ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2564 และแนวโน้มปี 2564

ข่าวเศรษฐกิจ Monday May 17, 2021 09:43 —สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2564 และแนวโน้มปี 2564
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แถลงข่าว วันจันทร์ที่ 17 พฤษภาคม 2564 เวลา 09.30 น.
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2564 ลดลงร้อยละ 2.6 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 4.2 ในไตรมาสก่อนหน้า (%YoY) และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทย ในไตรมาสแรกของปี 2564 ขยายตัวจากไตรมาสที่สี่ของปี 2563 ร้อยละ 0.2 (QoQ_SA)
ด้านการใช้จ่าย มีแรงสนับสนุนสาคัญจากการกลับมาขยายตัวของการส่งออกสินค้าและการลงทุนภาคเอกชน รวมทั้งการขยายตัวต่อเนื่องของการใช้จ่ายรัฐบาลและการขยายตัวเร่งขึ้นของการลงทุนภาครัฐ ในขณะที่การบริโภคภาคเอกชนปรับตัวลดลงและ การส่งออกบริการลดลงต่อเนื่อง
ด้านการผลิต สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสาขาการก่อสร้างกลับมาขยายตัว ในขณะที่สาขาเกษตรกรรม สาขาข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร และสาขาการเงินขยายตัวต่อเนื่อง ส่วนการผลิตสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า สาขาไฟฟ้าและก๊าซ และสาขาการขายส่งการขายปลีกและการซ่อมแซมฯ ลดลงต่อเนื่อง
ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจในช่วงปี 2564 ควรให้ความสาคัญกับ (1) การควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดภายในประเทศเพื่อให้จานวนผู้ติดเชื้อลดลงและอยู่ในวงจากัดโดยเร็วและการป้องกันการกลับมาระบาดรุนแรงระลอกใหม่ โดย (i) การบังคับใช้มาตรการควบคุมโรคและป้องกันการระบาดของภาครัฐอย่างเคร่งครัด (ii) การเร่งรัดจัดหาและกระจายวัคซีนให้กับประชาชนอย่างครอบคลุมทั่วถึง (iii) การพัฒนาศักยภาพของระบบสาธารณสุขให้เพียงพอต่อการรองรับการแพร่ระบาด และ (iv) การเร่งประชาสัมพันธ์และสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและชัดเจนให้แก่ประชาชนในการรับการฉีดวัคซีน (2) การดาเนินมาตรการทางเศรษฐกิจเพื่อช่วยเหลือเยียวยาประชาชน แรงงาน และภาคธุรกิจ ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดและมาตรการเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ โดย (i) การเร่งรัดติดตามมาตรการต่าง ๆ ทั้งด้านการเงินและการคลังที่ได้ดาเนินการไปแล้ว ควบคู่ไปกับการพิจารณามาตรการเพิ่มเติม (ii) การพิจารณามาตรการช่วยเหลือภาคแรงงานผ่านมาตรการรักษาระดับการจ้างงานให้แก่ผู้ประกอบการ ควบคู่ไปกับการพิจารณามาตรการสร้างงานใหม่และมาตรการพัฒนาทักษะแรงงาน และ (iii) การพิจารณาดาเนินมาตรการกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจในระยะต่อไปภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลายลง (3) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้า โดย (i) การขับเคลื่อนการส่งออกไปยังตลาดหลักที่มีการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ชัดเจนและการสร้างตลาดใหม่ให้กับสินค้าที่มีศักยภาพ (ii) การเร่งรัดยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร อาหาร และสินค้าอุตสาหกรรม (iii) การใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ควบคู่ไปกับการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าที่สาคัญ ๆ (iv) การเร่งรัดการเจรจาความตกลงการค้าเสรีที่กาลังอยู่ในขั้นตอนของ การเจรจาและเตรียมศึกษาเพื่อเจรจากับประเทศคู่ค้าสาคัญใหม่ ๆ และ (v) การปกป้องความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและ การเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิต (4) การส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน โดย (i) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริม การลงทุนให้เกิดการลงทุนจริง (ii) การแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและการประกอบธุรกิจ (iii) การดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุน เชิงรุกและอานวยความสะดวกเพื่อดึงดูดนักลงทุน (iv) การส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) 10 จังหวัด และพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (v) การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่นักลงทุน และ (vi) การขับเคลื่อน การลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ๆ ควบคู่ไปกับการปรับโครงสร้างภาคการผลิตและภาคบริการที่สาคัญ ๆ (5) การรักษาแรงขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ (6) การเตรียมความพร้อมสาหรับ การเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ และ (7) การรักษาบรรยากาศทางการเมืองภายในประเทศ
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.5 ? 2.5 ฟื้นตัว อย่างช้า ๆ จากการลดลงร้อยละ 6.1 ในปี 2563 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก (1) แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก (2) แรงขับเคลื่อนจากการใช้จ่ายภาครัฐ และ (3) การปรับตัวตามฐานการขยายตัวที่ต่าผิดปกติในปี 2563 ทั้งนี้ คาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์ สรอ.จะขยายตัวร้อยละ 10.3 ขณะที่การอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 1.6 และร้อยละ 4.3 ตามลาดับ ส่วนการลงทุนภาครัฐคาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 9.3 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 1.0 ? 2.0 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 0.7 ของ GDP
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2564
(%YoY)
2562
2563
2564
ทั้งปี
ทั้งปี
Q3
Q4
Q1
ทั้งปี (f)
GDP (CVM)
2.3
-6.1
-6.4
-4.2
-2.6
1.5 - 2.5
การลงทุนรวม1/
2.0
-4.8
-2.6
-2.5
7.3
5.3
ภาคเอกชน
2.7
-8.4
-10.6
-3.3
3.0
4.3
ภาครัฐ
0.1
5.7
17.6
0.6
19.6
9.3
การบริโภคภาคเอกชน
4.0
-1.0
-0.6
0.9
-0.5
1.6
การอุปโภคภาครัฐบาล
1.7
0.9
2.5
2.2
2.1
5.1
มูลค่าการส่งออกสินค้า2/
-3.3
-6.6
-8.2
-1.5
5.3
10.3
ปริมาณ2/
-3.7
-5.9
-7.6
-1.6
3.0
7.3
มูลค่าการนาเข้าสินค้า2/
-5.6
-13.5
-19.4
-5.9
9.5
13.1
ปริมาณ2/
-5.8
-10.1
-16.5
-2.9
6.6
9.1
ดุลบัญชีเดินสะพัด
7.0
3.3
5.4
-1.0
-1.9
0.7
ต่อ GDP (%)
เงินเฟ้อ
0.7
-0.8
-0.7
-0.4
-0.5
1.0 - 2.0
หมายเหตุ: 1/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น 2/ ฐานข้อมูลดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย
เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2564-2.60.2-15.0-10.0-5.00.05.010.0596061626364%GDP (YoY)GDP (QoQ_ปรับ ดูกาล)ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2564 และแนวโน้มปี 2564
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2564 ลดลงร้อยละ 2.6 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 4.2 ในไตรมาสที่สี่ของปี 2563 ด้านการใช้จ่าย มีปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการกลับมาขยายตัวของการส่งออกสินค้าและการลงทุนภาคเอกชน รวมทั้งการขยายตัวต่อเนื่องของการใช้จ่ายรัฐบาลและการขยายตัวเร่งขึ้นของการลงทุนภาครัฐ ในขณะที่การระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้การบริโภคภาคเอกชนปรับตัวลดลงและการส่งออกบริการลดลงมากอย่างต่อเนื่อง ด้านการผลิต สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสาขาการก่อสร้างกลับมาขยายตัว ในขณะที่ สาขาเกษตรกรรม สาขาข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร และสาขาการเงินขยายตัวต่อเนื่อง ส่วนการผลิตสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า สาขาไฟฟ้าและก๊าซ และสาขาการขายส่งการขายปลีกและการซ่อมแซมฯ ลดลงต่อเนื่อง เมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2564 ขยายตัวจากไตรมาสที่สี่ของปี 2563 ร้อยละ 0.2 (QoQ_SA)
1) การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ลดลงร้อยละ 0.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.9 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากได้รับผลกระทบจาก การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ โดยการใช้จ่ายในหมวดสินค้ากึ่งคงทนลดลงต่อเนื่องร้อยละ 10.8 ตามการลดลงของ การใช้จ่ายหมวดเครื่องเรือน อุปกรณ์ครัวเรือนและการซ่อมแซมที่อยู่อาศัย และหมวดเสื้อผ้าและรองเท้า การใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนลดลงร้อยละ 8.0 ตามการลดลงของการซื้อยานพาหนะร้อยละ 4.2 ในขณะที่การใช้จ่ายในหมวดบริการขยายตัวร้อยละ 0.3 ชะลอลงจาก การขยายตัวร้อยละ 7.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวในกลุ่มบริการสุขภาพ และกลุ่มการเช่าที่อยู่อาศัย การใช้น้าประปา ไฟฟ้าและพลังงาน การใช้จ่ายกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร และกลุ่มนันทนาการและวัฒนธรรม ลดลงต่อเนื่อง ส่วนการใช้จ่ายในหมวดสินค้า ไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 2.5 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเร่งตัวขึ้นของการใช้จ่ายเพื่อ ซื้ออาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ โดยการปรับตัวลดลงของการบริโภคภาคเอกชนในไตรมาสนี้สอดคล้องกับการลดลงของความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ซึ่งอยู่ที่ระดับ 42.5 จากระดับ 44.3 ในไตรมาสก่อนหน้า การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาล ขยายตัวร้อยละ 2.1 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยรายจ่ายค่าตอบแทนแรงงาน (ค่าจ้าง เงินเดือน) ค่าซื้อสินค้าและบริการ และการโอนเพื่อสวัสดิการสังคมที่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดขยายตัวร้อยละ 1.2 ร้อยละ 5.7 และร้อยละ 2.0 ตามลาดับ ในขณะที่อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 20.0 (ต่ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 32.8 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 28.2 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
2) การลงทุนรวม ขยายตัวร้อยละ 7.3 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 2.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนภาคเอกชนขยายตัว ร้อยละ 3.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรขยายตัวร้อยละ 3.8 และการลงทุนในสิ่งก่อสร้างลดลงร้อยละ 0.4 ส่วนการลงทุนภาครัฐขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 19.6 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 28.4 ส่วนหนึ่งเป็นผลของจากฐานต่าในปี 2563 ส่วนการลงทุนรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 9.3 สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 13.3 (สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 11.3 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 11.6 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า)
3) การส่งออกสินค้า มีมูลค่า 64,004 ล้านดอลลาร์ ขยายตัวร้อยละ 5.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณและราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 และร้อยละ 2.1 ตามลาดับ กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เช่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ (ร้อยละ 17.3) รถยนต์นั่ง (ร้อยละ 13.2) รถกระบะ (ร้อยละ 44.8) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ (ร้อยละ 17.7) ปิโตรเคมี (ร้อยละ23.8) ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ 5.7) แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน (ร้อยละ 13.9) ผลิตภัณฑ์ยาง (ร้อยละ 53.1) ยางพารา (ร้อยละ 38.1) และ มันสาปะหลัง (ร้อยละ 72.5) เป็นต้น กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกลดลง ได้แก่ ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ 5.0) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (ลดลงร้อยละ 6.0) ข้าว (ลดลงร้อยละ 21.9) และน้าตาล (ลดลงร้อยละ 47.6) การส่งออกสินค้าไปยังตลาดส่งออกหลักขยายตัว ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดอาเซียน (9) และตะวันออกกลาง (15) ลดลงในอัตราที่ชะลอลง เมื่อหักการส่งออกทองคาที่ยัง ไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 11.8 และเมื่อคิดในรูปของเงินบาท มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 1.9
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2564
เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2564-2.60.205001,0001,5002,0002,5003,0003,5004,0004,5005,000-15.0-10.0-5.00.05.010.0596061626364พันล้านบาท%GDP ณ ราคาประจาปี (แกนขวา)GDP (YoY) (แกน้าย)GDP (QoQ_ปรับ ดูกาล) (แกน้าย)ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
3
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
4) สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 1.9 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของผลผลิตหมวดพืชผลสาคัญ เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวยและปริมาณน้าที่เพียงพอต่อ การเพาะปลูก ผลผลิตพืชเกษตรสาคัญที่เพิ่มขึ้น เช่น ข้าวเปลือกเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 กลุ่มไม้ผลเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.4 และมันสาปะหลังเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5 เป็นต้น ส่วนผลผลิตพืชเกษตรสาคัญที่ลดลง เช่น อ้อยลดลงร้อยละ 9.7 และปาล์มน้ามันลดลงร้อยละ 7.3 เป็นต้น และหมวดปศุสัตว์ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 13 ร้อยละ 2.7 ในขณะที่หมวดประมงปรับตัวลดลงร้อยละ 13.2 เป็นการลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ส่วนดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 9.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 11.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะราคายางพาราเพิ่มขึ้นร้อยละ 42.7 ราคากลุ่มไม้ผลเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.8 ราคาอ้อยเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.4 ราคาสุกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.6 และราคาปาล์มน้ามันเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.5 เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัวลดลง เช่น ข้าวเปลือกลดลงร้อยละ 7.2 และราคาไก่เนื้อลดลงร้อยละ 11.1 เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของทั้งดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 10.8
5) สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส ที่ร้อยละ 0.7 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศและอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออกเป็นสาคัญ โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ขยายตัวร้อยละ 1.4 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) กลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ เป็นครั้งแรกในรอบ 10 ไตรมาส ร้อยละ 0.6 เทียบกับการลดลงต่อเนื่องร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 ? 60 ลดลงร้อยละ 0.5 อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 67.09 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 63.77 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 66.94 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ร้อยละ 14.7) การผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ร้อยละ 29.3) และการผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ร้อยละ 10.9) เป็นต้น ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ลดลงร้อยละ 13.9) การผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย (ยกเว้นร้านตัดเย็บเสื้อผ้า) (ลดลงร้อยละ 17.5) และการทอผ้า (ลดลงร้อยละ 17.2) เป็นต้น
6) สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ลดลงร้อยละ 35.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 35.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลง อย่างต่อเนื่องของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศร้อยละ 99.7 เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สาหรับรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยในไตรมาสนี้อยู่ที่ 0.093 ล้านล้านบาท ลดลงร้อยละ 51.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 45.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ การดาเนินมาตรการเปิดประเทศสาหรับนักท่องเที่ยวประเภทพิเศษ (Special Tourist VISA: STV) ส่งผลให้ ในไตรมาสนี้มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวจานวน 20,172 คน (รวมนักท่องเที่ยวกลุ่ม Thailand Privilege Card) อัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 16.15 ลดลงจากร้อยละ 32.49 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 52.40 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
7) สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า ลดลงร้อยละ 17.7 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 21.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของบริการขนส่ง เป็นสาคัญ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยบริการขนส่งทางอากาศลดลงร้อยละ 61.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 68.1 ในไตรมาสก่อนหน้า บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียงลดลงร้อยละ 11.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 12.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และบริการขนส่งทางน้าลดลงร้อยละ 3.2 ส่วนบริการสนับสนุนการขนส่งลดลงร้อยละ 18.7 ปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ จากการลดลงร้อยละ 22.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และบริการไปรษณีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.9 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 27.2 ในไตรมาสก่อนหน้าสอดคล้องกับรายรับของผู้ประกอบการที่ขยายตัวต่อเนื่องในเกณฑ์สูง
แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2564
สศช. คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2564 จะขยายตัวร้อยละ 1.5 ? 2.5 ฟื้นตัวจากการลดลงร้อยละ 6.1 ในปี 2563 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก (1) แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก (2) แรงขับเคลื่อนจากการใช้จ่ายภาครัฐ และ (3) การปรับตัวตามฐานการขยายตัวที่ต่าผิดปกติในปี 2563 ทั้งนี้ คาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์ สรอ.จะขยายตัวร้อยละ 10.3 ขณะที่การอุปโภคบริโภคและ การลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 1.6 และร้อยละ 4.3 ตามลาดับ ส่วนการลงทุนภาครัฐคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 9.3 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 1.0 ? 2.0 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 0.7 ของ GDP
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 4
Economic Outlook NESDC
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน: ลดลงร้อยละ 0.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.9 ในไตรมาสก่อนหน้า
เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ โดยการใช้จ่ายหมวดสินค้า
กึ่งคงทนลดลงต่อเนื่องร้อยละ 10.8 ตามการลดลงของการใช้จ่ายหมวดเครื่องเรือน อุปกรณ์ครัวเรือนและ
การซ่อมแซมที่อยู่อาศัย และหมวดเสื้อผ้าและรองเท้า ที่ลดลงร้อยละ 0.6 และร้อยละ 21.8 ตามลาดับ การใช้จ่าย
ในหมวดสินค้าคงทนลดลงร้อยละ 8.0 ตามการลดลงของการซื้อยานพาหนะซึ่งลดลงร้อยละ 4.2 ในขณะที่
การใช้จ่ายในหมวดบริการขยายตัวร้อยละ 0.3 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 7.5 ในไตรมาสก่อนหน้า
ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายในกลุ่มบริการสุขภาพ และกลุ่มการเช่าที่อยู่อาศัย การใช้น้าประปา ไฟฟ้าและ
พลังงาน ที่ขยายตัวร้อยละ 0.8 และร้อยละ 0.9 ตามลาดับ ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.9 และร้อยละ
1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการใช้จ่ายกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร และกลุ่มนันทนาการและวัฒนธรรม ลดลง
ต่อเนื่องร้อยละ 54.3 และร้อยละ 18.7 ตามลาดับ การใช้จ่ายในหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 2.5 เร่งขึ้น
จากการขยายตัวร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเร่งตัวขึ้นของการใช้จ่ายเพื่อซื้ออาหารและ
เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ที่ขยายตัวร้อยละ 2.7 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ
โดยการปรับตัวลดลงของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนในไตรมาสนี้สอดคล้องกับการลดลงของความเชื่อมั่น
ของผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ซึ่งอยู่ที่ระดับ 42.5 เทียบกับระดับ 44.3 ในไตรมาสก่อนหน้า
การลงทุนภาคเอกชน: ขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 3.0 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลง
ร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวของการลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร ในขณะที่
การลงทุนในหมวดก่อสร้างลดลงในอัตราที่ชะลอลง โดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือขยายตัวร้อยละ
3.8 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 3.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน
ที่กลับมาขยายตัวร้อยละ 15.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่ปริมาณการจาหน่าย
เครื่องจักรและอุปกรณ์ในประเทศ และยอดจดทะเบียนยานยนต์ใหม่ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 6.2 ร้อยละ 0.1
ตามลาดับ ส่วนการลงทุนในหมวดก่อสร้างลดลงร้อยละ 0.4 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 3.8
ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับดัชนีการจาหน่ายวัสดุก่อสร้างในประเทศที่กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรก
ในรอบ 7 ไตรมาส ร้อยละ 2.0 อย่างไรก็ตาม พื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลลดลงต่อเนื่องร้อยละ
9.8 สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจอยู่ที่ระดับ 46.6 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า
1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2564
ด้านการใช้จ่าย
การอุปโภคบริโภค
ภาคเอกชนปรับตัวลดลง
ร้อยละ 0.5 เทียบกับ
การขยายตัวร้อยละ 0.9
ในไตรมาสก่อนหน้า
เนอื่ งจากไดร้ บั ผลกระทบ
จากการแพร่ระบาดของ
โรคโควิด-19 ระลอกใหม่
ในไตรมาสแรกของ
ปี 2564 การอุปโภค
บริโภคภาคเอกชน
ปรับตัวลดลง เนื่องจาก
ได้รับผลกระทบจาก
การระบาดของโรค
ขณะที่การลงทุน
ภาคเอกชนและ
การส่งออกสินค้ากลับมา
ขยายตัวครั้งแรกในรอบ
4 ไตรมาส
การลงทุนภาคเอกชน
ขยายตัวครั้งแรกในรอบ
5 ไตรมาสร้อยละ 3.0
ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลง
ร้อยละ 3.3 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ตามการกลับมา
ขยายตัวในหมวด
เครื่องจักรเครื่องมือ
ในขณะที่หมวดก่อสร้าง
ยังปรับตัวลดลง
40.0
45.0
50.0
55.0
60.0
65.0
70.0
75.0
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
59 60 61 62 63 64
%YoY การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนปรับตัวลดลง ดัชนี
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน (แกนซ้าย)
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ (แกนขวา)
ที่มา: สศช. และ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ที่มา: สศช. ธนาคารแห่งประเทศไทย และกรมธุรกิจพลังงาน
-60.0
-40.0
-20.0
0.0
20.0
40.0
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
59 60 61 62 63 64
%YoY
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและเครื่องชี้ที่สาคัญ
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน (แกนซ้าย)
ดัชนีปริมาณการจาหน่ายน้ามันเบนซิน แก๊สโซฮอล์ และน้ามันดีเซล
ดัชนีปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน
ดัชนีปริมาณการนาเข้าสินค้าหมวดสิ่งทอเครื่องนุ่งห่ม
ยอดขายรถยนต์นั่งส่วนบุคคล
%YoY
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
-20.0
-16.0
-12.0
-8.0
-4.0
0.0
4.0
8.0
12.0
59 60 61 62 63 64
%YoY การลงทุนภาคเอกชนปรับตัวเพิ่มขึ้น
การลงทุนภาคเอกชน ก่อสร้าง เครื่องมือเครื่องจักร
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 5
Economic Outlook NESDC
มูลค่าการส่งออกสินค้า
ในรูปเงินดอลลาร์ สรอ.
กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรก
ในรอบ 4 ไตรมาส
ร้อยละ 5.3 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 1.5
ในไตรมาสก่อนหน้า
สอดคล้องกับการฟื้นตัวของ
เศรษฐกิจและราคาสินค้า
ในตลาดโลก
เมื่อหักทองคาออกแล้ว
มูลค่าการส่งออกขยายตัว
ในเกณฑ์สูงร้อยละ 11.8
การส่งออก: มูลค่าการส่งออกในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส
ตามการเพิ่มขึ้นของทั้งปริมาณและราคาสินค้าส่งออก สอดคล้องกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและราคา
สินค้าในตลาดโลก การส่งออกสินค้าในไตรมาสแรกของปี 2564 มีมูลค่า 64,004 ล้านดอลลาร์ ขยายตัวร้อยละ
5.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยปริมาณการส่งออก
สินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าเกษตรขยายตัวร้อยละ 6.3 และร้อยละ 8.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.4 และ
การเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ขณะที่ปริมาณการส่งออกสินค้าประมงลดลงร้อยละ
9.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 17.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคาสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 เร่งขึ้นจาก
การเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าในตลาดโลก เมื่อหัก
การส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 11.8 เทียบกับการลดลง
ร้อยละ 0.9 ในไตรมาสก่อนหน้า การส่งออกในรูปของเงินบาท มีมูลค่า 1,939 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ
1.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 10.2 ในไตรมาสก่อนหน้า
โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 ตามการขยายตัวของปริมาณการส่งออก ยางพารา และมันสาปะหลัง
ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.9 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกข้าว ยางพารา มันสาปะหลัง
และน้าตาล โดยมูลค่าการส่งออกยางพาราเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.1 ตามการเพิ่มขึ้นของความต้องการใช้ยางพารา
ในตลาดโลก โดยปริมาณการส่งออกยางพาราเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 และราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.6
มันสาปะหลัง มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 72.5 เนื่องจากอุปสงค์ของประเทศคู่ค้าหลักเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
โดยเฉพาะตลาดจีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 56.1 และราคาส่งออกเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 1.6 ข้าว มูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 21.9 ตามการลดลงของการส่งออกไปยังประเทศสหรัฐฯ
ฮ่องกง และโกตดิวัวร์ เป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 23.0 ส่วนหนึ่งเนื่องจากการลดลงของ
ปริมาณผลผลิต และประเทศคู่ค้าบางประเทศปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปบริโภคข้าวนุ่ม ในขณะที่ไทยส่งออก
ข้าวขาวเป็นหลัก ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 น้าตาล มูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 47.6 ตามการลดลง
ของการส่งออกไปยังประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไต้หวัน เป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ
57.7 ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากอินโดนีเซียซึ่งเป็นผู้นาเข้าสาคัญดาเนินนโยบายผลิตเองในประเทศ ขณะที่ราคา
ส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.7 ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากสถานการณ์ภัยแล้งในบราซิลทาให้ราคาน้าตาล
ในตลาดโลกเพิ่มขึ้น มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 7.8 เทียบกับการลดลง
ร้อยละ 1.8 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าและวัฏจักรอิเล็กทรอนิกส์โลก
ที่อยู่ในช่วงขาขึ้น โดยเป็นการเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและราคาร้อยละ 6.3 และร้อยละ 1.5 เทียบกับการลดลง
ร้อยละ 1.4 และร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญ
ที่ขยายตัว เช่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ (ร้อยละ 17.3) รถยนต์นั่ง (ร้อยละ 13.2) รถกระบะ (ร้อยละ 44.8)
ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ (ร้อยละ 17.7) ปิโตรเคมี (ร้อยละ23.8) ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ 5.7)
แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน (ร้อยละ 13.9) และผลิตภัณฑ์ยาง (ร้อยละ 53.1) เป็นต้น ส่วนสินค้าส่งออกสาคัญ
อื่น ๆ ที่ลดลง เช่น ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ 5.0) และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (ลดลงร้อยละ
6.0) เป็นต้น มูลค่าการส่งออกสินค้าประมงลดลงร้อยละ 8.3 โดยปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 9.3 ขณะที่
ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกลดลง ได้แก่ กุ้ง ปู กั้ง และล็อบสเตอร์ (ลดลงร้อยละ
3.2) และปลา (ลดลงร้อยละ 9.5) เป็นต้น สินค้าส่งออกอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 86.3 เป็นผลจากการลดลงของ
การส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปที่มีมูลค่าลดลงร้อยละ 88.3
มูลค่าการส่งออกสินค้า
เกษตรขยายตัว
ตามการเพิ่มขึ้นของ
การส่งออกยางพารา และ
มันสาปะหลัง เป็นสาคัญ
มูลค่าการส่งออกสินค้า
อุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น
จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
และไตรมาสก่อนหน้า
ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
ประเทศคู่ค้า และวัฏจักร
อิเล็กทรอนิกส์โลกที่อยู่
ในช่วงขาขึ้น
มูลค่าการส่งออกสินค้า
ประมงลดลง สอดคล้องกับ
ภาวะการผลิตในประเทศ
-20.0
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 Q1/64
%YoY ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคาส่งออก
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-60.0
-40.0
-20.0
0.0
20.0
40.0
60.0
80.0
100.0
120.0
140.0
160.0
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 Q1/64
%YoY
สินค้าส่งออกจาแนกตามกิจกรรมการผลิต
6
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
ตลาดส่งออก: การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักขยายตัว ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดอาเยน (9) และตะวันออกกลาง (15) ลดลงในอัตราที่ช้าลง การส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 12.5 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดจีนขยายตัวร้อยละ 20.6 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง เม็ดพลาสติก และเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดญี่ปุ่นขยายตัวร้อยละ 6.2 ตามการขยายตัวของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ และเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดสหภาพยุโรป (27) ไม่รวมสหราชอาณาจักรขยายตัวร้อยละ 10.7 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ และการส่งออกไปยังตลาดออสเตรเลียขยายตัวร้อยละ 19.8 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และผลิตภัณฑ์ยาง เป็นสาคัญ ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดอาเซียน (9) ลดลงร้อยละ 5.5 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลง 13.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงในอัตราที่ชะลอลงของการส่งออกน้ามันสาเร็จรูป เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และเครื่องดื่ม รวมถึงการกลับมาขยายตัวของการส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ และแผงวงจรรวม เป็นสาคัญ โดยการส่งออกไปยังตลาดอาเซียน (5) ลดลงร้อยละ 10.2 ขณะที่การส่งออกไปกลุ่มประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม) ขยายตัวร้อยละ 0.6 (การส่งออกไปเวียดนามและลาวขยายตัวร้อยละ 12.9 และร้อยละ 15.2 ตามลาดับ ขณะที่การส่งออกไปเมียนมาและกัมพูชาลดลงร้อยละ 18.5 และร้อยละ 12.6 ตามลาดับ) และการส่งออกไปยังตะวันออกลาง (15) ลดลงร้อยละ 4.5 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 13.0 ตามการลดลงในอัตราที่ชะลอลงของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ รวมถึงการกลับมาขยายตัวของการส่งออกอะลูมิเนียม และผลไม้แปรรูป เป็นสาคัญ
การส่งออกสินค้าไปยังตลาดส่งออกหลักขยายตัว ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดอาเซียน (9) และตะวันออกกลาง (15) ลดลงในอัตราที่ชะลอลง
สินค้าส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2562
2564
สัดส่วน Q1/64 (%)
2563
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
สินค้าเกษตร
-8.4
-1.2
-10.4
4.6
-7.9
10.2
18.3
7.2
ข้าว
-25.9
-11.4
-24.9
0.7
-18.3
-0.9
-21.9
1.1
ยาง
-10.0
-14.9
-2.7
-41.0
-35.5
25.4
38.1
2.2
มันสาปะหลัง
-21.7
5.3
-18.3
0.3
27.9
30.2
72.5
1.4
ผลไม้
38.4
11.8
-20.8
47.4
-3.3
10.9
16.8
1.0
สินค้าอุตสาหกรรม
-3.9
-8.7
-2.8
-20.6
-10.1
-1.8
7.8
90.2
อาหาร
2.4
-6.3
3.1
-4.6
-8.8
-13.6
-6.4
6.0
น้าตาล
3.3
-36.4
20.2
-28.0
-49.6
-67.4
-47.6
0.6
ปลากระป๋องและปลาแปรรูป
-1.1
5.5
-3.4
17.9
10.1
-2.3
-2.4
1.1
ผลไม้กระป๋องและแปรรูป
10.0
4.1
12.5
5.0
7.2
-6.0
-4.0
0.4
เครื่องดื่ม
6.8
-4.2
3.8
-11.1
0.3
-8.8
1.4
1.1
ผลิตภัณฑ์ยาง
-8.6
23.4
7.2
23.4
34.1
29.8
53.1
3.6
อาหารสัตว์
4.3
18.7
10.3
24.0
18.0
22.4
27.7
0.9
อิเล็กทรอนิกส์
-6.7
1.3
5.2
-6.8
1.6
4.9
10.7
14.8
- คอมพิวเตอร์
22.0
0.6
11.0
5.8
-14.4
2.6
2.5
0.2
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
-9.4
-2.4
15.0
-9.1
-1.8
-11.4
-5.0
5.3
- แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน
-8.9
-5.7
-6.3
-5.1
-9.7
-1.8
13.9
3.1
เครื่องใช้ไฟฟ้า
1.0
0.2
5.8
-18.8
5.6
9.5
11.1
6.6
- เครื่องปรับอากาศ
4.4
-3.4
14.8
-28.8
-7.2
11.2
9.5
2.7
- เตาไมโครเวฟ เตาอบ
-14.0
24.6
-6.5
6.7
71.8
30.2
19.6
0.3
- ตู้เย็น
7.6
7.1
1.1
-12.8
21.9
18.4
19.3
0.9
- ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า
3.9
2.8
12.6
-4.8
4.7
-0.5
5.7
1.9
ผลิตภัณฑ์โลหะ
-6.8
-5.2
1.7
-20.0
-8.9
7.1
21.8
5.3
ยานยนต์
-3.1
-17.8
-4.7
-47.8
-19.4
0.4
21.2
17.3
- รถยนต์นั่ง
-7.6
-18.6
-7.3
-44.7
-22.9
0.5
13.2
4.4
- รถกระบะและรถบรรทุก
-3.8
-32.5
-21.2
-67.1
-29.5
-10.9
44.8
3.9
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์
-0.7
-13.6
0.7
-45.0
-16.0
6.1
17.7
7.6
เครื่องจักรและอุปกรณ์
-6.2
-8.2
-8.5
-23.4
-9.6
9.3
17.3
8.9
เคมีภัณฑ์
-17.7
-10.9
-14.8
-20.4
-6.7
-0.6
16.6
3.1
ปิโตรเคมี
-8.7
-10.3
-10.7
-18.9
-11.7
0.5
23.8
5.6
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
-22.0
-26.7
-4.5
-42.9
-32.4
-27.3
-6.0
2.7
สินค้าประมง
-6.5
-15.2
-6.7
-12.7
-19.8
-19.9
-8.3
0.5
กุ้ง, ปู, กั้ง และล็อบสเตอร์
-6.3
-21.6
-13.8
-15.3
-27.1
-26.8
-3.2
0.3
ปลา
-6.4
-3.0
2.3
9.4
-11.0
-10.8
-9.5
0.2
สินค้าส่งออกอื่นๆ
80.3
58.7
212.1
68.5
27.3
-38.0
-86.3
0.9
ทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูป
84.9
62.3
223.0
73.3
28.8
-37.5
-88.3
0.7
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร
-2.6
-6.0
1.0
-15.2
-7.8
-2.0
2.3
100.0
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติดุลการชาระเงิน
-3.3
-6.6
1.3
-17.7
-8.2
-1.5
5.3
99.8
มูลค่าสินค้าส่งออกไม่รวมทองคา
-5.0
-9.0
-3.3
-21.3
-10.5
-0.9
11.8
99.1
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 7
Economic Outlook NESDC
การนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มีมูลค่า 56,615 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 9.5 เป็นการกลับมา
ขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 9 ไตรมาส เทียบกับการลดลงร้อยละ 5.9 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับ
การกลับมาขยายตัวของภาคการส่งออกและการลงทุนภาคเอกชน โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7
เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นในเกือบทุกหมวดสินค้า ประกอบด้วย
ปริมาณการนาเข้าในหมวดสินค้าอุปโภคบริโภคและสินค้าทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 และร้อยละ 8.5 ตามลาดับ
ขณะที่หมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางลดลงร้อยละ 0.6 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 3.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ หากไม่รวมการนาเข้าทองคา มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ
5.1 ในรูปของเงินบาท การนาเข้าสินค้ามีมูลค่ารวม 1,715 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า
มูลค่าการนาเข้าในรูป
เงินดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 9.5 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 5.9
สอดคล้องกับการกลับมา
ขยายตัวของการส่งออก
และการลงทุนภาคเอกชน
ตลาดส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YOY 2562 2564 สัดส่วน
Q1/64 (%)
2563
ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
มูลค่าการส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร
(ล้านดอลลาร์ สรอ.) 246,269 231,468 62,725 51,698 58,653 58,392 64,148 100.0
(%YoY) -2.6 -6.0 1.0 -15.2 -7.8 -2.0 2.3
สหรัฐอเมริกา 11.8 9.6 -2.6 8.9 17.6 16.0 12.5 15.0
ญี่ปุ่น -1.7 -6.7 -5.5 -13.5 -12.2 4.2 6.2 10.0
สหภาพยุโรป (27) ไม่รวมสหราชอาณาจักร -6.0 -10.6 -2.3 -28.0 -10.5 -1.8 10.7 8.6
สหราชอาณาจักร -5.4 -19.8 -8.0 -41.6 -19.4 -9.9 -9.0 1.4
จีน -3.8 2.0 -0.9 12.1 -0.2 -2.6 20.6 12.5
อาเซียน (9) -8.3 -11.7 4.2 -22.4 -14.9 -13.6 -5.5 23.9
- อาเซียน (5)* -9.8 -12.2 5.3 -19.7 -19.0 -15.0 -10.2 12.9
- CLMV** -6.3 -11.1 2.8 -25.9 -9.2 -12.0 0.6 11.0
ตะวันออกกลาง (15) 0.4 -13.3 2.8 -19.7 -24.2 -13.0 -4.5 3.4
ออสเตรเลีย -5.1 -3.9 -2.3 -15.9 -8.9 14.8 19.8 4.6
ฮ่องกง -3.8 -3.6 12.3 -8.6 -13.9 -2.0 -19.3 3.9
อินเดีย -6.5 -25.2 -11.4 -67.2 -21.6 9.0 8.0 3.0
เกาหลีใต้ -4.3 -10.3 -4.9 -25.3 -7.1 -0.7 19.5 2.1
ไต้หวัน 0.9 -5.6 13.5 -11.9 -14.7 -5.8 9.8 1.7
หมายเหตุ: * อาเซียน (5) ประกอบด้วย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
Q1/59 Q1/60 Q1/62 Q1/62 Q1/63 Q1/64
%YoY ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคานาเข้า
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
Q1/59 Q1/60 Q1/62 Q1/62 Q1/63 Q1/64
%YoY สินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
8
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
ในรายหมวด มูลค่าการนาเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค สินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง สินค้าทุนและสินค้านาเข้าอื่น ๆ ปรับตัวเพิ่มขึ้นทุกหมวดสินค้า โดยมูลค่าการนาเข้าหมวดอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 และราคาการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น อาหาร เครื่องดื่มและผลิตภัณฑ์นม ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และประมง และยาและเวชภัณฑ์ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของราคานาเข้าร้อยละ 9.0 ในขณะที่ปริมาณการนาเข้าลดลงร้อยละ 0.6 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า วัสดุที่ทาด้วยโลหะ และเคมีภัณฑ์ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าทุนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 8.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 และราคาการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น เครื่องจักรกลอื่น ๆ และชิ้นส่วน และอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอื่น ๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของการนาเข้าหมวดทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ) และหมวดยานยนต์ ร้อยละ 135.5 และร้อยละ 9.5 ตามลาดับ
สินค้านาเข้าสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2562
2563
2564
สัดส่วน Q1/64 (%)
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
สินค้าอุปโภคบริโภค
3.0
-8.2
-0.6
-15.4
-12.1
-4.6
3.7
10.4
ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และประมง
5.2
4.0
11.1
-0.3
1.4
4.0
1.0
2.5
อาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์นม
-4.1
-8.9
-12.5
-25.7
-8.5
13.9
13.5
1.6
ยาและเวชภัณฑ์
-4.3
-0.4
0.8
8.9
-1.0
-10.0
3.5
1.2
สิ่งทอ
3.5
-13.6
-2.0
-22.6
-17.6
-12.4
4.2
1.1
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
-7.2
-11.6
-2.0
-23.9
-17.6
-2.0
8.3
54.8
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า
-5.9
1.6
1.4
-3.2
-0.03
8.2
13.8
13.2
วัสดุที่ทาด้วยโลหะ
-6.1
-16.6
-6.3
-27.1
-27.2
-4.2
26.3
9.5
น้ามันดิบ
-21.2
-20.0
3.3
-52.8
-28.1
2.2
-13.7
8.4
เคมีภัณฑ์
-8.0
-4.7
-3.7
-10.5
-12.8
10.2
18.8
6.0
พลาสติก
-5.5
-7.3
-2.6
-7.6
-19.9
1.6
17.8
3.8
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
7.8
-41.6
-12.9
-63.8
-29.4
-53.2
6.3
2.3
สินค้าทุน
-2.2
-12.0
-4.1
-18.3
-16.8
-8.9
10.1
22.0
เครื่องจักรกลอื่นๆ และชิ้นส่วน
2.1
-11.7
0.7
-21.0
-18.7
-7.7
1.2
8.3
อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม
-9.4
-4.6
-12.3
-1.4
7.4
-9.2
40.4
4.0
หม้อแปลง เครื่องกาเนิดไฟฟ้า มอเตอร์ และเครื่องเก็บประจุไฟฟ้า
-8.7
-4.7
-4.4
-13.0
-13.9
13.0
19.6
1.9
เครื่องชั่ง ตวง วัด
8.8
-16.5
-13.8
-31.2
-25.1
5.7
10.8
1.5
คอมพิวเตอร์
12.0
-1.6
-14.1
8.1
-1.6
-0.6
44.9
1.0
อุปกรณ์สานักงาน (ยกเว้นคอมพิวเตอร์)
0.2
2.6
-12.8
-21.3
13.1
32.5
25.5
0.5
สินค้านาเข้าอื่นๆ
-5.6
-21.5
-6.4
-45.9
-35.7
-3.3
18.1
12.8
ทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ)
-33.4
-33.3
17.5
-76.1
-60.8
-4.1
135.5
6.4
ยานยนต์
3.9
-22.8
-5.5
-39.3
-37.4
-10.0
9.5
5.0
มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติศุลกากร
-4.8
-12.4
-2.9
-23.8
-18.6
-4.2
9.4
100.0
มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติดุลการชาระเงิน
-5.6
-13.5
-3.1
-25.0
-19.4
-5.9
9.5
89.0
มูลค่าสินค้านาเข้า (ไม่รวมทองคา)
-4.1
-12.7
-3.7
-23.1
-17.8
-6.0
5.1
82.6
มูลค่าการนาเข้า (ในรูปเงินบาท)
-9.3
-12.9
-4.2
-24.1
-17.8
-4.9
6.0
89.0
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
9
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
อัตราการค้า (Term of Trade) ปรับตัวลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า เนื่องจากราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกร้อยละ 2.1 ส่งผลให้อัตราการค้าลดลงจากระดับ 109.1 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า เป็นระดับ 108.6 ในไตรมาสแรกของปี 2564
อัตราการค้าปรับตัวลดลงจากไตรมาสเดียวกันของ ปีก่อน
ดุลการค้าเกินดุล 7.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุล ในไตรมาสก่อนหน้า และไตรมาสเดียวกันของ ปีก่อน
อัตราการค้า
%YoY
2562
2564
2563
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
อัตราการค้า*
106.7
110.2
109.1
111.9
109.7
110.0
108.6
%YOY
0.1
3.2
1.8
4.9
2.8
3.3
-0.5
หมายเหตุ : *อัตราการค้า (Terms of Trade : TOT) คือ ราคาสินค้าส่งออกเทียบกับราคาสินค้านาเข้าของแต่ละประเทศ หาก TOT ปรับดีขึ้น หมายถึงประเทศนั้น ๆ ได้ประโยชน์มากขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากสินค้าที่ส่งออกได้ราคาสูงขึ้นเทียบกับราคาที่นาเข้า ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดุลการค้า ในไตรมาสแรกของปี 2564 ดุลการค้าเกินดุล 7.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (224.3 พันล้านบาท) ต่ากว่าการเกินดุล 8.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (252.6 พันล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า และการเกินดุล 9.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (286.7 พันล้านบาท) ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้า
%YoY
2562
2564
2563
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
สินค้าอุปโภคบริโภค
2.2
-0.2
2.4
8.2
-1.3
-9.4
-2.1
-16.2
-13.1
-6.2
0.7
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
-5.9
-1.0
-5.4
-4.6
-12.6
-6.3
2.1
-14.2
-13.4
1.1
-0.6
สินค้าทุน
-3.2
-9.0
-5.4
2.1
-0.3
-13.1
-5.7
-19.4
-17.5
-9.8
8.5
ดัชนีปริมาณนาเข้ารวม
-5.8
-3.1
-3.9
-7.3
-8.7
-10.1
-1.0
-19.6
-16.5
-2.8
6.7
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดัชนีราคาสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
ดัชนีราคาสินค้านาเข้า
%YoY
2562
2564
2563
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
สินค้าอุปโภคบริโภค
0.8
0.1
0.4
1.1
1.5
1.3
1.5
1.0
1.1
1.7
2.9
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
-1.3
0.4
-0.6
-3.3
-1.8
-5.8
-4.0
-11.3
-4.9
-3.0
9.0
สินค้าทุน
1.1
-0.1
0.3
1.7
2.3
1.2
1.7
1.3
0.9
1.0
1.5
ดัชนีราคานาเข้ารวม
0.3
0.2
-0.03
0.1
0.8
-3.8
-2.1
-6.6
-3.4
-3.2
2.6
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 10
Economic Outlook NESDC
ด้านการผลิต
สาขาเกษตรกรรม ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ที่ร้อยละ 1.9 ปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก
การขยายตัวร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย และปริมาณน้า
ที่เพียงพอต่อการเพาะปลูก สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรร้อยละ 1.3 โดยผลผลิต
สินค้าเกษตรที่ขยายตัว ได้แก่ (1) ข้าวเปลือก เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 เนื่องจากตั้งแต่ช่วงไตรมาสที่สองของปี 2563
เป็นต้นมา มีปริมาณน้าฝนมากกว่าปีที่ผ่านมา และเอื้ออานวยต่อการปลูกข้าวนาปีรอบที่สอง ซึ่งทาให้ผลผลิต
ข้าวออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น (2) กลุ่มไม้ผล เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 เนื่องจากสภาพอากาศเอื้ออานวยต่อการเพาะปลูก
โดยเฉพาะทุเรียน ซึ่งมีแรงจูงใจทางด้านราคาประกอบกับมีพื้นที่ปลูกทุเรียนใหม่ในปี 2558 ที่เริ่มให้ผลผลิตได้
ในปีนี้เพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับลาไยที่ปลูกในปี 2560 เริ่มให้ผลผลิตในปีนี้ (3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพิ่มขึ้นร้อยละ
21.4 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของราคาสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรเพิ่มเนื้อที่เพาะปลูก (4) สุกร เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0
เนื่องจากเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรมีการบริหารจัดการฟาร์มที่ได้มาตรฐาน การเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกัน
โรคระบาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับมีปัจจัยด้านราคาที่จูงใจให้เกษตรกรขยายการผลิตอย่างต่อเนื่อง
และ (5) มันสาปะหลัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5 เนื่องจากเกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกมันสาปะหลัง เพื่อรองรับ
ความต้องการของตลาดที่เพิ่มขึ้น และเกษตรกรสามารถแก้ปัญหาการระบาดของโรคใบด่าง อย่างไรก็ตาม
ยังมีผลผลิตที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ อ้อย (ลดลงร้อยละ 9.7) กุ้งขาวแวนนาไม (ลดลงร้อยละ 13.2) และ
ปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 7.3) เป็นต้น ดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.7 และเป็นการขยายตัว
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ เช่น (1) ยางพารา เพิ่มขึ้นร้อยละ
42.7 เนื่องจากความต้องการใช้ยางธรรมชาติปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ประกอบกับราคา
น้ามันดิบในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น (2) กลุ่มไม้ผล เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.8 โดยเฉพาะทุเรียนซึ่งมีความต้องการ
บริโภคเพิ่มขึ้นทั้งในและต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง (3) อ้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.4 เนื่องจากปริมาณผลผลิต
ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ประกอบกับคุณภาพผลผลิตอ้อยอยู่ในเกณฑ์ดี (4) สุกร เพิ่มขึ้นร้อยละ
9.6 เนื่องจากความต้องการบริโภคเนื้อสุกรจากตลาดในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และ (5) ปาล์มน้ามัน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.5 เนื่องจากปริมาณผลผลิตปาล์มน้ามันปรับตัวลดลง ประกอบกับสต็อกน้ามันปาล์มดิบ
ภายในประเทศปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัว
