นางปิยรมณ์ หมานเหตุ
13.นางอารยา เพ็นิติ 14.นางลาลีวรรณ กาญจนจารี
15.นายปรีด์ บุรณศิริ 16.นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล
17.นายสิทธิโชค ศรีเจริญ
ภาคสังคม:กลุ่มการพัฒนาชุมชน
1. นางรัชนีภรณ์ คุปรัตน์ 2. นายชัยวัฒน์ สุรวิชัย
ภาคสังคม: กลุ่มการสาธารณสุข
1. นางยุวดี นิ่มสมบุญ 2.นายสวิง ตันอุด
ภาคสังคม: กลุ่มการศึกษาศิลปวัฒนธรรมและศาสนา
1. นายสนั่น อินทรประเสริฐ 2. นายสาโรช วัฒนสโรช
3. นางรัชนี ธงไชย 4. นายชาติชาย พุคยาภรณ์
ภาคสังคม: กลุ่มการพัฒนาและสงเคราะห์คนพิการ
1. นายสรรพสิทธฺ คุมพ์ประพันธ์ 2. นายวีระ นามศิริพงศ์พันธ์
ภาคสังคม: กลุ่มการพัฒนาเด็ก เยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ
1. นายสรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ 2. นางวีระ เทียมถวิล
3. นายประนอม จันทร์ภักดี 4. นางประภาศรี สุฉันทบุตร
ภาคสังคม: กลุ่มการพัฒนาแรงงาน
1. นายแสงชัย โสตถีวรกุล 2. นายบุญเชิด เขียวขำ
3. นายบรรจง บุญรัตน์ 4. นายพนัส ไทยล้วน
ภาคสังคม: กลุ่มการคุ้มครองผู้บริโภค
1. น.ส.เทวี โพธิผละ
ภาคฐานทรัพยากร: กลุ่มฐานทรัพยากร
1. นายเริงชัย ตันสกุล 2. นายสมเจตน์ จันทวัฒน์
3. นายสุวิทย์ โพธิราชา 4. นายจอนิ โอ่โดชา
5. นางภินันทน์ โชติรสเศรณี 6. นายวิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ
7. นางอรพิน จำปาเนตร 8. นายประเสริฐ ตระการศุภกร
9. นางศิริกุล รินฤทธิ์ 10.นางวงจันทร์ วงศ์แก้ว
ภาคฐานทรัพยากร:กลุ่มการพัฒนาระบบการเกษตร
1. นายณรงค์ จันทรประเสริฐ 2. นายเวียงชัย ศรีวิพัฒน์
3. นายเจนวิทย์ ขวัญเพชร 4. นางวิไล ไวษภาษ
ภาคฐานทรัพยากร:กลุ่มการพัฒนาระบบการอุตสาหกรรม
1. นางวนิดา กุลกำม์ธร
ภาคฐานทรัพยากร: กลุ่มการพัฒนาระบบบริการ
1. นายวิสุทธิ์ เจตสันติ์
สำนักงานสภาที่ปรึกษาฯ จะทำการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ที่ไดัรับการคัดเลือกเป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ และนำรายชื่อสมาชิกที่ได้รับ
การคัดเลือกดังกล่าว เสนอต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อดำเนินการประกาศรายชื่อสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป
นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติชุดใหม่
นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติชุดใหม่ แทนกรรมการซึ่งครบวาระการดำรงตำแหน่งโดย
คณะกรรมการชุดใหม่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 คน และกรรมการโดยตำแหน่งอีก 5 คน
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แทนคณะกรรมการฯ ซึ่งพ้น
จากตำแหน่งตามวาระ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคมนี้ โดยคณะกรรมการชุดใหม่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 คน ได้แก่ นายทนง พิทยะ
เป็นประธานกรรมการ และกรรมการประกอบด้วย นายแพทย์ประเวศ วะสี นายพนัส สิมะเสถียร นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา
นายเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ นางจุรี วิจิตรวาทการ นายกฤษณพงศ์ กีรติกร นายนิพนธ์ พัวพงศกร และนายประสิทธิ์
โฆวิไลกุล ส่วนกรรมโดยตำแหน่งอีก 5 คน ได้แก่ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ ผู้อำนวยการ
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้ว่าการธนาคารแห่งแระเทศไทย และเลขาธิการคระกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการ
และเลขานุการ
ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2521 ได้กำหนดให้มีคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ รวมจำนวน 15 คน ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากนายกรัฐมนตรี จำนวน 10 คน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง
คราวละ 4 ปี ซึ่งหากครบวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้ และกรรมการโดยตำแหน่งอีก 5 คน โดยคณะกรรมการชุดนี้ มีหน้าที่เสนอแนะ
และให้ความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อนายกรัฐมนตรี พิจารณาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ
เสนอความเห็นต่อนายกรัฐมนตรี และจัดให้มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านการจัดทำแผนงาน โครงการพัฒนา และในด้าน
การปฏิบัติตามแผนงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
--ข่าวการพัฒนา กองศึกษาและเผยแพร่การพัฒนา สนง.คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีที่ 18 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2544--
-สส-