ลดลง เช่น ราคาข้าวเปลือก (ลดลงร้อยละ 7.2) ราคาไก่เนื้อ (ลดลงร้อยละ 11.1) และราคาไข่ไก่ (ลดลงร้อยละ
0.7) เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของทั้งดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้
เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 10.8
การผลิตสาขา
เกษตรกรรมขยายตัว
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2
และสาขาการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรมกลับมา
ขยายตัวเป็นครั้งแรก
ในรอบ 7 ไตรมาส
สาขาก่อสร้างขยายตัว
ในเกณฑ์สูง ส่วนการผลิต
สาขาการขนส่งและ
สถานที่เก็บสินค้า
สาขาไฟฟ้าและก๊าซฯ
และสาขาการขายส่ง
การขายปลีกและ
การซ่อมแซมฯ ลดลง
น้อยกว่าการลดลง
ในไตรมาสก่อนหน้า
ในขณะที่การผลิตสาขา
ที่พักแรมและบริการ
ด้านอาหารยังคงลดลงมาก
สาขาเกษตรกรรมเพิ่มขึ้น
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2
ร้อยละ 1.9 เนื่องจาก
สภาพอากาศที่เอื้ออานวย
และปริมาณน้าที่เพียงพอ
ต่อการเพาะปลูก และราคา
สินค้าเกษตรหลายรายการ
ปรับตัวดีขึ้น ซึ่งส่งผลให้ดัชนี
รายได้เกษตรกรโดยรวม
เพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง
เป็นไตรมาสที่ 3
-20
-10
0
10
20
Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 Q1/64
(%YoY)
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาสินค้าเกษตร
ดัชนีรายได้เกษตรกร
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8
ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและราคาสินค้าเกษตร
ราคายางพารา อ้อย ปาล์มน้ามัน และมันสาปะหลังปรับตัวเพิ่มขึ้น
ในขณะที่ราคาข้าวเปลือกปรับตัวลดลง
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
-100
-50
0
50
100
150
Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 Q1/64
(%YoY) ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง
ยางแผ่นดิบชั้น 3 ปาล์มน้ามัน
อ้อย (RHS)
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 11
Economic Outlook NESDC
สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม: กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาสที่ร้อยละ 0.7 ปรับตัวดีขึ้น
จากการลดลงร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการกลับมาขยายตัวของการส่งออกและ
การลงทุนภาคเอกชน และสอดคล้องกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 9 ไตรมาส
ที่ร้อยละ 0.3 โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่า
ร้อยละ 30) ขยายตัวร้อยละ 1.4 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า การผลิตสาคัญ ๆ
ที่ขยายตัว ได้แก่ การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.7 การผลิตอาหารสัตว์สาเร็จรูป
เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.5 และการผลิตปุ๋ยเคมีและสารประกอบไนโตรเจนเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.1 อย่างไรก็ตาม การผลิต
ผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และปูนปลาสเตอร์ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 5.2 และดัชนีผลผลิต
อุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) กลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ
เป็นครั้งแรกในรอบ 10 ไตรมาสที่ร้อยละ 0.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิต
เฟอร์นิเจอร์เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.3 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 13.2 ในไตรมาสก่อนหน้า การผลิต
ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ขยายตัวร้อยละ 5.4 และการผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงขยายตัว
รอ้ ยละ 6.5 อยา งไรกต็ ม การผลติ เสอื้ ผ้าเครอื่ งแตง่ กาย (ยกเวน้ รา นตดั เยบ็ เสอื้ ผ้า) ลดลงรอ้ ยละ 17.5 เป็นการลดลง
ตอ่ เนอื่ งเป็นไตรมาสที่ 5 ในขณะทดั่ชนผี ลผลติ อตุ สาหกรรมทมี่ สี ดั สว่ นการสง่ ออกในชว่ งรอ้ ยละ 30 ? 60 ลดลง
ร้อยละ 0.5 เป็นการลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ตามการปรับตัวลดลงของการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก
การกลั่นปิโตรเลียมที่ลดลงร้อยละ 13.9 เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น
ขยายตัวร้อยละ 10.9 การผลิตยานยนต์ขยายตัวร้อยละ 2.7 และการผลิตเครื่องใช้ในครัวเรือนขยายตัวร้อยละ
14.5 สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 67.09 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 63.77 ในไตรมาส
ก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 66.94 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยอุตสาหกรรมที่มีการใช้กาลังการผลิต
สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ร้อยละ 99.36) การผลิตชิ้นส่วนและ
อุปกรณ์เสริมสาหรับยานยนต์ (ร้อยละ 88.90) การผลิตน้าตาล (ร้อยละ 86.42) การผลิตเยื่อกระดาษ กระดาษ
และกระดาษแข็ง (ร้อยละ 83.81) และการฆ่าสัตว์ปีกและการผลิตเนื้อสัตว์ปีกสด (ร้อยละ 83.13) ตามลาดับ
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ร้อยละ 14.7)
การผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ร้อยละ 29.3) การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ร้อยละ 10.9) การผลิตยานยนต์
(ร้อยละ 2.7) การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 5.4) การผลิตอาหารสัตว์สาเร็จรูป (ร้อยละ
9.5) การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ร้อยละ 6.5) การผลิตเครื่องใช้ในครัวเรือน (ร้อยละ 14.5)
การผลิตน้าตาล (ร้อยละ 6.8) และการผลิตจักรยานยนต์ (ร้อยละ 12.9) เป็นต้น
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ลดลงร้อยละ
13.9) การผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย (ยกเว้นร้านตัดเย็บเสื้อผ้า) (ลดลงร้อยละ 17.5) การทอผ้า (ลดลงร้อยละ 17.2)
การผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ลดลงร้อยละ 6.6) การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และ
ปูนปลาสเตอร์ (ลดลงร้อยละ 5.2) การผลิตมอลต์และสุราที่ทาจากข้าวมอลต์ (ลดลงร้อยละ 11.8) การผลิต
บรรจุภัณฑ์พลาสติก (ลดลงร้อยละ 5.7) การแปรรูปและการถนอมผลไม้และผัก (ลดลงร้อยละ 6.6) การเตรียมและ
การปนั่ เสน้ ใยสงิ่ ทอ (ลดลงรอ้ ยละ 15.5) และการผลติ เภสชั ภณั ฑ  เคมภี ณั ฑท์ ใ ช้รกั ษาโรค (ลดลงรอ้ ยละ 8.4) เป็นตน้
สาขาการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรมกลับมา
ขยายตัวครั้งแรกในรอบ
7 ไตรมาสที่ร้อยละ 0.7
ตามการกลับมาขยายตัว
ของอุตสาหกรรมการผลิต
เพื่อบริโภคภายในประเทศ
และอุตสาหกรรมการผลิต
เพื่อส่งออก ในขณะที่
อุตสาหกรรมการผลิตที่มี
สัดส่วนส่งออกในช่วง
ร้อยละ 30 ? 60 ยังคง
ลดลงอย่างต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 8
อัตราการใช้กาลังการผลิต
เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 67.09
เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 63.77
ในไตรมาสก่อนหน้า และ
สูงกว่าร้อยละ 66.94
ในไตรมาสเดียวกันของ
ปีก่อน
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3
อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 67.09
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
-60.0
-50.0
-40.0
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
0.0
20.0
40.0
60.0
80.0
100.0
Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 Q1/64
%Cap U (แกน ย) MPI
Export<30% Export 30-60%
Export>60%
(ร้อยละ) (%YoY)
รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในไตรมาสแรกของปี 2564
ณ ขณะนี้ยังไม่มีการเผยแพร่
ที่มา: กระทรวงการท่องเที่ยวและกี
-120
-90
-60
-30
0
30
0.0
0.2
0.4
0.6
60 61 62 63 64
(ล้านล้านบาท) (ร้อยละ)
รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ %YoY (แกนขวา)
มาตรการ VOA
(1 พ.ค. ? 31 ต.ค. 62)
มาตรการ VOA
(14 ม.ค. 30 เม.ย. 62)
มาตรการ VOA
(15 พ.ย. 61 13 ม.ค. 62)
เหตุเรือล่มที่จังหวัดภูเก็ต
(5 ก.ค. 61)
มาตรการ VOA
(1 ธ.ค. 59 28 ก.พ. 60)
มาตรการ VOA
(1 มี.ค. 31 ส.ค. 60)
มาตรการ VOA
(1 พ.ค. ? 31 ต.ค. 62)
มาตรการ VOA
(1 พ.ย. 62 ? 30 เม.ย. 63)
การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโควิด 19
การไม่อนุญาตให้นักท่องเที่ยว
ต่างประเทศเดินทางเข้ประเทศ
เป็นเวลา 6 เดือน
12
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร: ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ที่ร้อยละ 35.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 35.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงอย่างต่อเนื่องของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ที่ทาให้การท่องเที่ยวภายในประเทศลดลงมากกว่าไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสนี้ มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวจานวน 20,172 คน ลดลงร้อยละ 99.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 99.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจากการดาเนินมาตรการเปิดประเทศสาหรับนักท่องเที่ยวประเภทพิเศษ (Special Tourist VISA : STV) (รวมนักท่องเที่ยวกลุ่ม Thailand Privilege Card) ส่วนรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยอยู่ที่ 0.093 ล้านล้านบาท ลดลงร้อยละ 51.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 45.1 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการระบาดของ โรคโควิด-19 ระลอกใหม่ สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 16.15 ลดลงจากร้อยละ 32.49 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 52.40 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
สาขาการขายส่ง การขายปลีก และการ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์: ลดลงร้อยละ 2.1 ปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ จากการลดลงร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวดีขึ้นของกิจกรรมการผลิตสาขาเกษตร สาขาอุตสาหกรรม และภาคการส่งออก และสอดคล้องกับการลดลงของดัชนีรวมการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ที่ร้อยละ 2.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีการขายปลีก (ยกเว้น ยานยนต์และจักรยานยนต์) ลดลงร้อยละ 6.0 น้อยกว่าการลดลงร้อยละ 7.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยหมวดการขายปลีกเครื่องใช้อื่น ๆ ในครัวเรือนลดลงร้อยละ 7.9 (เช่น การขายปลีกวัสดุก่อสร้างฯ เป็นต้น) แต่น้อยกว่าการลดลงร้อยละ 11.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และหมวดการขายปลีกเชื้อเพลิงยานยนต์ฯ ลดลงร้อยละ 7.3 แต่น้อยกว่าการลดลงร้อยละ 14.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่หมวดการขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 5.9 เป็นสาคัญ ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) ลดลงร้อยละ 2.1 น้อยกว่าการลดลงร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยหมวดการขายส่งสินค้าในครัวเรือนลดลงร้อยละ 5.8 (เช่น การขายส่งนาฬิกา เครื่องประดับเพชรพลอย เป็นต้น) เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่หมวดการขายส่งสินค้าเฉพาะทางอื่น ๆ ขยายตัวร้อยละ 7.5 (เช่น การขายส่งเคมีภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม เป็นต้น) ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นการขยายตัวต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 2 โดยหมวดการขายชิ้นส่วนและอุปกรณ์เสริมของยานยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.8 และหมวด การขายยานยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 เป็นสาคัญ
สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า: ลดลงร้อยละ 17.7 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 21.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของบริการขนส่ง เป็นสาคัญึ่งได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการขนส่งทางอากาศ โดยในไตรมาสนี้บริการขนส่งลดลงร้อยละ 19.9 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 23.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ประกอบด้วย (1) บริการขนส่งทางอากาศลดลงร้อยละ 61.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 68.1 ในไตรมาสก่อนหน้า (2) บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียงลดลงร้อยละ 11.0 น้อยกว่าการลดลงร้อยละ 12.7 ในไตรมาสก่อนหน้า (3) บริการขนส่งทางน้าลดลงร้อยละ 3.2 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ประกอบกับบริการสนับสนุนการขนส่งลดลงร้อยละ 18.7 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 22.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่บริการไปรษณีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.9 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 27.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับรายรับของผู้ประกอบการที่ขยายตัวต่อเนื่องในเกณฑ์สูง
สาขาไฟฟ้า ก๊า และระบบปรับอากาศ: ลดลงร้อยละ 9.1 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 13.3 ในไตรมาส ก่อนหน้า สอดคล้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ยังได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 และ การลดลงของอุณหภูมิเฉลี่ย โดย (1) กิจกรรมการผลิตไฟฟ้าลดลงร้อยละ 9.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 13.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของปริมาณการใช้ไฟฟ้าในภาคครัวเรือน สอดคล้องกับอุณหภูมิเฉลี่ยของประเทศที่อยู่ในระดับต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และการลดลงต่อเนื่องของปริมาณการใช้ไฟฟ้า ในภาคธุรกิจ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ปริมาณการใช้ไฟฟ้าในภาคอุตสาหกรรมขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 สอดคล้องกับการเพิ่มสูงขึ้นของอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยในอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ได้แก่ การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น และการผลิตน้าตาล เป็นต้น (2) กิจกรรมโรงแยกก๊าซลดลงร้อยละ 0.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 8.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับปริมาณก๊าซที่ส่งเข้าโรงแยกก๊าซ และความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติเพื่อเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าและภาคขนส่ง ซึ่งปรับตัวลดลงน้อยกว่าการลดลงในไตรมาสก่อนหน้า
สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 35.0 ตามการลดลงของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศและ การท่องเที่ยวในประเทศ
อัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 16.15 ลดลงจากร้อยละ 32.49 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 52.40 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
สาขาการขายส่ง การขายปลีกและการซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 2.1 แต่น้อยกว่าการลดลงร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวของกิจกรรมการผลิต สาขาเกษตรกรรม สาขาอุตสาหกรรม และภาคการส่งออก
สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 17.7 ตามการลดลงของบริการขนส่ง เป็นสาคัญ โดยเฉพาะบริการขนส่งทางอากาศ ซึ่งได้รับผลกระทบจาก การแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19 ระลอกใหม่
สาขาไฟฟ้า ก๊าซ และระบบปรับอากาศลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 9.1 ตามการลดลงของกิจกรรมการผลิตไฟฟ้าและกิจกรรมโรงแยกก๊าซ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการลดลงของอุณหภูมิเฉลี่ย และ การระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 13
Economic Outlook NESDC
สาขาการก่อสร้าง: ขยายตัวร้อยละ 12.7 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า
ตามการก่อสร้างภาครัฐที่กลับมาขยายตัวในเกณฑ์สูง ส่วนการก่อสร้างภาคเอกชนลดลงในอัตราที่ช้าลง
โดยการก่อสร้างภาครัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.1 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า
(การก่อสร้างของรัฐบาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.9 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 19.0 ในไตรมาสก่อนหน้า
ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 2.2 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 19.4 ในไตรมาสก่อนหน้า)
อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างภาคเอกชนลดลงร้อยละ 0.4 แต่น้อยกว่าการลดลงร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า
โดยเป็นผลมาจากการลดลงของการก่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัย และการก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัย
(เช่น อาคารพาณิชย์ และอาคารโรงงาน) ในขณะที่การก่อสร้างในหมวดการบริการและขนส่ง และการก่อสร้างอื่น ๆ
ยังคงขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ
3.2 ตามการเพิ่มของดัชนีราคาหมวดเหล็ก (เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.8) และหมวดกระเบื้องปูพื้นและแผ่นเซรามิก
(เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2) เป็นสาคัญ
ผู้มีงานทา: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ตามการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของผู้มีงานทาในภาคเกษตร
เป็นสาคัญ ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตรปรับตัวลดลง ส่วนอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก
ไตรมาสก่อนหน้า และอยู่ในระดับสูงกว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสแรกของปี 2564 จานวน
ผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องร้อยละ 0.4 โดยผู้มีงานทาภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 29.46) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8
และเป็นการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญ
บางรายการ เช่น ข้าวเปลือก และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ
70.54) ลดลงร้อยละ 0.5 ตามการลดลงของผู้มีงานทาในสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (ลดลงร้อยละ 2.1) สาขา
การขายส่ง การขายปลีก และการซ่อมยานยนต์ฯ (ลดลงร้อยละ 0.9) และสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร
(ลดลงร้อยละ 0.2) เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม ผู้มีงานทาในสาขาการก่อสร้างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3
ร้อยละ 4.5 อัตราการว่างงานในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 2.0 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับร้อยละ 1.9 ในไตรมาส
ก่อนหน้า และสูงกว่าอัตราการว่างงานร้อยละ 1.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 7.6
แสนคน เทียบกับผู้ว่างงานจานวน 3.9 แสนคนในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
สาขาการก่อสร้างกลับมา
ขยายตัวในเกณฑ์สูง
ร้อยละ 12.7
ตามการขยายตัวของ
การก่อสร้างภาครัฐ
โดยเป็นการขยายตัว
ทั้งการก่อสร้างของรัฐบาล
และการก่อสร้างของ
รัฐวิสาหกิจ
ส่วนการก่อสร้าง
ภาคเอกชนยังคงลดลง
ต่อเนื่อง แต่ปรับตัวดีขึ้น
เมื่อเทียบกับการลดลง
ในไตรมาสก่อนหน้า
จานวนผู้มีงานทาปรับตัว
เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 0.4
ตามการเพิ่มขึ้นของ
ผู้มีงานทาภาคเกษตร
เป็นสาคัญ ในขณะที่
ผู้มีงานทานอกภาคเกษตร
ปรับตัวลดลงครั้งแรก
ในรอบ 3 ไตรมาส
อัตราการว่างงานอยู่ที่
ร้อยละ 2.0 เพิ่มขึ้น
เล็กน้อยจากไตรมาส
ก่อนหน้าและอยู่ใน
ระดับสูงกว่าไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน
0.0
0.6
1.2
1.8
2.4
36.0
36.4
36.8
37.2
37.6
38.0
38.4
38.8
1Q60 1Q61 1Q62 1Q63 1Q64
การจ้างงาน (แกน้าย) อัตราการว่างงาน (แกนขวา)
(ล้านคน) (%)
ผู้มีงานทาขยายตัวร้อยละ 0.4 ตามการขยายตัวของภาคเกษตร
อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 2.0
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)
การจ้างงานจาแนกตามสาขาการผลิต
%YOY สัดส่วน
Q1/64
2562 2563 2564
ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
ผู้มีงานทารวม 100.00 -0.7 0.2 -0.7 -1.9 1.2 2.2 0.4
- ภาคเกษตร 29.46 -2.9 -0.2 -3.7 -0.3 -0.1 3.4 2.8
- นอกภาคเกษตร 70.54 0.4 0.4 0.5 -2.5 1.8 1.6 -0.5
อุตสาหกรรม 16.26 -2.1 -2.3 -1.4 -4.4 -1.4 -2.4 -2.1
ก่อสร้าง 6.44 3.7 1.9 -0.2 -6.3 6.6 9.0 4.5
สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ฯ 16.74 -.05 0.5 -1.1 -1.0 4.6 -0.2 -0.9
ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 7.74 0.8 0.9 3.7 -2.8 -0.4 2.4 -0.2
กาลังแรงงานรวม (ล้านคน) 38.2 38.6 38.2 38.2 38.7 39.1 38.8
จานวนผู้มีงานทา (ล้านคน) 37.6 37.7 37.4 37.1 37.9 38.3 37.6
จานวนผู้ว่างงาน (แสนคน) 0.37 0.65 0.39 0.75 0.74 0.73 0.76
อัตราการว่างงาน (%) 1.0 1.7 1.0 2.0 1.9 1.9 2.0
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 14
Economic Outlook NESDC
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2564 (มกราคม ? มีนาคม 2564) รัฐบาลจัดเก็บ
รายได้สุทธิ 491,755.5 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 8.0 โดยการจัดเก็บรายได้ของ
กรมสรรพากรลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.3 เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้รับผลกระทบ
จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 รวมทั้งการดาเนินมาตรการการเงินการคลังเพื่อบรรเทาผลกระทบและ
เพิ่มสภาพคล่องให้ประชาชนและภาคธุรกิจ ได้แก่ (1) การขยายระยะเวลายื่นแบบแสดงรายการชาระภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตออกไปจากภายในวันที่ 31 มีนาคม 2564 เป็นภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2564
(2) การขยายระยะเวลายื่นแบบแสดงรายการชาระภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย จากเดิม
ที่ผู้ประกอบการต้องนาส่งทุกวันที่ 7 ของเดือน และภายใน 7 วันนับตั้งแต่มีการจ่าย สาหรับภาษีมูลค่าเพิ่ม
และภาษีหัก ณ ที่จ่าย เป็นทุกวันสิ้นเดือน และ (3) การดาเนินมาตรการภาษีอากรและค่าธรรมเนียมเพื่อช่วย
ลดภาระภาษีและเสริมสภาพคล่องให้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการ อาทิ โครงการ "ช้อปดีมีคืน" มาตรการ
เพิ่มวงเงินหักค่าลดหย่อนค่าเบี้ยประกันสุขภาพ และมาตรการสนับสนุนสินเชื่อเงื่อนไขผ่อนปรนให้แก่ประชาชน
และผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม
การจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิตลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 10.0 ตามการลดลงของ
การจัดเก็บภาษีในรายการสินค้าสาคัญทุกรายการ ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการปรับลดอัตราภาษีน้ามันเครื่องบิน
ไอพ่นจาก 4.726 บาทต่อลิตร เป็น 0.20 บาทต่อลิตร เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบธุรกิจสายการบิน และการเร่งชาระ
ภาษียาสูบในช่วงเดียวกันของปีก่อนซึ่งผู้ประกอบการคาดว่าหน่วยงานราชการจะหยุดทาการหลังการประกาศใช้
พระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
การนาส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจลดลงร้อยละ 40.7 เนื่องจากการดาเนินกิจการของรัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่ได้รับ
ผลกระทบจากโรคโควิด-19 โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่ที่ต้องนาส่งรายได้ระหว่างกาลปี 2563 เช่น
บริษัทท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง
บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นต้น
รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2564 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,018,711.9 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกัน
ของปีก่อนร้อยละ 10.8 และต่ากว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณร้อยละ 10.7 โดยการจัดเก็บรายได้
ของกรมสรรพากร การนาส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจ และการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิตต่ากว่าประมาณการ
ตามเอกสารงบประมาณร้อยละ 9.4 ร้อยละ 42.3 และร้อยละ 8.3 ตามลาดับ
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล
ใน 6M/FY2564 ต่ากว่า
ช่วงเดียวกันของปีก่อนและ
ต่ากว่าประมาณการร้อยละ
10.8 และร้อยละ 10.7
ตามลาดับ
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล
ใน Q2/FY2564 ลดลง
ตามการจัดเก็บรายได้ของ
กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
และการนาส่งรายได้ของ
รัฐวิสาหกิจ
ด้านการคลัง
1 การใช้จ่ายของรัฐบาลประกอบด้วยการเบิกจ่ายจาก (1) งบประมาณรายจ่ายประจาปี (2) งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี (3) งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ของ สคร.
ซึ่งไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี และ
(4) เงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19
-40
-20
0
20
40
60
80
100
-400,000
-200,000
0
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
58 59 60 61 62 63 64
ที่มา: GFMIS
การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี
การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2564 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายงบประมาณทั้งสิ้น
954,625.6 ล้านบาท1 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 โดยการเบิกจ่ายรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0
และร้อยละ 15.3 ตามลาดับ (1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2564 จานวน 612,993.1 ล้านบาท
ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีงบประมาณก่อนร้อยละ 24.4 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 18.7 (ต่ากว่า
ร้อยละ 25.3 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการเร่งเบิกจ่ายหลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. งบประมาณ
รายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2563) จาแนกเป็น รายจ่ายประจา 526,486.0 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของ
ปีก่อนร้อยละ 29.5 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 20.0 (ต่ากว่าร้อยละ 28.2 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
อัตราการเบิกจ่าย
งบประมาณรายจ่าย
ประจาปีใน Q2/FY2564
อยู่ที่ร้อยละ 18.7 โดยมี
อัตราการเบิกจ่ายรายจ่าย
ประจาและรายจ่ายลงทุน
ร้อยละ 20.0 และร้อยละ
13.3 ตามลาดับ
การใช้จ่ายของรัฐบาลใน
Q2/FY2564 เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 4.2 โดยการเบิกจ่าย
รายจ่ายลงทุน งบลงทุน
รัฐวิสาหกิจ และเงินกู้
COVID-19 เพิ่มขึ้น
18.7
13.3
0
5
10
15
20
25
30
35
Q2-54 Q2-55 Q2-56 Q2-57 Q2-58 Q2-59 Q2-60 Q2-61 Q2-62 Q2-63 Q2-64
ร้อยละ
ที่มา: GFMIS
อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีในไตรมาสที่สอง
เทียบกับอัตราการเบิกจ่ายเฉลี่ย
เฉลี่ย = 22.1
เฉลี่ย = 17.8
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 15
Economic Outlook NESDC
หมวดรายจ่ายประจาที่มีการเบิกจ่ายลดลง ได้แก่ หมวดงบรายจ่ายอื่น เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ และเงินอุดหนุนทั่วไป
รายจา ยลงทนุ 86,507.1 ลา นบาท เพิม่ ขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 34.3 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ
13.3 (สูงกว่าร้อยละ 11.6 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน) หมวดรายจ่ายลงทุนที่มีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น ได้แก่
หมวดที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ งบลงทุน และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
(2) การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 54,017.1 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของ
ปีก่อนร้อยละ 14.0 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 25.0 สูงกว่าร้อยละ 23.9 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
(3) การเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (ไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)) จานวน 49,023.0 ล้านบาท2
เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้าร้อยละ 9.2 เนื่องจากการปรับเพิ่มแผนการลงทุนของการรถไฟ
แห่งประเทศไทย และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นสาคัญ และ (4) การเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้พระราชกาหนดให้
อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจาก
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 วงเงิน 1 ล้านล้านบาท จานวน 242,803.4 ล้านบาท
รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2564 มีการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐรวม 2,117,200.1 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 18.1 ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย
ประจาปี 2564 จานวน 1,551,426.6 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 47.2 ต่ากว่าร้อยละ 48.1 ในช่วง
เดียวกันของปีก่อน) แบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา 1,391,677.9 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ
52.8 ต่ากว่าร้อยละ 54.8 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) และการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน 159,748.6 ล้านบาท
(อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 24.6 สูงกว่าร้อยละ 16.3 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) (2) การเบิกจ่ายงบประมาณ
กันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 133,915.9 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 62.1) (3) การเบิกจ่ายงบลงทุน
รัฐวิสาหกิจ (ไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)) จานวน 135,952.6 ล้านบาท3 และ (4) การเบิกจ่าย
เงินกู้ภายใต้พระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจ
และสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 วงเงิน 1 ล้านล้านบาท
จานวน 303,489.6 ล้านบาท
การใช้จ่ายของรัฐบาล
ใน 6M/FY2564 เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 18.1
โดยการเบิกจ่าย
งบประมาณรายจ่าย
ประจาปี งบลงทุน
รัฐวิสาหกิจ และเงินกู้
COVID-19 เพิ่มขึ้น
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2564 มีมูลค่าทั้งสิ้น 8,472,187.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 53.3
ของ GDP ประกอบด้วย เงินกู้ภายในประเทศ 8,320,211.6 ล้านบาท (ร้อยละ 52.4 ของ GDP) และเงินกู้จาก
ต่างประเทศ 151,975.4 ล้านบาท (ร้อยละ 1.0 ของ GDP) โดยแบ่งเป็นหนี้ของรัฐบาล 7,380,114.9 ล้านบาท
หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 799,090.2 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาล
ค้าประกัน) 285,357.5 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 7,624.4 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 87.1 ร้อยละ
9.4 ร้อยละ 3.4 และร้อยละ 0.1 ของหนี้สาธารณะคงค้าง
ฐานะการคลัง ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2564 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 181,415 ล้านบาท
เมื่อรวมกับการเกินดุลเงินนอกงบประมาณ 13,793 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 46,000
ล้านบาท ทาให้รัฐบาลขาดดุลเงินสดสุทธิ 121,622 ล้านบาท และเมื่อรวมกับเงินคงคลัง ณ สิ้นไตรมาสแรกของ
ปีงบประมาณ 2564 จานวน 473,001 ล้านบาท ส่งผลให้ฐานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2564 มีจานวน
ทั้งสิ้น 351,379 ล้านบาท
2 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 4,211.0 ล้านบาท
3 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 7,584.5 ล้านบาท
0
10
20
30
40
50
60
0
1,000
2,000
3,000
4,000
5,000
6,000
7,000
8,000
9,000
57 58 59 60 61 62 63 64
ที่มา: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะคงค้าง
GDP ( 0
50,000
100,000
150,000
200,000
250,000
300,000
350,000
400,000
0
100,000
200,000
300,000
400,000
500,000
600,000
700,000
53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64
ที่มา: กระทรวงการคลัง
สถานะเงินคงคลัง
ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2564
หนี้สาธารณะคงค้างต่อ
GDP อยู่ที่ร้อยละ 53.3
และอยู่ภายใต้กรอบวินัย
การเงินการคลังที่ร้อยละ
60.0
ฐานะเงินคงคลัง
ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2564
มีจานวนทั้งสิ้น 351,379
ล้านบาท
อัตราการเบิกจ่าย
งบประมาณรายจ่าย
ประจาปีใน 6M/FY2564
อยู่ที่ร้อยละ 47.2 โดยมี
อัตราการเบิกจ่ายรายจ่าย
ประจาและรายจ่ายลงทุน
ร้อยละ 52.8 และร้อยละ
24.6 ตามลาดับ
16
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
อัตราดอกเบี้ยนโยบายคงที่ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี
ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564 และครั้งที่ 2/2564 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 ที่ประชุมมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ยังมีความไม่แน่นอนสูงอันเนื่องมาจากการระบาดของโรคโควิด-19 ในระลอกใหม่ และรักษาขีดความสามารถในการดาเนินนโยบายการเงินที่มีจากัดเพื่อใช้ในช่วงเวลาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิผลสูงสุด โดย กนง. เห็นว่าการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ และการส่งออก ที่ฟื้นตัวดีขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าจะช่วยสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจไทยยังมีความเปราะบาง โดยเฉพาะกลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้น้อยและกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ทั้งนี้ การดาเนินนโยบายการเงินของไทยสอดคล้องกับประเทศเศรษฐกิจหลักและประเทศส่วนใหญ่ในภูมิภาคที่ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับเดียวกับไตรมาสก่อนหน้า โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.00-0.25 ต่อปี พร้อมทั้งส่งสัญญาณจะรักษาการผ่อนคลายนโยบายการเงินไว้ในระดับดังกล่าวจนกว่าจะบรรลุเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อและการจ้างงานเต็มศักยภาพ อย่างไรก็ดี ธนาคารกลางอินโดนีเซียปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 ในเดือนกุมภาพันธ์ ขณะที่ธนาคารกลางรัสเซียปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ในเดือนมีนาคม
ล่าสุดเดือนเมษายน 2564 ธนาคารกลางของรัสเซียปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.50 มาอยู่ที่ร้อยละ 5.00 ต่อปี
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลัก และประเทศในภูมิภาคคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับเดิม ยกเว้นธนาคารกลางอินโดนีเซียปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงร้อยละ 0.25 ขณะที่ธนาคารกลางรัสเซียปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.25
ภาวะการเงิน
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
(ร้อยละ) ณ สิ้นงวด
2562
2563
2564
ทั้งปี
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
สหรัฐฯ
1.50-1.75
0.00-0.25
0.00-0.25
0.00-0.25
0.00-0.25
0.00-0.25
0.00-0.25
0.00-0.25
0.00-0.25
0.00-0.25
0.00-0.25
สหภาพยุโรป
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
อังกฤษ
0.75
0.10
0.10
0.10
0.10
0.10
0.10
0.10
0.10
0.10
0.10
ญี่ปุ่น
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
แคนาคา
1.75
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
ออสเตรเลีย
0.75
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
นิวซีแลนด์
1.00
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
0.25
รัสเซีย
6.25
4.25
6.00
4.50
4.25
4.25
4.50
4.25
4.25
4.50
5.00
จีน
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
เกาหลีใต้
1.25
0.50
0.75
0.50
0.50
0.50
0.50
0.50
0.50
0.50
0.50
อินเดีย
5.15
4.00
4.40
4.00
4.00
4.00
4.00
4.00
4.00
4.00
4.00
อินโดนีเซีย
5.00
3.75
4.50
4.25
4.00
3.75
3.50
3.75
3.50
3.50
3.50
ฟิลิปปินส์
4.00
2.00
3.25
2.25
2.25
2.00
2.00
2.00
2.00
2.00
2.00
มาเลเซีย
3.00
1.75
2.50
2.00
1.75
1.75
1.75
1.75
1.75
1.75
1.75
ไทย
1.25
0.50
0.75
0.50
0.50
0.50
0.50
0.50
0.50
0.50
0.50
ที่มา: รวบรวมโดย สศช.
17
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก แต่คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ขณะที่ธนาคารพาณิชย์ขนาดกลางยังคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ ในระดับเดิม ในไตรมาสแรกของปี 2564 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก โดยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.48 ต่อปี ลดลงจากเฉลี่ยร้อยละ 0.49 ต่อปีในไตรมาสก่อนหน้า แต่ยังคงอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) เฉลี่ยไว้ที่ร้อยละ 5.36 ต่อปี ในส่วนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนจากเฉลี่ยร้อยละ 1.02 ต่อปีใน ไตรมาสก่อนหน้า มาอยู่ที่ร้อยละ 1.00 ต่อปี และคงอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ยไว้ที่ร้อยละ 6.13 ต่อปี ด้านธนาคารพาณิชย์ขนาดกลางคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เฉลี่ยไว้ที่ร้อยละ 0.55 ต่อปี และร้อยละ 6.13 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ การลดลงของอัตราเงินเฟ้อทาให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่แท้จริงและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ MLR ที่แท้จริงเฉลี่ยปรับเพิ่มขึ้น
ในเดือนเมษายน 2564 สถาบันการเงินที่รับฝากเงินคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ที่ระดับเดิม แต่ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเฉพาะกิจได้มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากอย่างต่อเนื่อง โดยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.42 และร้อยละ 0.97 ตามลาดับ
สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า ณ สิ้นไตรมาสแรกของ ปี 2564 ยอดสินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวร้อยละ 3.9 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 5.0 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่สินเชื่อธุรกิจขยายตัวร้อยละ 2.1 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อของสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวร้อยละ 6.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 6.6 ในไตรมาส ก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของสินเชื่อครัวเรือนที่ขยายตัวร้อยละ 6.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 6.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากมาตรการทางการเงินของภาครัฐที่ดาเนินการผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพื่อช่วยเหลือเยียวยาและฟื้นฟูผลกระทบที่เกิดจากการระบาดของโรคโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง ขณะที่สินเชื่อธุรกิจขยายตัวร้อยละ 6.9 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 8.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ด้านสินเชื่อคงค้างของธนาคารพาณิชย์ขยายตัวร้อยละ 3.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของสินเชื่อธุรกิจที่ขยายตัวร้อยละ 1.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม สินเชื่อครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 5.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับสินเชื่อในสาขาสาคัญ ๆ ที่ขยายตัว ได้แก่ สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร (ขยายตัวร้อยละ 21.1) สาขาการก่อสร้าง (ขยายตัวร้อยละ 7.9) และสาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า (ขยายตัวร้อยละ 6.8) ในส่วนของสินเชื่อในสาขาสาคัญ ๆ ที่ลดลง ได้แก่ กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ (ลดลงร้อยละ 7.1) และสาขาการผลิต (ลดลงร้อยละ 4.5) สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง (ลดลงร้อยละ 3.1) และสาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ (ลดลงร้อยละ 1.1) ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคลขยายตัวร้อยละ 5.3 เทียบกับ การขยายตัวร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวต่อเนื่องของสินเชื่อเพื่อการจัดหาที่อยู่อาศัย การซื้อหรือเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ และการบริโภคส่วนบุคคลอื่น ๆ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเฉพาะสินเชื่อที่ให้แก่ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ไม่รวมกิจกรรมทางการเงินและประกันภัย) พบว่า สินเชื่อ คงค้างปรับตัวลดลงร้อยละ 26.1 เป็นการลดลงต่อเนื่อง 7 ไตรมาสติดต่อกัน และลดลงต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าในสาขาที่สาคัญทุกสาขา
สถาบันการเงินที่รับฝากเงินคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ที่ระดับเดิม อย่างไรก็ดี ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ และสถาบันการเงินเฉพาะกิจปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากลง
สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินชะลอตัวลงตาม การชะลอตัวของสินเชื่อธุรกิจ ขณะที่สินเชื่อครัวเรือนขยายตัวเร่งขึ้น
สินเชื่อภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) ของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย4.43.9-20246810-20246810Q1 58Q1 59Q1 60Q1 61Q1 62Q1 63Q1 64% YOY% YOYสินเชื่อภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ)สินเชื่อธุรกิจ (แกนขวา)สินเชื่อครัวเรือน (แกนขวา)
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 18
Economic Outlook NESDC
อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสแรกของ
ปี 2564 ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 30.29 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นจากค่าเฉลี่ย 30.62 บาทต่อดอลลาร์ สรอ.
ในไตรมาสก่อนหน้า หรือแข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.07 ตามการอ่อนค่าลงของค่าเงินดอลลาร์ สรอ. โดยดัชนีเงิน
ดอลลาร์ สรอ. (Dollar Index) เฉลี่ยอยู่ที่ 91.02 จุด ลดลงจากระดับ 92.16 จุด ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้
ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2564 ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวผันผวน โดยในช่วงต้นไตรมาสค่าเงินบาทปรับแข็งค่าขึ้น
ตามการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์ สรอ. ส่วนหนึ่งได้รับผลจากเหตุประท้วงทางการเมืองหลังการเลือกตั้ง
ประธานาธิบดี และนักลงทุนในตลาดเงินมีความกังวลต่อภาวะเงินเฟ้อของสหรัฐฯ รวมถึงทิศทางการดาเนิน
นโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในระยะต่อไป อย่างไรก็ดี ในช่วงปลายไตรมาสค่าเงินบาทเริ่มกลับมา
อ่อนค่าลง ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายในประเทศมีจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่
อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับค่าเงินดอลลาร์ สรอ. ปรับแข็งค่าขึ้นภายหลังการอนุมัติแผนกระตุ้นเศรษฐกิจขนาดใหญ่
วงเงิน 1.9 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ของสหรัฐฯ รวมทั้งแนวโน้มการฟื้นตัวอย่างชัดเจนของเศรษฐกิจสหรัฐฯ
สอดคล้องกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวของสหรัฐฯ ยังคงอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง
ในขณะเดียวกัน ธนาคารกลางสหรัฐฯ ส่งสัญญาณจะยังคงดาเนินนโยบายการเงินไว้ในระดับเดิมต่อเนื่อง
เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและการบรรลุเป้าหมายการจ้างงานอย่างเต็มศักยภาพ สาหรับค่าเงินของ
ประเทศอื่นในภูมิภาคเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. ส่วนใหญ่เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกับค่าเงินบาท
โดยค่าเงินของประเทศ จีน อินโดนีเซีย ไต้หวัน อินเดีย สิงคโปร์ มาเลเซีย เกาหลีใต้ และเวียดนาม แข็งค่าขึ้น
ร้อยละ 1.9 ร้อยละ 1.4 ร้อยละ 1.3 ร้อยละ 1.2 ร้อยละ 1.1 ร้อยละ 1.0 ร้อยละ 0.3 และร้อยละ 0.1
เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ขณะที่ค่าเงินของประเทศญี่ปุ่น อ่อนค่าลงร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อนหน้า ทั้งนี้ ค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้า/คู่แข่งอื่น ๆ เคลื่อนไหวแข็งค่าขึ้น สะท้อนจากดัชนี
ค่าเงินบาท (NEER) เฉลี่ยในไตรมาสแรกอยู่ที่ 122.79 จุด เพิ่มขึ้นจากค่าเฉลี่ยในไตรมาสก่อนหน้าร้อยละ 0.26
ในเดือนเมษายน 2564 ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 31.33 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 1.78 จาก
ค่าเฉลี่ย 30.78 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในเดือนก่อนหน้า ขณะที่ NEER เฉลี่ยอยู่ที่ 119.75 จุด ลดลงจาก
ค่าเฉลี่ยในเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 121.86 จุด โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด-19 ระลอกใหม่ภายในประเทศที่มีจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์
ไทยเคลื่อนไหวในทิศทางปรับตัวเพิ่มขึ้นตลอดไตรมาสแรกของปี 2564 แม้ว่าในช่วงต้นไตรมาส จะได้รับปัจจัย
ลบค่อนข้างมากจากความผันผวนของตลาดการเงินโลก และการแพร่ระบาดของโรควิด-19 ในพื้นที่จังหวัด
สมุทรสาคร อย่างไรก็ตาม ในช่วงเดือนมีนาคมดัชนีปรับเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก ทาให้ ณ สิ้นไตรมาสดัชนีราคา
ตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,587 จุด เพิ่มขึ้นจากสิ้นไตรมาสก่อนหน้าร้อยละ 9.51 และเป็นการเพิ่มขึ้นมาอยู่
ในระดับเดียวช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทั้งนี้ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทยเคลื่อนไหวในทิศทาง
เดียวกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศอื่นในภูมิภาค โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากภายนอกที่สาคัญ ได้แก่
(1) ความก้าวหน้าในการกระจายและการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในหลายประเทศ (2) แนวโน้มการฟื้นตัว
ของเศรษฐกิจโลก ภายหลังรัฐบาลหลายประเทศออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง อาทิ
การลงนามในมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ วงเงินสูงถึง 1.9 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ของประธานาธิบดีสหรัฐฯ
เป็นต้น (3) สถานการณ์การเมืองภายในสหรัฐฯ ที่มีความชัดเจนมากขึ้น อาทิ ผลการเลือกตั้งที่พรรคเดโมแครต
สามารถครองเสียงข้างมากทั้งในวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐฯ ( Blue Wave) เป็นต้น และ
(4) นักลงทุนเริ่มลดความกังวลต่อทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินของสหรัฐฯ หลังจากธนาคารกลางสหรัฐฯ
ส่งสัญญาณจะผ่อนคลายนโยบายการเงินไปจนกว่าจะบรรลุเป้าหมายการจ้างงานเต็มที่ ขณะเดียวกันได้รับ
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์
(SET Index) ปรับเพิ่มขึ้น
จากไตรมาสก่อนหน้า
ตามทิศทางการฟื้นตัวของ
เศรษฐกิจโลก
ค่าเงินบาทเทียบกับ
ดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้น
จากไตรมาสก่อนหน้า
29.0
29.5
30.0
30.5
31.0
31.5
32.0
32.5
33.0
95 33.5
100
105
110
115
120
125
130
Jan-61
Apr-61
Jul-61
Oct-61
Jan-62
Apr-62
Jul-62
Oct-62
Jan-63
Apr-63
Jul-63
Oct-63
Jan-64
ดัชนี
NEER REER บาท/ดอลลาร์ สรอ. (แกนขวา)
บาท/ดอลลาร์ สรอ.
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า
ที่มา: CEIC, ธนาคารแห่งประเทศไทย
1000
1200
1400
1600
1800
2000
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
70,000
80,000
90,000
100,000
110,000
58 59 60 61 62 63 64
ล้านบาท ดัชนี
Value SET Index (RHS)
ดัชนีหลักทรัพย์และมูลค่าอขายเฉลี่ยต่อวันลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า
ที่มา: SET
19
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
ปัจจัยสนับสนุนเพิ่มเติมจากปัจจัยภายในประเทศที่เริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการ Lockdown ในช่วงปลาย ไตรมาส และการพิจารณาแนวทางการเปิดรับนักท่องเที่ยวที่ฉีดวัคซีนแล้วสามารถเข้าประเทศไทยได้โดยไม่ต้องกักตัว สาหรับกลุ่มธุรกิจที่ดัชนีปรับขึ้นที่สาคัญ ได้แก่ กลุ่มธุรกิจการเงินเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.3 กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.6 กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.9 ขณะที่กลุ่มเทคโนโลยีปรับลดลงร้อยละ 8.5 ทั้งนี้ นักลงทุนรายย่อยและบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ นักลงทุนต่างชาติมีสถานะขายสุทธิในตลาดหลักทรัพย์ไทย
ในเดือนเมษายน 2564 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ปรับลดลงจากเดือนมีนาคม 2564 ร้อยละ 0.3 มาอยู่ที่ 1,583 จุด โดยตลอดทั้งเดือนดัชนีตลาดหลักทรัพย์มีความผันผวนสูง เป็นผลมาจากนักลงทุนมีความกังวลต่อจานวน ผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ภายในประเทศที่กลับมาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ ทั้งนี้ นักลงทุนรายย่อยเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศและนักลงทุนต่างชาติ มีสถานะขายสุทธิในตลาดหลักทรัพย์ไทย
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลปรับตัวเพิ่มขึ้น ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ในไตรมาสแรกของปี 2564 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของไทยปรับเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับดัชนีราคาที่ชะลอตัวลง ในส่วนของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะสั้นปรับเพิ่มขึ้นตามปริมาณการออกพันธบัตรรัฐบาลและพันธบัตรของธนาคารแห่งประเทศไทยที่เพิ่มสูงขึ้น โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอ้างอิงอายุ 1 ปี ณ สิ้นไตรมาสอยู่ที่ร้อยละ 0.45 ต่อปี เทียบกับร้อยละ 0.36 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวปรับเพิ่มขึ้นสอดคล้องกับการปรับเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวของสหรัฐฯ ตามสัญญาณการฟื้นตัวที่ชัดเจนมากขึ้นของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ภายหลังมีการเร่งฉีดวัคซีนต่อเนื่องและสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ปรับตัวดีขึ้น ประกอบกับการอนุมัติแผนกระตุ้นเศรษฐกิจขนาดใหญ่วงเงิน 1.9 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ของสหรัฐฯ รวมทั้งเครื่องชี้ด้านตลาดแรงงานของสหรัฐฯ ออกมาดีกว่าที่คาด ส่งผลให้นักลงทุนคาดการณ์ภาวะเงินเฟ้อที่อาจจะเพิ่มสูงขึ้น โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอ้างอิงอายุ 10 ปี ณ สิ้นไตรมาสอยู่ที่ร้อยละ 1.96 ต่อปี เทียบกับร้อยละ 1.28 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ นักลงทุนต่างชาติมีสถานะขายสุทธิ 0.3 พันล้านบาท เทียบกับสถานะซื้อสุทธิ 8.8 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า
ในเดือนเมษายน 2564 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของไทยปรับลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะสั้นและระยะยาว เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ภายในประเทศที่รุนแรงขึ้น ส่งผลให้นักลงทุนเพิ่มน้าหนักการลงทุนในพันธบัตรระยะสั้น ในส่วนของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวปรับลดลงภายหลังธนาคารกลางสหรัฐฯ ส่งสัญญาณจะยังคงดาเนินนโยบายการเงินไว้ในระดับเดิม ในขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวของสหรัฐฯ เริ่มทรงตัวมากขึ้น โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอ้างอิงอายุ 1 ปี และอายุ 10 ปี ณ สิ้นไตรมาสลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 0.44 ต่อปี และร้อยละ 1.82 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ นักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิ 30.2 พันล้านบาท ต่อเนื่องจากการซื้อสุทธิ 5.1 ล้านบาท ในเดือนก่อนหน้า
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามสัญญาณ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรในประเทศเศรษฐกิจหลัก
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นและระยะยาวปรับเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่มา: ThaiBMA0.01.02.03.01M6M2Y4Y6Y8Y10Y12Y14Y16Y18Y20Y22Y24Y26Y28Yร้อยละQ4/2563Q1/2564เม.ย. 64
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 20
Economic Outlook NESDC
เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกสุทธิ ในไตรมาสที่สี่ของปี 2563 เงินทุนไหลออกสุทธิ 0.91 พันล้านดอลลาร์ฯ
ต่อเนื่องจากการไหลออกสุทธิ 4.09 พันล้านดอลลาร์ฯ ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการนาเงินออกไป
ลงทุนโดยตรงและการลงทุนในตลาดตราสารทุนของนักลงทุนไทยในต่างประเทศ และการไหลออกสุทธิของ
เงินลงทุนโดยตรงของนักลงทุนต่างชาติ อย่างไรก็ดี ยังมีเงินไหลเข้าจากรูปแบบอื่น ๆ (เงินกู้ สินเชื่อการค้า เงินฝาก
และบัญชีลูกหนี้ และเจ้าหนี้อื่น ๆ) อย่างต่อเนื่อง และนักลงทุนต่างชาติกลับเข้ามาลงทุนในตลาดทุนไทย
ทั้งปี 2563 มีเงินทุนไหลออกสุทธิ 3.59 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ตามการนาเงินออกไปลงทุนในต่างประเทศของ
นักลงทุนไทย การไหลออกของเงินลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ ทั้งที่เป็นการลงทุนโดยตรงและการลงทุน
ในหลักทรัพย์ อย่างไรก็ดี ยังมีเงินทุนไหลเข้าในรูปแบบอื่น ๆ ที่สาคัญ ได้แก่ การถอนเงินฝากในต่างประเทศ
ของกองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศ (FIF) ในช่วงไตรมาสที่สองที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ทั่วโลกมีความรุนแรงและขยายวงกว้างมากขึ้น และการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศเพื่อซื้อกิจการค้าปลีกจาก
บริษัทต่างชาติที่ดาเนินงานในไทยในช่วงไตรมาสสี่
ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ในไตรมาสแรกของปี 2564 ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล 2.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ.
(77.1 พันล้านบาท) เทียบกับการเกินดุล 9.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (305.5 พันล้านบาท) ในไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อน และการขาดดุล 1.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (43.3 พันล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจาก
การขาดดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ 9.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (เทียบกับการเกินดุล 0.7
พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน) เป็นสาคัญ ขณะที่ดุลการค้าเกินดุล 7.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ.
(ต่ากว่าการเกินดุล 9.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2564 อยู่ที่ 245.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (7,699.2 พันล้านบาท)
เพิ่มขึ้นจาก 226.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (7,405.3 พันล้านบาท) ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2563
เงินทุนเคลื่อนย้าย
(พันล้านดอลลาร์ สรอ.) 2562 2563
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4
- การลงทุนโดยตรง -5.33 -3.00 0.00 -0.13 -2.20 -22.82 -3.03 -5.43 -3.96 -10.39
นักลงทุนไทย -10.14 -3.44 -1.93 -3.42 -1.35 -18.05 -5.82 -5.21 -3.96 -3.06
นักลงทุนต่างชาติ 4.82 0.44 1.93 3.29 -0.85 -4.76 2.79 -0.23 -0.01 -7.32
- การลงทุนในหลักทรัพย์ -8.64 -2.41 2.20 -6.44 -1.99 -11.61 -7.20 1.33 -2.56 -3.18
นักลงทุนไทย -7.70 -1.12 -0.38 -2.76 -3.44 -3.89 0.08 2.82 -1.81 -4.97
นักลงทุนต่างชาติ -0.95 -1.29 2.58 -3.69 1.45 -7.73 -7.28 -1.49 -0.75 1.79
อื่น ๆ -1.68 -0.80 -4.57 4.99 -1.30 30.84 1.86 13.89 2.43 12.66
เงินทุนเคลื่อนย้าย -15.66 -6.21 -2.37 -1.59 -5.48 -3.59 -8.38 9.79 -4.09 -0.91
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
เงินทุนเคลื่อนย้ายไหล
ออกสุทธิ ตามการนาเงิน
ออกไปลงทุนโดยตรง
ในต่างประเทศของ
นักลงทุนไทย
และนาเงินลงทุนโดยตรง
ของนักลงทุนต่างชาติ
ออกจากประเทศ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-15,000
-10,000
-5,000
0
5,000
10,000
15,000
20,000
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 Q1/64
ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการค้า
และดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ
ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล
เทียบกับการเกินดุล
ในช่วงเดียวกันของปีก่อน
และเป็นการขาดดุล
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่สอง
เงินสารองระหว่าง
ประเทศ ณ สิ้นเดือน
มีนาคม 2564 อยู่ที่ 245.5
พันล้านดอลลาร์ สรอ.
21
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ในไตรมาสแรกของปี 2564 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ -0.5 เทียบกับเฉลี่ยร้อยละ -0.4 ในไตรมาสที่สี่ของปี 2563 โดยดัชนีราคาในหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ลดลงร้อยละ 0.04 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนใหญ่เป็นผลจากการลดลงของราคากลุ่มผักและผลไม้ กลุ่มข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง และกลุ่มไข่และผลิตภัณฑ์นม ซึ่งลดลงร้อยละ 0.5 ร้อยละ 5.8 และ ร้อยละ 0.4 ตามลาดับ ในขณะที่ดัชนีราคาหมวดที่มิใช่อาหารและเครื่องดื่มลดลงร้อยละ 0.8 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามราคาหมวดพลังงานที่ลดลงร้อยละ 3.8 ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.14
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ -0.5 เทียบกับเฉลี่ยร้อยละ -0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยในหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกฮอล์ปรับตัวลดลง ขณะที่หมวดที่มิใช่อาหารและเครื่องดื่ม ลดลงตามหมวดพลังงาน เป็นสาคัญ
ดัชนีราคาผู้ผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้า
4 ในเดือนเมษายน 2564 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 3.4 และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.3
5 ในเดือนเมษายน 2564 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5
ดัชนีราคาผู้ผลิต ในไตรมาสแรกของปี 2564 ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.5 ในไตรมาสที่สี่ของปี 2563 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาในหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมและการประมง และการปรับตัวที่ดีขึ้น ในหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เป็นสาคัญ โดยราคาหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมและประมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของราคากลุ่มผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และกลุ่มผลิตภัณฑ์จากการประมง และราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ราคาหมวดผลิตภัณฑ์จากเหมืองลดลงร้อยละ 15.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 20.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามราคาปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ ที่ลดลงร้อยละ 19.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 25.8 ในไตรมาสก่อนหน้า5
-5.0-4.0-3.0-2.0-1.00.01.02.03.04.05.0Q1/59Q1/60Q1/62Q1/62Q1/63Q1/64%YoYดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปในไตรมาสแรกของปี 2564ลดลงร้อยละ 0.5 ที่มา: กระทรวงพาณิชย์
22
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ามันไตรมาสแรกของปี 2564
ราคาน้ามันดิบปรับตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน และไตรมาสก่อนหน้า
ราคาน้ามันดิบอยู่ในระดับสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนและเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสแรกของปี 2564 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสท์เท็กซัส) อยู่ที่ 59.6 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.0 จากค่าเฉลี่ย 42.0 ดอลลาร์ สรอ.ต่อบาร์เรล ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.7 เมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ย 44.3 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสที่สี่ของปี 2563
การปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันดิบในตลาดโลกในไตรมาสนี้มีสาเหตุมาจาก (1) การคาดการณ์ของนักลงทุนเกี่ยวกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลสหรัฐฯ โดยเฉพาะมาตรการเยียวยาผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 มูลค่ากว่า 1.9 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. (2) จานวนผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 รายวันทั่วโลกเริ่ม มีทิศทางปรับตัวลดลงตามความคืบหน้าของการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 โดยเฉพาะในสหรัฐฯ และยุโรป ซึ่งส่งผลให้เริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ได้มากขึ้น และ (3) ความวิตกกังวลต่อความล่าช้า ในการขนส่งน้ามัน ซึ่งเกิดจากเรือคอนเทอร์เนอร์ขนาดใหญ่กีดขวางเส้นทางการเดินเรือในคลองสุเอซของอียิปต์
ราคาน้ามันดิบในตลาดโลก
ปี
ราคา (ดอลลาร์ สรอ. /บาร์เรล)
อัตราการขยายตัว (%YOY)
WTI
BRENT
DUBAI
OMAN
เฉลี่ย
WTI
BRENT
DUBAI
OMAN
เฉลี่ย
2561
ทั้งปี
65.1
71.8
69.5
69.8
69.1
27.8
31.1
31.2
31.3
30.4
2562
ทั้งปี
56.9
64.0
63.3
63.6
61.9
-12.6
-10.9
-9.0
-8.9
-10.3
Q1
54.9
63.8
63.2
63.3
61.3
-12.8
-5.2
-0.9
-1.2
-5.0
Q2
59.6
68.2
67.2
67.4
65.6
-12.4
-9.4
-7.0
-6.8
-8.9
Q3
56.4
62.0
61.0
61.5
60.2
-18.9
-18.4
-17.6
-17.3
-18.0
Q4
56.7
62.3
62.1
62.4
60.9
-4.8
-9.7
-8.9
-9.0
-8.1
2563
ทั้งปี
39.6
43.4
42.4
41.8
42.0
-30.4
-32.2
-33.0
-34.2
-32.3
Q1
46.2
51.0
50.8
49.6
49.7
-15.9
-20.1
-19.7
-21.7
-18.9
Q2
28.2
33.5
30.9
30.8
30.9
-52.7
-50.8
-53.9
-54.3
-52.9
Q3
40.9
43.3
43.0
42.9
42.5
-27.5
-30.1
-29.5
-30.3
-29.4
Q4
42.6
45.1
44.6
44.7
44.3
-24.8
-27.5
-28.0
-28.4
-27.3
2564
Q1
58.0
61.2
60.3
59.0
59.6
25.6
20.1
18.7
19.0
20.0
ม.ค.
52.1
55.3
54.9
54.6
54.2
-9.7
-13.3
-15.0
-16.1
-13.1
ก.พ.
58.8
62.0
60.7
57.3
59.7
16.4
11.7
11.7
6.0
11.1
มี.ค.
62.4
65.7
64.5
64.4
64.2
104.8
94.8
90.7
95.0
94.9
เม.ย.
61.9
65.5
63.1
63.0
63.4
279.3
146.6
208.2
211.2
203.2
ที่มา: บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) และสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
23
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
ในไตรมาสแรกของปี 2564 เศรษฐกิจโลกปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องจากครึ่งหลังของปีก่อน นาโดยเศรษฐกิจประเทศอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ สหรัฐฯ จีน และเศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ตามการฟื้นตัวดีขึ้น อย่างชัดเจนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งในการผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อรวม (Composite PMI) ของหลายประเทศที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับสูงสุดในรอบหลายไตรมาส อาทิ สหรัฐฯ (26 ไตรมาส) ยูโรโซน (2 ไตรมาส) ออสเตรเลีย (12 ไตรมาส) และญี่ปุ่น (5 ไตรมาส) สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของการใช้จ่ายภายในประเทศ ซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมและการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับความคืบหน้าในการจัดหาและกระจายวัคซีนให้แก่ประชาชนที่ส่งผลให้ระดับความเชื่อมั่นเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจอุตสาหกรรมหลักส่งผลให้การส่งออกของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่และกลุ่มประเทศอาเซียน อาทิ ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์ เกาหลีใต้ เวียดนาม และมาเลเซีย ขยายตัวเร่งขึ้นในเกณฑ์สูง อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยูโรโซนยังคงมีข้อจากัด ในการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศที่ยังคงเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดในระลอกใหม่ รวมทั้งการกลายพันธุ์ของไวรัสส่งผลให้รัฐบาลจาเป็นต้องกลับมาดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดอย่างเข้มงวดอีกครั้งในหลายประเทศ ทั้งนี้ ประเทศต่าง ๆ ยังคงดาเนินมาตรการทางเศรษฐกิจเพื่อช่วยลดผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ดังจะเห็นได้จากธนาคารกลางของประเทศสาคัญ ๆ ดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง อาทิ การคงระดับอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับต่า เป็นประวัติการณ์ การเข้าซื้อสินทรัพย์เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้แก่ระบบเศรษฐกิจ และการให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่า เป็นต้น ขณะเดียวกัน ประเทศเศรษฐกิจหลักได้ดาเนินมาตรการการคลังขนาดใหญ่เพิ่มเติมเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบและฟื้นฟูเศรษฐกิจผ่านมาตรการสาคัญ ได้แก่ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ The American Rescue Plan ของสหรัฐฯ วงเงิน 1.9 ล้านดอลลาร์ สรอ. แผนงบประมาณระยะยาวและมาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจของ ยูโรโซนวงเงิน 1.8 ล้านยูโร และมาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร
เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 0.4 กลับมาขยายตัวเมื่อเทียบจากการลดลงร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งนับเป็นการขยายตัวครั้งแรกในรอบสี่ไตรมาส และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัว ร้อยละ 6.4 (%QoQ saar.) เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า การฟื้นตัวดีขึ้นของเศรษฐกิจสหรัฐฯ มีปัจจัยสนับสนุนหลักจากการขยายตัวเร่งขึ้นของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการใช้จ่ายภายในประเทศ โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการในไตรมาสแรกอยู่ที่ระดับ 61.4 และระดับ 59.2 เพิ่มขึ้นจากระดับ 59.0 และระดับ 56.9 ในไตรมาสก่อน และเทียบกับระดับ 50.4 และ 55.4 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับการบริโภคภาคเอกชนโดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าคงทนที่ขยายตัวร้อยละ 25.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 11.6 เช่นเดียวกับการลงทุนภาคเอกชนซึ่งขยายตัวร้อยละ 4.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.7 ตามการขยายตัวของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรด้านที่อยู่อาศัย ขณะที่การใช้จ่ายของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 0.7 โดยการใช้จ่ายของรัฐบาลกลางที่ไม่รวมด้านการป้องกันประเทศขยายตัวร้อยละ 10.4 ซึ่งเป็นมาผลจาก การดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ The American Rescue Plan เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ที่ผ่านความเห็นชอบของสภาสหรัฐฯ และมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2564 สาหรับสถานการณ์ตลาดแรงงานปรับตัวดีขึ้น สะท้อนจากอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 6.2 ลดลงจากร้อยละ 6.8 ในไตรมาสที่ผ่านมา สอดคล้องกับการจ้างงานนอกภาคเกษตรกรรม ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2564 อยู่ที่ 144.1 ล้านตาแหน่ง เพิ่มขึ้นจาก 143.2 ล้านตาแหน่งในเดือนก่อนหน้า แต่ยังคงต่ากว่าระดับ การจ้างงานในช่วงก่อนการเกิดการระบาดของโควิด-19 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core PCE Price Index) เพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ อยู่ที่ร้อยละ 1.5 แต่ยังคงต่ากว่าเป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 ส่งผลให้คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในการประชุมวันที่ 16 ? 17 มีนาคม 2564 คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.00 ? 0.25 อย่างต่อเนื่อง และส่งสัญญาณการดาเนินนโยบายการเงินแบบ ผ่อนคลายต่อไปจนกว่าจะบรรลุเป้าหมายการจ้างงานเต็มที่และอัตราเงินเฟ้อปรับตัวเข้าสู่เป้าหมายในระยะยาว
เศรษฐกิจยูโรโ น ลดลงร้อยละ 1.8 ยังคงลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ห้า แต่ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และเมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจยูโรโซนลดลงร้อยละ 0.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ swda.) โดยเป็นการลดลงของเศรษฐกิจประเทศสมาชิกหลัก ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี และสเปน ยกเว้นเศรษฐกิจฝรั่งเศสที่กลับมาขยายตัวได้ในไตรมาสแรก การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยูโรโซนยังคงเผชิญกับข้อจากัดโดยเฉพาะการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ สะท้อนจาก ยอดการค้าปลีกในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ 2564 ลดลงร้อยละ 2.9 สอดคล้องกับการลดลงอย่างต่อเนื่อง
3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสแรกของปี 2564
เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 0.4 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนหลักจากการขยายตัวต่อเนื่องของการผลิตภาคอุตสาหกรรม การใช้จ่ายภาคเอกชนภายในประเทศ และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล
เศรษฐกิจยูโรโซนลดลงร้อยละ 1.8 ฟื้นตัวขึ้นจากการลดลงร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลจากการการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศที่เป็นไปอย่างจากัด โดยยอดการค้าปลีกยังคงลดลง แม้ว่าการผลิตภาคอุตสาหกรรมและ ภาคการบริการปรับตัว ดีขึ้นก็ตาม
24
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
ของความเชื่อมั่นผู้บริโภคและอัตราการว่างงานที่ยังอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 8.2 เนื่องจากหลายประเทศได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดระลอกใหม่และความวิตกกังวลต่อการกลายพันธุ์ของไวรัส ส่งผลให้รัฐบาลต้องดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดอีกครั้ง อาทิ เยอรมนี อิตาลี สเปน อย่างไรก็ดี การผลิตภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 58.4 สูงสุดในรอบ 13 ไตรมาส เช่นเดียวกับภาคบริการที่ปรับตัวดีขึ้น สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 46.9 จากระดับ 45.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนอัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 1.1 สูงสุดในรอบ 4 ไตรมาส สาหรับการดาเนินมาตรการเศรษฐกิจที่สาคัญในช่วงไตรมาสแรกของปี 2564 คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ได้เสนอขยายการช่วยเหลือทางการเงินให้กับประเทศสมาชิกในรูปแบบของเงินกู้จากสหภาพยุโรปภายใต้มาตรการสนับสนุนชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเสี่ยงด้านการว่างงานในกรณีฉุกเฉิน (SURE) เป็น 19 ประเทศ มูลค่ารวม 9.43 หมื่นล้านยูโร จากเดิม 16 ประเทศ มูลค่ารวม 8.74 หมื่นล้านยูโร6 นอกจากนี้ ยังมีวงเงินเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจภายใต้ Next Generation EU Recovery and Resilience Facility มูลค่า 6.725 แสนล้านยูโร ซึ่งประกอบด้วยเงินช่วยเหลือให้เปล่ามูลค่า 3.125 แสนล้านยูโร และเงินกู้มูลค่า 3.6 แสนล้านยูโร เพื่อสนับสนุนการลงทุนภาครัฐและการปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก ขณะเดียวกัน ในการประชุมธนาคารกลางยุโรป (ECB) เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2564 มีมติยังคงดาเนินนโยบายการเงินแบบ ผ่อนคลายต่อไป โดยการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.0 และ ECB ระบุว่าจะยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ ในระดับต่าต่อไป จนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะปรับตัวขึ้นสู่ใกล้เคียงกับระดับเป้าหมายที่ร้อยละ 2.0 รวมถึง การดาเนินมาตรการผ่อนคลายทางการเงินอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนสภาพคล่องให้กับเศรษฐกิจต่อไป7
เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า โดยได้รับแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมซึ่งอยู่ที่ระดับ 51.3 นับเป็นการปรับตัวสูงกว่าระดับ 50.0 เป็นครั้งแรกในรอบ 8 ไตรมาส สอดคล้องกับมูลค่าการส่งออกสินค้าที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ดี อุปสงค์ภายในประเทศยังคงมีข้อจากัดในการฟื้นตัว ภายหลังจากมีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2564 และมีการบังคับใช้มาตรการ ล็อกดาวน์เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดระลอกใหม่ในหลายพื้นที่รวมถึงกรุงโตเกียวและโอซาก้า ดังจะเห็นได้จากดัชนีการค้าปลีกที่ขยายตัวร้อยละ 0.5 ชะลอลงจากร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะเดียวกัน ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการปรับตัวลดลงเป็น 46.9 จากระดับ 47.7 ในไตรมาสก่อนหน้าและเป็นระดับต่ากว่า 50.0 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่หก ส่วนอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 2.8 ลดลงจากร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core PCE Price Index) ยังคงลดลงร้อยละ 0.4 เทียบกับการลดลง ร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 18 -19 มีนาคม 2564 ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ได้มีมติให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ -0.1 และการดาเนินนโยบายเพื่อรักษาระดับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุ่น (JGBs) ช่วงอายุ 10 ปี ให้อยู่ที่ระดับร้อยละ 0.0 (Yield Curve Control) เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจต่อไป8
เศรษฐกิจญี่ปุ่น ปรับตัว ดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า สะท้อนจากการปรับตัว ดีขึ้นของการผลิตอุตสาหกรรม การส่งออก และการค้าปลีก
6 ในไตรมาสแรกของปี 2564 ได้มีการเบิกจ่ายงบประมาณภายใต้มาตรการ SURE ทั้งสิ้น 3.60 หมื่นล้านยูโร และ ณ วันที่ 30 มีนาคม 2564 ได้มีการเบิกจ่าย รวมแล้วทั้งสิ้น 7.55 หมื่นล้านยูโร หรือคิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมร้อยละ 80.1
7 มาตรการที่สาคัญ อาทิ การรักษาระดับการเข้าซื้อพันธบัตรภายใต้ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) วงเงินรวม 1.85 ล้านล้านยูโร โดยจะดาเนินการไปจนถึงเดือนมีนาคม 2565 หรือจนกว่า ECB พิจารณาว่าวิกฤตการณ์จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้สิ้นสุดลง การเข้าซื้อพันธบัตรภายใต้ โครงการ Asset Purchase Programme (APP) ในวงเงิน 2 หมื่นล้านยูโรต่อเดือน และจะนาเงินต้นที่ได้คืนจากพันธบัตรที่ถือจนครบกาหนดกลับไปซื้อพันธบัตรใหม่ (Reinvestment) จนกว่า ECB จะเริ่มมีการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เช่นเดียวกับการดาเนินมาตรการเพื่อเสริมสภาพคล่องโดยการรีไฟแนนซ์ ผ่านมาตรการ สินเชื่อดอกเบี้ยต่าให้แก่ธนาคารพาณิชย์รอบที่ 3 (TLTROs III) ที่จะยังคงดาเนินการต่อไป
8 นอกจากนี้ BOJ ยังได้แถลงร่างโครงการเพื่อจูงใจให้สถาบันทางการเงินปล่อยกู้มากขึ้น (Interest Scheme to Promote Lending) โดยจะแบ่งระดับอัตราดอกเบี้ย ออกเป็น 3 ระดับ (1) อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.2 สาหรับ เงินกู้ภายใต้โครงการ Special Funds-Supplying Operations to Facilitate Financing in Response to COVID-19 (FSO) และแหล่งเงินกู้ยืมมาจากสถาบันการเงินเอง (2) อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.1 เงินกู้ภายใต้โครงการ FSO และแหล่งเงินกู้ยืมมาแหล่งอื่น ๆ นอกจากใน ข้อ (1) และ (3) อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.0 สาหรับการกู้ยืมในโครงการ Loan Support Program และ Funds-Supplying Operation to Support Financial Institutions in Disaster Areas
25
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 18.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 6.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และนับเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดนับตั้งแต่ประเทศจีนมีการจัดทาข้อมูล GDP รายไตรมาสในปี 2535 ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากฐานที่ต่า ในไตรมาสแรกของปี 2563 ที่เศรษฐกิจได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 24.4 เร่งขึ้นจากร้อยละ 6.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนภาคบริการขยายตัวร้อยละ 15.6 เร่งขึ้นจากร้อยละ 6.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และภาคเกษตรขยายตัวร้อยละ 8.1 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อนหน้า การเร่งขึ้นของภาคการผลิตสอดคล้องกับการขยายตัวดีขึ้นของอุปสงค์ ทั้งในและต่างประเทศ โดยมูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวสูงร้อยละ 48.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 17.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นระดับสูงสุดในรอบ 26 ปี ขณะเดียวกัน การค้าปลีกภายในประเทศขยายตัวสูงถึงร้อยละ 33.9 เมื่อเทียบกับร้อยละ 6.6 ในไตรมาสก่อนหน้า นอกจากนี้ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวรขยายตัวร้อยละ 25.6 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับการดาเนินมาตรการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจที่สาคัญ รัฐบาลได้ดาเนินมาตรการทางการคลังโดยการให้เงินช่วยเหลือสาหรับดาเนินมาตรการป้องกันและควบคุม การแพร่ระบาด รวมทั้งการผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ การเร่งเบิกจ่ายเงินประกันตนผู้ตกงานและขยายเวลาให้แรงงานต่างชาติ การลดการจัดเก็บภาษีและงดการจัดเก็บเงินเข้ากองทุนประกันสังคม และการเร่งการลงทุนภาครัฐ รวมถึงการให้ความช่วยเหลืออื่น ๆ เช่น การค้าประกันเงินกู้สาหรับ SMEs และการลดหรือยกเลิกค่าบริการหรือภาษีในการใช้ ถนน ท่าเรือ หรือไฟฟ้า เป็นต้น นอกจากนี้ ธนาคารกลางจีน (PBOC) ยังคงดาเนินนโยบายทางการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับต่าและยังคงสัดส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์9
เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ส่วนใหญ่กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรก ตามการฟื้นตัวของ อุปสงค์ภายในประเทศภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศเริ่มลดความรุนแรงลง และการขยายตัวเร่งขึ้นของการส่งออกสอดคล้องกับการฟื้นตัวของการค้าโลก โดยเศรษฐกิจฮ่องกงกลับมาขยายตัวครั้งแรกหลังจากการลดลงติดต่อกัน 6 ไตรมาส โดยขยายตัวร้อยละ 7.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนเป็นครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส ประกอบกับการเร่งขึ้นของการใช้จ่ายรัฐบาล การลงทุนรวม และการส่งออก ส่วนเศรษฐกิจสิงคโปร์กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส โดยขยายตัวร้อยละ 0.2 ฟื้นตัวขึ้นจากการลดลงร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวดีขึ้นของภาคการก่อสร้าง ภาคบริการ และการส่งออกเป็นสาคัญ โดยมูลค่าการส่งออกขยายตัวร้อยละ 11.2 สูงสุดในรอบ 10 ไตรมาส เช่นเดียวกับเศรษฐกิจเกาหลีใต้ที่กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส โดยขยายตัวร้อยละ 1.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาสของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน รวมทั้งแรงขับเคลื่อนจากการขยายตัวเร่งขึ้นของการส่งออกสินค้าและบริการ การใช้จ่ายภาครัฐ และการลงทุนรวม ขณะที่เศรษฐกิจไต้หวันขยายตัวร้อยละ 8.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และนับเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 42 ไตรมาส ตามการกลับมาขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส และมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ขยายตัวร้อยละ 24.6 สูงสุด ในรอบ 41 ไตรมาส ทั้งนี้ หลายประเทศได้ดาเนินมาตรการฟื้นฟูและกระตุ้นเศรษฐกิจที่สาคัญ ๆ อาทิ รัฐบาลฮ่องกงประกาศมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจวงเงินประมาณ 1.55 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ผ่านการแจกคูปองเพื่อการใช้จ่ายทางออนไลน์ การคืนภาษี และการค้าประกันเงินกู้ รัฐบาลสิงคโปร์ได้ขยายระยะเวลามาตรการสนับสนุนเงินทุนให้กับสถาบันการเงินและวิสาหกิจ และรัฐบาลเกาหลีใต้ประกาศใช้งบประมาณเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นการบริโภคและตลาดแรงงานวงเงินประมาณ 1.33 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ.
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศ NIEs ปรับตัวดีขึ้นจาก ไตรมาสก่อนหน้า ตามการฟื้นตัวขึ้นของ การส่งออกและการผลิตภาคอุตสาหกรรม
9 ธนาคารกลางจีน คงอัตราดอกเบี้ยสาหรับเงินสารองส่วนเกินที่ฝากไว้กับธนาคารกลาง (Interest on Excess Reserve) อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะกลาง อายุ 1 ปีสาหรับสถาบันการเงินไว้ (Medium-Term Lending Facility: MLF) และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ (Loan Prime Rate: LPR) ระยะ 1 ปี ไว้ในระดับต่า ที่ร้อยละ 0.35 ร้อยละ 2.95 และร้อยละ 3.85 ตามลาดับ ขณะที่อัตราดอกเบี้ยข้อตกลงซื้อคืนพันธบัตร (Reverse repo) อายุ 7 วัน คงไว้ที่ร้อยละ 2.2 ซึ่งเป็นระดับต่าที่สุดในประวัติการณ์ ส่วนสัดส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ (Reserve Requirement Ratio: RRR) คงไว้ที่ร้อยละ 9.4
เศรษฐกิจจีนขยายตัว ร้อยละ 18.3 สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ตามการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทั้งการผลิตภาคอุตสาหกรรม การส่งออก และการค้าปลีก
26
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเยน ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม สอดคล้องกับการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและภาคการส่งออกที่ได้รับแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจหลัก โดยเศรษฐกิจเวียดนามขยายตัวร้อยละ 4.5 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวสูงขึ้น ในทุกภาคการผลิตและภาคการส่งออก ขณะที่ เศรษฐกิจมาเลเย เศรษฐกิจอินโดนีเย และเศรษฐกิจฟิลิปปินส์ ฟื้นตัวขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า โดยลดลงร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.7 และร้อยละ 4.2 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 3.4 ร้อยละ 2.2 และร้อยละ 8.3 ตามลาดับ โดยเป็นผลมาจากการปรับตัวดีขึ้นของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคการส่งออก ในส่วนของนโยบายการคลัง มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ได้มีการขยายงบประมาณในการกระตุ้นเศรษฐกิจสาหรับปี 2564 เพิ่มเติม10 ขณะที่ฟิลิปปินส์ได้มีการออกกฎหมายฟื้นฟู ภาคธุรกิจและลดภาษีภาษีเงินได้นิติบุคคล (The Corporate Recovery and Tax Incentives for Enterprises) ณ วันที่ 26 มีนาคม 2564 ในส่วนของนโยบายการเงิน ธนาคารกลางเวียดนาม ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับต่าอย่างต่อเนื่อง11 ขณะที่ธนาคารกลางอินโดนีเซียปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงเป็นร้อยละ 3.50 จากเดิมร้อยละ 3.75 เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564
10 มาเลเซียและอินโดนีเซียได้ปรับเพิ่มงบประมาณในการกระตุ้นเศรษฐกิจในปี 2564 เป็นร้อยละ 2.3 ของ GDP และร้อยละ 3.7 ของ GDP จากเดิมร้อยละ 1.2 ของ GDP และร้อยละ 2.4 ของ GDP ตามลาดับ ขณะที่ฟิลิปปินส์ได้ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมขนาดร้อยละ 0.9 ของ GDP
11 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของเวียดนาม ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย อยู่ที่ร้อยละ 2.50 ร้อยละ 2.00 และร้อยละ 1.75 ตามลาดับ
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเซียน มีการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในทิศทางที่ดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม และภาคการส่งออกสอดคล้องกับเศรษฐกิจโลกที่ปรับตัวดีขึ้น
การขยายตัวของเศรษฐกิจ และมูลค่าการส่งออกของประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ
(%YoY)
GDP
มูลค่าส่งออกสินค้า
2562
2563
2564
2562
2563
2564
ทั้งปี
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
ทั้งปี
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
สหรัฐฯ
2.2
-2.8
-2.4
-3.5
0.4
-1.5
-13.5
-5.7
-13.2
1.8
ยูโรโ น
1.3
-4.1
-4.9
-6.7
-1.8
-2.5
-4.0
4.6
-7.2
2.4*
สหราชอาณาจักร
1.4
-8.5
-7.3
-9.8
-6.1
-0.3
-17.3
-18.1
-15.6
-5.7
ออสเตรเลีย
1.9
-3.9
-0.9
-2.5
-
5.3
-13.0
4.9
-7.5
28.1
ญี่ปุ่น
0.3
-5.8
-1.4
-4.8
-
-4.4
-12.0
3.3
-9.1
8.8
จีน
6.0
4.9
6.5
2.3
18.3
-0.1
8.9
17.0
4.0
48.8
อินเดีย
4.8
-7.3
0.4
-6.9
-
-0.2
-5.3
-4.3
-14.8
19.2
เกาหลีใต้
2.0
-1.1
-1.2
-1.0
1.8
-10.4
-3.5
4.1
-5.5
12.5
ไต้หวัน
3.0
4.3
5.1
3.1
8.2
-1.5
6.0
11.7
4.9
24.6
ฮ่องกง
-1.7
-3.6
-2.8
-6.1
7.9
-4.1
2.3
6.4
-0.5
33.5
สิงคโปร์
1.3
-5.8
-2.4
-5.4
0.2
-5.2
-2.1
-1.7
-4.1
11.2
อินโดนีเย
5.0
-3.5
-2.2
-2.1
-0.7
-6.8
-6.5
6.7
-2.6
17.1
มาเลเย
4.4
-2.7
-3.4
-5.6
-0.5
-3.4
3.5
6.6
-2.6
21.4
ฟิลิปปินส์
6.1
-11.6
-8.3
-9.6
-4.2
2.3
-6.2
1.7
-8.1
7.6
เวียดนาม
7.0
2.7
4.5
2.9
4.5
8.4
10.7
15.0
6.9
23.7
หมายเหตุ: * ข้อมูลเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ 2564
ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช.
27
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจโลกในปี 2564 มีแนวโน้มที่จะกลับมาขยายตัวภายหลังจากการลดลงอย่างรุนแรงของเศรษฐกิจในปี 2563 นาโดยการฟื้นตัวอย่างชัดเจนของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลักที่สาคัญ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ญี่ปุ่น และจีน ที่มีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้นเร็วกว่าที่คาด โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญมาจากการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจขนาดใหญ่อย่างต่อเนื่องและความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนอย่างรวดเร็วทาให้สามารถผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดจนส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการใช้จ่ายภายในประเทศเริ่มกลับมาเป็นปกติได้มากขึ้น ขณะเดียวกัน การฟื้นตัวของเศรษฐกิจอุตสาหกรรมหลักมีแนวโน้มที่จะช่วยสนับสนุนเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่และ กลุ่มประเทศอาเซียนที่พึ่งพิงรายได้จากการส่งออกเป็นหลักให้ขยายตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยูโรโซนยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับข้อจากัดการฟื้นตัวของอุปสงค์ในประเทศ เนื่องจากผลกระทบของการแพร่ระบาดระลอกใหม่นับตั้งแต่ช่วงปลายปีก่อนทาให้รัฐบาลหลายประเทศกลับมาประกาศดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดอย่างเข้มงวดอีกครั้ง นอกจากนี้ เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาที่ยังเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดที่รุนแรงมาก อาทิ อินเดีย บราซิล อาร์เจนตินา ตุรกี และหลายประเทศในอาเซียน อาทิ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย รวมทั้งประเทศที่มีสัดส่วนพึ่งพิงการท่องเที่ยวในระดับสูงและมีความล่าช้าในการกระจายวัคซีนมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากความล่าช้าในการผ่อนคลายมาตรการเดินทางระหว่างประเทศและมีแนวโน้มที่จะทาให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจล่าช้าออกไปมากกว่าที่คาด
ทั้งนี้ แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในกรณีฐานตั้งอยู่บนเงื่อนไขและสมมติฐานที่สาคัญ ได้แก่ (1) การกระจายวัคซีนที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ จนสามารถนาไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd immunity) ได้อย่างเพียงพอ โดยความสามารถในการกระจายวัคซีนให้กับประชาชน จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละกลุ่มประเทศ ในกรณีฐาน คาดว่ากลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลักจะสามารถกระจายวัคซีนได้ครอบคลุมประชากรไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของประชากรทั้งหมดภายในครึ่งแรกของปี 2564 และร้อยละ 75 ภายในสิ้นปี 2564 ส่วนประเทศกาลังพัฒนาและเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่ ในเอเชียคาดว่าจะสามารถกระจายวัคซีนได้ครอบคลุมประชากรร้อยละ 50 ภายในสิ้นปี 2564 และร้อยละ 75 ภายในครึ่งแรกของปี 2565 (2) ไม่มีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงเป็นวงกว้างและยืดเยื้อมากขึ้น และการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสไม่มีผลทาให้ประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงจนก่อให้เกิดการแพร่ระบาดรุนแรงในระลอกใหม่ และส่งผลให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ต้องดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดและล็อกดาวน์อย่างเข้มงวดอีกครั้ง และ (3) ไม่มีการลุกลามของวิกฤตการณ์จากภาคการผลิตสู่วิกฤตการณ์ทางการเงินและการคลังในประเทศสาคัญ ๆ ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าวคาดว่า เศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลกในช่วงปี 2564 จะสามารถฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนให้กับประชาชนได้มากพอสาหรับการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ ในกรณีฐานคาดว่าเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2564 จะขยายตัวร้อยละ 5.8 และร้อยละ 7.8 ตามลาดับ ฟื้นตัวขึ้นจากการลดลงร้อยละ 3.2 และร้อยละ 8.5 ในปี 2563 ตามลาดับ โดยเป็นการปรับเพิ่มจากการขยายตัวร้อยละ 5.2 และร้อยละ 6.7 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยมีแนวโน้มเศรษฐกิจประเทศสาคัญ ๆ ดังนี้
เศรษฐกิจสหรัฐฯ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.0 ฟื้นตัวจากการลดลงร้อย 3.5 ในปี 2563 นับเป็นการขยายตัวสูงสุดของเศรษฐกิจนับตั้งแต่ ปี 2527 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นการขยายตัวร้อยละ 4.8 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามแนวโน้มการฟื้นตัวอย่างชัดเจนของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและอุปสงค์ภาคเอกชนภายในประเทศ ซึ่งเป็นผลจากความคืบหน้าของการกระจายวัคซีนที่เร่งขึ้นมาก โดยปัจจุบันมีการฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนแล้วรวม 264.7 ล้านโดส หรือครอบคลุมสัดส่วนร้อยละ 41.2 ของประชากร (ข้อมูล ณ 13 พฤษภาคม 2564) ทั้งนี้ เครื่องชี้ที่สาคัญ ๆ ในเดือนเมษายน 2564 สะท้อนให้เห็นทิศทางการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ชัดเจน โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อฝ่ายผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายนอยู่ที่ระดับ 60.5 สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ขณะเดียวกัน การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนมีแนวโน้มการฟื้นตัวต่อเนื่องสอดคล้องกับการจ้างงานที่ปรับตัวดีขึ้นอย่างชัดเจน โดยอัตราการว่างงานในเดือนเมษายน 2564 อยู่ที่ร้อยละ 6.1 ใกล้เคียงกับเดือนก่อนหน้า ขณะที่ระดับการจ้างงานนอกภาคเกษตรอยู่ที่ 144.4 ล้านตาแหน่ง และจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานอยู่ที่ 2.6 ล้านคน นับเป็นการปรับตัวดีขึ้นที่สุดในรอบ 13 เดือน และ 14 เดือน ตามลาดับ เช่นเดียวกับการลงทุนภาคเอกชนที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตาม การปรับตัวดีขึ้นของความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ นอกจากนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี 2564 คาดว่าจะได้รับแรงสนับสนุนสาคัญจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของรัฐบาลวงเงินรวมประมาณ 6.1 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นสัดส่วน 32.6 ต่อ GDP ประกอบด้วย แผนกระตุ้นเศรษฐกิจและช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 วงเงิน 1.9 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ที่เริ่มมีการเบิกจ่ายตั้งแต่เดือนมีนาคม 2564 เป็นต้นมา และงบกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจเพิ่มเติม ได้แก่ The American Jobs Plan งบประมาณ 2.25 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. และ The American Families Plan งบประมาณ 1.8 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ.12 ทั้งนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจและการปรับตัวดีขึ้นของการจ้างงานมีแนวโน้มที่จะสร้างแรงกดดันต่อเงินเฟ้อมากขึ้นในระยะต่อไป ดังจะเห็นได้จากอัตราเงินเฟ้อ (CPI) ในเดือนเมษายนอยู่ที่ ร้อยละ 4.2 สูงสุดกว่าระดับเงินเฟ้อเป้าหมายและเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือนกันยายน 2551 อย่างไรก็ดี ในกรณีฐานคาดว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ จะยังคงระดับดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับต่าและไม่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายระยะสั้นในช่วงที่เหลือของปี 2564 และจะยังคงดาเนินมาตรการผ่อนคลายทางการเงินในระดับเดิมต่อไป เพื่อสนับสนุนการกระตุ้นเศรษฐกิจและการจ้างงานให้ฟื้นตัวได้อย่างเต็มที่
4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2564
12 The American Jobs Plan งบประมาณ 2.25 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. เพื่อมุ่งเน้นการฟื้นฟูตลาดแรงงานและสร้างตาแหน่งงานเพิ่มเติมให้แก่ชาวอเมริกัน และ The American Families Plan งบประมาณ 1.8 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. เพื่อมุ่งเน้นไปยังการช่วยเหลือครอบครัวและเยาวชนชาวอเมริกัน โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อยและรายได้ปานกลาง
28
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจยูโรโ น คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.3 ฟื้นตัวขึ้นจากการลดลงร้อยละ 6.7 ในปี 2563 และยังคงเท่ากับการประมาณการครั้งก่อน โดยมีแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายนอยู่ที่ระดับ 62.9 เป็นระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการอยู่ที่ระดับ 50.3 สูงกว่าระดับ 50 เป็นครั้งแรกในรอบ 8 เดือน อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังคงมีข้อจากัดจากการแพร่ระบาดระลอกใหม่ ซึ่งส่งผลให้รัฐบาลหลายประเทศประกาศใช้มาตรการล็อกดาวน์อย่างเข้มงวดอีกครั้ง อาทิ เยอรมนี อิตาลี และเนเธอร์แลนด์ สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงปรับตัวลดลง อยู่ที่ระดับ -8.1 ในเดือนเมษายน ทั้งนี้ รัฐบาลประเทศต่าง ๆ มีแผนการที่จะผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์และการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศนับตั้งแต่ในช่วงไตรมาสที่สองเป็นต้นไป จึงคาดว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจและภารใช้จ่ายภายในประเทศจะเริ่มฟื้นตัว อย่างชัดเจนในช่วงครึ่งหลังของปี นอกจากนี้ เศรษฐกิจยูโรโซนในปี 2564 จะได้รับแรงสนับสนุนจากการดาเนินมาตรการทางการคลังขนาดใหญ่13 ของสหภาพยุโรป วงเงินรวม 1.361 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.5 ต่อ GDP และการดาเนินมาตรการผ่อนคลายทางการเงินอย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุดในการประชุมเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2564 ธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับต่าต่อไปจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะปรับตัวขึ้นใกล้เคียงกับระดับเป้าหมายที่ร้อยละ 2.0 และรักษาระดับการเข้าซื้อพันธบัตรเท่าเดิมต่อไป14
เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.8 ในปี 2564 ฟื้นตัวจากการลดลงร้อยละ 4.8 ในปี 2563 นับเป็นอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สูงสุดในรอบ 10 ปี และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจากการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 2.4 โดยมีแรงสนับสนุนสาคัญจากการกลับมาขยายตัวของ การส่งออกตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าสาคัญ ขณะเดียวกัน อุปสงค์ภายในประเทศมีแนวโน้มที่จะได้แรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายภาครัฐภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2564 วงเงินรวมทั้งสิ้น 106.6 ล้านล้านเยน ซึ่งถือเป็นวงเงินงบประมาณที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ โดยงบประมาณ 5 ล้านล้านเยน ถูกจัดสรรไว้สาหรับการฟื้นฟูเศรษฐกิจเพื่อลดผลกระทบของการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยเฉพาะในการฟื้นฟูภาคบริการ ขณะเดียวกัน ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงดาเนินนโยบายทางการเงินแบบผ่อนคลายเพื่อสนับสนุนสภาพคล่องให้กับเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง15 อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวของเศรษฐกิจญี่ปุ่นยังมีข้อจากัดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดภายในประเทศที่กลับมาทวีความรุนแรงขึ้น จนทาให้รัฐบาลญี่ปุ่นจาเป็นต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศที่มีการระบาดรุนแรงรวมถึงกรุงโตเกียว เป็นครั้งที่ 3 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน 2564 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 ขณะเดียวกัน หากการแพร่ระบาดส่งผลกระทบต่อการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 กรกฎาคม ถึงวันที่ 8 สิงหาคม 2564 จนต้องมีการยกเลิกหรือเลื่อนการจัดออกไปก็มีแนวโน้มที่จะทาให้ การบริโภคภายในประเทศและภาคการท่องเที่ยวไม่สามารถฟื้นตัวได้ตามที่คาดการณ์ไว้
เศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 8.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.3 ในปี 2563 และปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 7.7 ในการประมาณครั้งก่อน เนื่องจากความสาเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการใช้จ่ายภายในประเทศฟื้นตัวกลับมาอยู่ในระดับเดียวกับในช่วงก่อนการแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็ว สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการในเดือนเมษายน 2564 ซึ่งอยู่ที่ 51.9 และ 56.3 เทียบกับ 49.4 และ 44.4 ในเดือนเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับอุปสงค์ภายในประเทศที่ขยายตัวต่อเนื่อง โดยการค้าปลีกภายในประเทศในเดือนมีนาคม ขยายตัวร้อยละ 34.2 สูงสุดในรอบ 295 เดือน ขณะเดียวกัน ภาคการส่งออกของจีนได้รับแรงสนับสนุนจากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก การผ่อนคลายลงของมาตรการกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ และการส่งออกสินค้าบางส่วน ที่ได้รับประโยชน์จากโควิด-19 ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกสินค้าในเดือนเมษายนที่ขยายตัวสูงร้อยละ 31.8 เร่งขึ้นจากเดือนก่อน นอกจากนี้ เศรษฐกิจจีนยังจะได้รับแรงสนับสนุนจากการดาเนินนโยบายทางการเงินแบบผ่อนคลายของธนาคารกลางจีน โดยล่าสุด เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2564 ธนาคารกลางจีนได้เพิ่มปริมาณเงิน 1 หมื่นล้านหยวน (ประมาณ 1.54 พันล้านดอลลาร์ สรอ.) เข้าสู่ตลาดผ่านทางข้อตกลงเข้าซื้อหลักทรัพย์จากธนาคารพาณิชย์ (reverse repos) เพื่อเพิ่มสภาพคล่องในระบบให้เพียงพอ ควบคู่ไปกับการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจทางการคลังอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2563 โดยมีมาตรการสาคัญ อาทิ การให้เงินช่วยเหลือในการดาเนินมาตรการป้องกันและควบคุม การแพร่ระบาดและการผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ การเร่งเบิกจ่ายเงินชดเชยผู้ว่างงานและขยายเวลาการจ่ายเงินชดเชยให้แรงงานต่างชาติ การลดการจัดเก็บภาษีและงดการจัดเก็บเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม รวมทั้งการเร่งการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ เป็นต้น
13 มาตรการการคลังที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะยาวของสหภาพยุโรปในช่วงปี 2564 ? 2570 วงเงิน 1.0743 ล้านล้านยูโร ซึ่งได้รับอนุมัติจาก คณะมนตรียุโรป (European Council) เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2563 (2) แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU ในช่วงปี 2564 ? 2566 วงเงิน 0.75 ล้านล้านยูโร (3) โครงการ EU4Health ในช่วงปี 2564 ? 2570 วงเงิน 5.1 พันล้านยูโร ที่มุ่งเน้นการยกระดับขีดความสามารถทางสาธารณสุขสาหรับภัยคุกคามทางสาธารณสุขและ โรคระบาดในอนาคต ซึ่งสมาชิกรัฐสภายุโรปได้ลงมติยอมรับเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 และ (4) การช่วยเหลือทางการเงินให้กับประเทศสมาชิก 19 ประเทศในรูปแบบของเงินกู้ จากสหภาพยุโรปภายใต้มาตรการสนับสนุนชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเสี่ยงด้านการว่างงานในกรณีฉุกเฉิน (SURE) มูลค่ารวม 9.43 หมื่นล้านยูโร
14 มาตรการการเงินที่สาคัญ ประกอบด้วย การคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.0 และระบุว่าจะยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับต่าต่อไปจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะปรับตัวขึ้นสู่ ใกล้เคียงกับระดับเป้าหมายที่ร้อยละ 2.0 รักษาระดับการเข้าซื้อพันธบัตรภายใต้ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) วงเงินรวม 1.85 ล้านล้านยูโร โดยจะดาเนินการไปจนถึงเดือนมีนาคม 2565 หรือจนกว่า ECB พิจารณาว่าวิกฤตการณ์จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้สิ้นสุดลง และ ECB จะยังดาเนินการเข้าซื้อ พันธบัตรภายใต้โครงการ Asset Purchase Programme (APP) ในวงเงิน 2 หมื่นล้านยูโรต่อเดือนและจะนาเงินต้นที่ได้คืนจากพันธบัตรที่ถือจนครบกาหนดกลับไปซื้อ พันธบัตรใหม่ (Reinvestment) จนกว่า ECB จะเริ่มมีการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เช่นเดียวกับการดาเนินมาตรการเพื่อเสริมสภาพคล่องโดยการรีไฟแนนซ์ ผ่านมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่าให้แก่ธนาคารพาณิชย์รอบที่ 3 (TLTROs III)
15 โดยล่าสุดในการประชุมเมื่อวันที่ 26 - 27 เมษายน 2564 BOJ มีมติให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ (-0.1) และคงเป้าหมายอัตราผลตอบแทน พันธบัตรรัฐบาล (JGBs) อายุ 10 ปี ที่ร้อยละ 0.0
29
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
อย่างไรก็ดี แรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี 2564 อาจได้รับผลกระทบจากการใช้จ่ายภาครัฐมีแนวโน้มลดลง สอดคล้องกับ การปรับลดการขาดดุลการคลังของรัฐบาลลงจากร้อยละ 3.6 ของ GDP ในปีก่อน มาเป็นการขาดดุลร้อยละ 3.2 ในปี 2564
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น โดยได้แรงสนับสนุนสาคัญจากการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคการส่งออกตามการปรับตัวดีขึ้นของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก รวมถึงการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศเนื่องจากการผ่อนปรนมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด โดยคาดว่าเศรษฐกิจเกาหลีใต้ ฮ่องกง และสิงคโปร์ จะขยายตัวร้อยละ 3.5 ร้อยละ 4.4 และร้อยละ 6.2 ตามลาดับ ฟื้นตัวจากการลดลงร้อยละ 1.0 ร้อยละ 6.1 และร้อยละ 5.4 ในปี 2563 และเป็นการปรับเพิ่มจากสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 3.3 ร้อยละ 4.1 และร้อยละ 5.9 ตามลาดับ ส่วนแนวโน้มเศรษฐกิจไต้หวันในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.5 เทียบกับร้อยละ 4.2 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยเร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.1 ในปี 2563 ตามแนวโน้มการส่งออก ที่ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเยน มีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องตามการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการส่งออกสินค้าที่ฟื้นตัวตามเศรษฐกิจและปริมาณการโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฟื้นตัวของเศรษฐกิจคู่ค้าสาคัญอย่างสหรัฐฯ และจีน อย่างไรก็ดี ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกใหม่ของหลายประเทศที่ยังคงรุนแรงจนนาไปสู่การดาเนินมาตรการควบคุมที่เข้มงวดอีกครั้งและข้อจากัดในการกระจายวัคซีนให้ทั่วถึงและเพียงพอต่อการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่จะเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอาเซียนในช่วงที่เหลือของปี ทั้งนี้ คาดว่าในปี 2564 เศรษฐกิจมาเลเซียและฟิลิปปินส์จะขยายตัวที่ร้อยละ 6.4 และร้อยละ 6.1 เท่ากับสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อน และฟื้นตัวขึ้นจากการลดลงที่ร้อยละ 5.6 และร้อยละ 9.6 ในปี 2563 ตามลาดับ ส่วนเศรษฐกิจเวียดนามมีแนวโน้มที่จะขยายตัวที่ร้อยละ 6.5 เร่งขึ้นจาก การขยายตัวร้อยละ 2.9 ในปี 2563 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 6.2 ในการประมาณการครั้งก่อน ในขณะที่ เศรษฐกิจอินโดนีเซีย ในปี 2564 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 5.4 ปรับลดลงจากร้อยละ 6.0 ในการประมาณครั้งก่อน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดภายในประเทศที่ยังคงรุนแรง แต่เป็นการฟื้นตัวขึ้นจากการลดลงร้อยละ 2.1 ในปีก่อน
แม้กระนั้นก็ตาม ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะทาให้เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2564 ขยายตัวต่ากว่าที่คาดการณ์ในกรณีฐาน ซึ่งจะต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในหลายประเทศที่ยังคงเผชิญกับการระบาดที่รุนแรงมากและมีความเสี่ยงที่การระบาดอาจจะยืดเยื้อมากกว่าที่คาดไว้ในกรณีฐาน รวมทั้งมีแนวโน้มที่จะเกิดการแพร่ระบาดในระลอกใหม่ในระยะต่อไปได้ เนื่องจาก (i) การกลายพันธุ์เชื้อไวรัสที่ทาให้มีจานวนสายพันธุ์ใหม่เพิ่มขึ้น อาทิ สายพันธุ์บราซิล สายพันธุ์อังกฤษ สายพันธุ์แอฟริกาใต้ รวมถึงสายพันธุ์อินเดีย ซึ่งมีแนวโน้มที่จะทาให้ประสิทธิภาพของวัคซีนในการสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคโควิด-19 ลดลง และอาจไม่เพียงพอที่จะควบคุมการแพร่ระบาดได้ตามที่คาดในกรณีฐานและนาไปสู่การเกิดการแพร่ระบาดในระลอกใหม่ได้ แม้แต่ในประเทศที่มีการกระจายวัคซีนให้แก่ประชากรในสัดส่วนที่สูงแล้วก็ตาม และ (ii) ความล่าช้าของการกระจายวัคซีนในหลายประเทศจนอาจทาให้ไม่สามารถนาไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้ตามระยะเวลาที่ประเมินไว้ในกรณีฐาน ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การระบาดระลอกใหม่ดังกล่าวถือเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่จะส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ เหล่านั้นต้องกลับมาดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดอย่างเข้มงวดและยังคงจากัดการเดินทางระหว่างประเทศต่อไปในช่วงที่เหลือของปี 2564 ซึ่งจะส่งผลให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกแตกต่างไปจากกรณีฐาน (2) ผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 ทาให้ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะฐานะทางการเงินของภาคธุรกิจและครัวเรือนที่อ่อนแอลงจนทาให้หนี้สินอยู่ในระดับสูงขึ้น ควบคู่ไปกับตลาดแรงงานที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่และอัตรา การว่างงานสูงโดยเฉพาะในภาคบริการ ซึ่งอาจส่งผลต่อการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ รวมถึงช่องว่างทางนโยบาย (Policy Space) ของแต่ละประเทศลดลงจากการดาเนินนโยบายผ่อนคลายทางเศรษฐกิจเพื่อรองรับการแพร่ระบาดในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งจะกลายเป็นข้อจากัดสาคัญของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในระยะต่อไป นอกจากนี้ ยังมีความเสี่ยงจากแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เพิ่มมากขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งมีแนวโน้มที่จะสร้างแรงกดดันให้ธนาคารกลางเริ่มปรับทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินเร็วกว่าที่คาด และอาจจะส่งผลกระทบซ้าเติมต่อความสามารถในการชาระหนี้ของภาคธุรกิจและครัวเรือน และ (3) ความผันผวนของเศรษฐกิจและระบบการเงินโลก ซึ่งขึ้นอยู่กับทิศทาง การเปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศของสหรัฐฯ ภายใต้การดาเนินงานของประธานาธิบดีคนใหม่ ความผันผวนของเงินลงทุนระหว่างประเทศภายใต้ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การระบาดซึ่งจะส่งผลต่อความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงต่อภาคการผลิตโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลกเนื่องจากปัญหาการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ รวมทั้งความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์และเสถียรภาพทางการเมือง อาทิ ความขัดแย้งระหว่างจีนกับไต้หวัน สถานการณ์ทางการเมืองในฮ่องกงและเมียนมา ความขัดแย้ง ในตะวันออกกลาง ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน และเหตุการณ์ความไม่สงบในอิสราเอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ความขัดแย้ง ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อระดับราคาพลังงาน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 30
Economic Outlook NESDC
มาตรการเศรษฐกิจของสหรัฐฯ
เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวได้เร็วกว่าที่คาด โดยมี
ปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการดาเนินมาตรการทางการคลังขนาดใหญ่
เพื่อบรรเทาผลกระทบและกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่
รัฐบาลของประธานาธิบดีทรัมป์ ได้ดาเนินมาตรการภายใต้แผน
CARES Act ที่ได้บังคับใช้ในวันที่ 27 มีนาคม 2563 วงเงินรวม 2.2
ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. เป็นมาตรการเร่งด่วนเพื่อช่วยเหลือเยียวยา
ประชาชน ธุรกิจ และด้านการแพทย์ และในเดือนธันวาคม 2563
ได้อนุมัติมาตรการเพิ่มเติม ได้แก่ แผน The Consolidated Appropriations
Act, 2021 วงเงิน 9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. โดยมุ่งเน้นการช่วยเหลือ
ทางตรง การขยายระยะเวลาสิทธิประโยชน์ผู้ว่างงาน และค่าใช้จ่าย
ทางสาธารณสุข
ต่อมา ภายหลังเข้ารับตาแหน่งของประธานาธิบดีคนใหม่ของ
สหรัฐฯ นายโจ ไบเดนได้อนุมัติแผน The American Rescue Plan
ซึ่งเป็นมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมในเดือนมีนาคม 2564
วงเงินรวม 1.9 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. หรือคิดเป็นร้อยละ 10.3 ของ
GDP ครอบคลุมการให้เงินอุดหนุนเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจแก่
ชาวอเมริกันคนละ 1,400 ดอลลาร์ สรอ. พร้อมทั้งขยายสิทธิประโยชน์
ผู้ว่างงาน งบการศึกษา และช่วยเหลือธุรกิจขนาดเล็กที่ได้รับ
ผลกระทบจากโควิด-19 ส่งผลให้ในปัจจุบันสหรัฐฯ ดาเนินมาตรการ
ทางการคลังรวมงบประมาณกว่า 5 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. หรือคิดเป็น
ร้อยละ 27.1 ต่อ GDP
ในระยะต่อไป ประธานาธิบดีไบเดนได้ประกาศแนวนโยบาย
เพิ่มเติมสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาว ประกอบด้วย แผน The
American Jobs plan วงเงิน 2.3 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ซึ่งเป็น
แผนเกี่ยวกับโครงการลงทุนสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน
การลงทุนในคุณภาพชีวิตและที่อยู่อาศัย การลงทุนในการดูแล
ผู้สูงอายุและผู้พิการ และการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาทักษะ
โดยคาดว่าจะมีระยะเวลาดาเนินนโยบาย 8 ปี และแผน The
American Families Plan ซึ่งเป็นแผนมุ่งเน้นการให้เงินช่วยเหลือ
และการลดภาษีเพื่อลดภาระให้แก่ครัวเรือน วงเงิน 1.9 ล้านล้าน
ดอลลาร์ สรอ. กรอบระยะดาเนินการ 10 ปี โดยในปัจจุบันทั้งสอง
มาตรการยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาในรัฐสภาสหรัฐฯ ทั้งนี้
หากมาตรการดังกล่าวผ่านการอนุมัติคาดว่าจะช่วยฟื้นฟูกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจในระยะต่อไป และมีความเป็นไปได้ที่จะมีการเปลี่ยนแปลง
นโยบายด้านภาษีในอนาคตภายใต้แนวโน้มเศรษฐกิจที่ปรับตัวได้
อย่างแข็งแกร่งมากขึ้น
เงินช่วยเหลือ
ทางตรง
(410)
ภาครัฐ
(360)
สิทธิประโยชน์
ผู้ว่างงาน
(194)
อื่น ๆ (176)
การศึกษา (143)
เครดิตภาษี (123)
การจัดการ
โควิด 19 (105)
สาธารณสุข (105)
ธุรกิจขนาดเล็ก (59)
การคมนาคม (56)
เกษตรกรรม (16)
ระบบคมนาคม
(621)
ภาคการผลิต
งานวิจัย และ
การพัฒนาทักษะ
(590)
การบริการดูแล
ผู้ป่วยที่บ้าน และ
ผู้ให้บริการ (400)
การพัฒนาที่อยู่อาศัย
และสถานที่ต่าง ๆ
(328)
เครือข่ายโทรคมนาคม
และพลังงานสะอาด
(311)
เครดิตภาษี (855)
การศึกษา
(506)
ครอบครัวและเด็ก
(495)
0
20
40
60
80
100
The American
Rescue Plan
The American
Jobs Plan
The American
Families Plan
(ร้อยละ)
โครงสร้างมาตรการของประธานาธิบดีไบเดน
(วงเงิน พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5
(ล้านล้านดอลลาร์ สรอ.)
มาตรการทางศรษฐกิจของสหรัฐฯ นับตั้งแต่มีการแพร่ระบาด
(วงเงิน, สัดส่วนต่อ GDP)
ทรัมป
The CARES Act
ทรัมป
The Consolidated Appropriations Act
ไบเดน
The American Rescue Plan
ไบเดน
The American Jobs Plan
ไบเดน
The American Families Plan
2.2, 11.9%
0.9, 4.9%
1.9, 10.3%
2.3, 12.2%
1.9, 10.1%
31
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจไทยในปี 2564 มีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวอย่างช้า ๆ ภายหลังจากที่ปรับตัวลดลงในปี 2563 โดยมีปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก (2) แรงขับเคลื่อนจากการใช้จ่าย และการลงทุนภาครัฐภายใต้กรอบงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ และการเบิกจ่ายภายใต้พระราชกาหนดเงินกู้ฯ 1 ล้านล้านบาท และ (3) การปรับตัวตามฐานการขยายตัวที่ต่าผิดปกติในปี 2563 แม้กระนั้นก็ตาม เงื่อนไขทางเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี 2564 ยังมีข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่อาจทาให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจมีความแตกต่างจากการคาดการณ์ในกรณีฐาน ประกอบด้วย (1) ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (2) แนวโน้มความล่าช้าในการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว (3) เงื่อนไขด้านฐานะการเงินของภาคครัวเรือนและธุรกิจท่ามกลางตลาดแรงงานที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่และมีความเสี่ยงที่จะถูกซ้าเติม โดยการแพร่ระบาดระลอกใหม่ และ (4) ความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจและระบบการเงินโลก
5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2564
ปัจจัยสนับสนุน
1) การปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2564 นาโดยการฟื้นตัวของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลัก ที่สาคัญ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ญี่ปุ่น และจีน ที่มีแนวโน้มฟื้นตัวเร็วกว่าที่คาดการณ์ โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญมาจากการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจขนาดใหญ่อย่างต่อเนื่องของประเทศเศรษฐกิจหลัก อาทิ แผนกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ยูโรโซน และญี่ปุ่น รวมทั้งความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เริ่มปรับตัวลดลงอย่างชัดเจน อาทิ สหรัฐฯ สหราชอาณาจักร สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และอิสราเอล และทาให้สามารถผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดจนส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจฟื้นตัวได้ต่อเนื่อง นอกจากนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจอุตสาหกรรมหลักมีแนวโน้มที่จะทาให้ปริมาณการค้าโลกขยายตัวดีขึ้น และจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่และกลุ่มประเทศอาเซียนที่พึ่งพิงรายได้จากการส่งออกเป็นหลักให้ขยายตัวได้ต่อเนื่อง
2) แรงขับเคลื่อนจากภาครัฐ ทั้งจากการเบิกจ่ายภายใต้กรอบงบประมาณประจาปีและมาตรการทางเศรษฐกิจที่สาคัญ ๆ ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายภายใต้กรอบงบประมาณประจาปี 2564 ซึ่งในกรณีฐานคาดว่าจะมีการเบิกจ่ายสะสมทั้งปีงบประมาณ 2564 ทั้งสิ้นร้อยละ 92.5 ของกรอบงบประมาณทั้งหมด แบ่งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาและงบประมาณรายจ่ายลงทุนร้อยละ 98.0 และร้อยละ 70.0 ของกรอบงบประมาณ ตามลาดับ ส่งผลให้ทั้งปีงบประมาณ 2564 คาดว่าจะมีการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น 3,038,664 ล้านบาท เทียบกับ 2,943,853 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2563 หรือคิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 ขณะที่งบประมาณเหลื่อมปี 2564 คาดว่า จะมีการเบิกจ่ายทั้งสิ้นร้อยละ 80 ของวงเงินงบประมาณ หรือคิดเป็นวงเงินทั้งสิ้น 172,638 ล้านบาท (2) การเบิกจ่ายภายใต้งบลงทุนรัฐวิสาหกิจในปีงบประมาณ 2564 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงทุนในโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ คาดว่าจะมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 70.0 จากวงเงินลงทุนที่ได้รับอนุมัติ เทียบกับร้อยละ 65.0 ในปีงบประมาณ 2563 (3) การเบิกจ่ายภายใต้พระราชกาหนดเงินกู้ฯ 1 ล้านล้านบาท16 ซึ่งคาดว่าจะมีการเบิกจ่าย ณ สิ้นปีงบประมาณ 2564 รวมทั้งสิ้น 800,000 ล้านบาท โดยเป็นการเบิกจ่าย ในปีงบประมาณ 2564 ทั้งสิ้น 500,756 ล้านบาท หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 67.3 เมื่อเทียบกับปีงบประมาณ 2563 โดยมีแผนงานและโครงการที่สาคัญ ๆ ที่ช่วยเหลือเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดระลอกใหม่ รวมทั้งมาตรการเพื่อสนับสนุนการบริโภคและการจ้างงาน และ (4) การดาเนินมาตรการทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่สาคัญ อาทิ มาตรการทางการเงินเพื่อช่วยเหลือด้านสภาพคล่อง แก่ผู้ประกอบการธุรกิจและลูกหนี้ที่ได้รับผลกระทบภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และมาตรการบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน เป็นต้น
3) การปรับตัวตามฐานการขยายตัวที่ต่าผิดปกติในปี 2563 ผลกระทบของการแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้ในเศรษฐกิจไทย ในปี 2563 ลดลงร้อยละ 6.1 ซึ่งเป็นการถดถอยครั้งแรกในรอบ 11 ปี เช่นเดียวกับเศรษฐกิจโลกที่ลดลงร้อยละ 3.5 ซึ่งเป็นระดับ ที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 เงื่อนไขดังกล่าวจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยในปี 2564 สามารถกลับมาขยายตัวได้ภายใต้แนวโน้มการฟื้นตัวของการส่งออก และการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม
16 พระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 วงเงิน 1 ล้านล้านบาท
32
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
1) ความไม่แน่นอนจากสถานการณ์การแพร่ระบาดทั้งต่างประเทศและภายในประเทศ ความเสี่ยงจากการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส และความล่าช้าในการกระจายวัคีน ข้อมูลผู้ติดเชื้อใหม่รายวันทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง (ข้อมูล ณ วันที่ 13 พฤษภาคม 2564 อยู่ที่ 744,082 คนต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก 349,287 คนต่อวัน ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564) โดยหลายประเทศยังคงเผชิญกับ การเพิ่มขึ้นของจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ อาทิ ยูโรโซน อินเดีย บราซิล อาร์เจนตินา ตุรกี รวมถึงประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในขณะเดียวกัน สถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกใหม่ภายในประเทศยังคงมีความรุนแรง สะท้อนจากจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่และจานวนผู้เสียชีวิตที่ยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง นอกจากนี้ แม้ว่าประเทศอุตสาหกรรมหลักหลายประเทศจะมีความคืบหน้าในการกระจายวัคซีน แต่ประเทศกาลังพัฒนาหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยยังมีข้อจากัดในการกระจายวัคซีน อาทิ ความพร้อมของระบบสาธารณสุขและระบบการบริหารจัดการ ความเพียงพอของจานวนวัคซีน ความวิตกกังวลของประชาชนเกี่ยวกับผลข้างเคียงของวัคซีน เป็นต้น รวมทั้งความไม่แน่นอนของประสิทธิภาพของวัคซีนในการสร้างภูมิคุ้มกันโรคในกรณีที่มีการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของจานวนสายพันธุ์ใหม่ที่ต้องเฝ้าระวัง (Variants of Interest) และสายพันธุ์ที่น่ากังวล (Variants of Concern)17 ซึ่งอาจนาไปสู่การแพร่ระบาดรุนแรงในระลอกใหม่มากขึ้นจนต้องมีการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดอีกครั้ง และจะส่งผลให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก รวมทั้งเศรษฐกิจไทยล่าช้ากว่าที่คาดในกรณีฐาน
2) แนวโน้มความล่าช้าในการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดที่ยังมีความรุนแรง การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส รวมทั้งความไม่แน่นอนของการกระจายวัคซีนทั้งในประเทศและประเทศต้นทางของนักท่องเที่ยวที่อาจมีความล่าช้าและไม่เพียงพอต่อ การสร้างความมั่นใจในความปลอดภัยในการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศภายในปี 2564 มีแนวโน้มที่จะทาให้ประเทศต้นทางของนักท่องเที่ยวและไทยยังมีความจาเป็นต้องยังคงดาเนินมาตรการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศเพื่อเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ซึ่งจะส่งผลให้การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวของไทยล่าช้าออกไปกว่าที่คาดในกรณีฐาน
3) เงื่อนไขด้านฐานะการเงินของภาคครัวเรือนและธุรกิจโดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของภาระหนี้สินที่ถูกซ้าเติมจากการระบาดในระลอกใหม่ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ จะเป็นแรงกดดันต่อการฟื้นตัวของการใช้จ่ายภาคครัวเรือนและการลงทุนของภาคเอกชนมากขึ้น ทั้งนี้ การดาเนินมาตรการของภาครัฐเพื่อช่วยเหลือลูกหนี้รายย่อยที่ได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่อง อาทิ การพักชาระหนี้ชั่วคราว การลดภาระชาระหนี้ และการปรับโครงสร้างหนี้ ที่ได้ดาเนินการไปแล้วและมีการขยายระยะเวลามาตรการออกไป ส่งผลให้สัดส่วนสินเชื่อ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-performing Loans) ในไตรมาสที่สี่ปี 2563 ทรงตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.1 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้าและใกล้เคียงกับร้อยละ 3.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และสัดส่วนของสินเชื่อชั้นกล่าวถึงพิเศษ (Special Mention Loans) ในไตรมาสที่สี่ปี 2563 อยู่ที่ร้อยละ 6.7 ลดลงจากร้อยละ 7.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ในไตรมาสที่สี่ของปี 2563 อยู่ที่ร้อยละ 89.3 ส่วนตลาดแรงงานไทยยังคงไม่ฟื้นตัวเต็มที่ แสดงให้เห็นจากอัตราการว่างงานในไตรมาสที่แรกของปี 2564 อยู่ที่ร้อยละ 1.96 สูงขึ้นจากร้อยละ 1.86 ในไตรมาสก่อน และสูงกว่าร้อยละ 1.03 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยอัตราการว่างงานยังคงสูงในสาขาที่ยังคงมีข้อจากัดในการฟื้นตัว อาทิ สาขาที่พักแรม สาขาตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว สาขาการบริหารสานักงาน และสาขาการก่อสร้างอาคาร สอดคล้องกับจานวนผู้ใช้สิทธิกรณีว่างงานตามมาตรา 38 ในเดือนมีนาคม 2564 ที่มีจานวน 345,908 คน เพิ่มขึ้นจาก 310,031 คน ในเดือนกุมภาพันธ์ และยังคงสูงกว่าเดือนเดียวกันของปีก่อนที่ 170,144 คน อย่างไรก็ตาม จานวนผู้ขอรับสิทธิชดเชยกรณีนายจ้างหยุดกิจการชั่วคราวตามมาตรา 75 ในไตรมาสแรกของปี 2564 ลดลงมาอยู่ที่ 82,346 คน จากจานวน 102,000 คน ในไตรมาสสุดท้าย ของปีก่อน และ 121,338 คน ในไตรมาสแรกของปี 2563 ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการกลับมาเปิดดาเนินกิจการเป็นปกติและบางส่วน เป็นผลจากการหยุดกิจการถาวร
ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง
17 สายพันธุ์ใหม่ที่ต้องเฝ้าระวัง (Variants of Interest) เชื้อไวรัสโครานา 2019 ที่มีการกลายพันธุ์ โดยมีการเปลี่ยนแปลงในส่วนของ Receptor Binding Domain และเมื่อสายพันธุ์ที่ต้องการเฝ้าระวังดังกล่าวมีลักษณะที่ ทาให้การติดเชื้อเป็นไปได้ง่ายมากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะทาให้ประสิทธิภาพของวัคซีนลดลง จะถูกยกระดับการเฝ้าระวังเป็นสายพันธุ์ที่น่ากังวล (Variants of Concern)
2.09.025.63.4051015202530Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q12561256225632564อัตราการว่างงานรวมการก่อสร้างอาคารที่พักแรมตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยวการบริหารสานักงาน(ร้อยละ)อัตราการว่างงานแยกรายสาขาการผลิตที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ
33
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
4) ความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจและระบบการเงินโลก โดยมีเงื่อนไขในเศรษฐกิจโลกที่จะต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) ทิศทางการดาเนินนโยบายของประเทศเศรษฐกิจหลักโดยเฉพาะนโยบายระหว่างประเทศของสหรัฐฯ และจีน (2) ความผันผวนของตลาดเงิน รวมทั้งเงินลงทุนระหว่างประเทศภายใต้ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาด ซึ่งจะส่งผลต่อ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและการเคลื่อนย้ายเงินทุน (3) แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินของธนาคารกลางประเทศสาคัญในระยะต่อไป ภายใต้แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของแรงกดดันด้านเงินเฟ้อเนื่องจากการฟื้นตัวดีขึ้นของเศรษฐกิจเร็วกว่าที่คาดและการเร่งตัวขึ้นของราคาสินค้าโภคภัณฑ์เนื่องจากผลของการดาเนินนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจและแนวโน้มการใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากความต้องการซื้อสะสมในช่วงก่อนหน้า (Pending Demand) อย่างไรก็ตาม ในกรณีฐานคาดว่าธนาคารกลางสาคัญ ๆ จะยังไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย รวมถึงปรับลดมาตรการทางการเงินเชิงปริมาณภายในปี 2564 (4) การฟื้นตัวที่ไม่พร้อมกันของเศรษฐกิจประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่ยังคงเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดที่รุนแรงและมีขีดจากัดทางด้านระบบสาธารณสุขและการกระจายวัคซีนที่ไม่เพียงพอ มีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวได้ช้ากว่าเศรษฐกิจอื่น ๆ รวมทั้งความเสี่ยงจากปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศที่มีโครงสร้างและปัจจัยพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจที่อ่อนแออาจมีการฟื้นตัวของเศรษฐกิจช้ากว่าเศรษฐกิจอื่น ๆ (5) ความเสี่ยงต่อห่วงโซ่การผลิตโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลกเนื่องจากปัญหาการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ และ (6) ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์และเสถียรภาพทางการเมือง อาทิ ความขัดแย้งระหว่างจีนกับไต้หวัน สถานการณ์ทางการเมืองในฮ่องกง ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง และเหตุการณ์ความไม่สงบในอิสราเอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อระดับราคาพลังงาน รวมถึงสถานการณ์ทางการเมืองในเมียนมาที่อาจจะส่งผลต่อการค้าชายแดนและการควบคุมการแพร่ระบาดตามแนวชายแดนได้
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พ ษภาคม 2564 34
Economic Outlook NESDC
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโลกทวีความรุนแรงขึ้น
ในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคม โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในประเทศอินเดีย บราซิล อาร์เจนติน่า
อิหร่าน และตุรกี ที่มีจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่
เฉลี่ยต่อวันสูงกว่า 100,000 คน อีกทั้งยังมีจานวน
ผู้ที่ได้รับวัคซีนต่อจานวนประชากรทั้งหมดยังอยู่
ในระดับต่า ในขณะเดียวกัน กลุ่มประเทศที่ประสบ
ความสาเร็จในการกระจายวัคซีนให้กับประชาชน
อาทิ สหรัฐฯ อิสราเอล สหราชอาณาจักร และ
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีแนวโน้มที่จะควบคุม
สถานการณ์การแพร่ระบาดได้ดี โดยจานวนผู้ติดเชื้อ
รายใหม่ลดลงอย่างมีนัยสาคัญ และมีแนวโน้ม
จะสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้ก่อนประเทศอื่น ๆ
แม้กระนั้นก็ตาม การทวีความรุนแรงขึ้นของ
การแพร่ระบาดในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งส่วนหนึ่งเป็น
ผลมาจากการกลายพันธุ์ของไวรัสซึ่งทาให้
การแพร่ระบาดเร็วขึ้นกว่าสายพันธุ์เดิม รวมทั้ง
เป็นปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ
ของวัคซีนในการสร้างภูมิคุ้มกันซึ่งเป็นเงื่อนไข
ที่จะต้องติดตามและประเมินสถานการณ์
อย่างใกล้ชิด
สถานการณ์การแพร่ระบาดและความคืบหน้าของการฉีดวัคีน
จานวนผู้ติดเชื้อสะสม
จานวนผู้ติดเชื้อใหม่ (แกนขวา)
0.00
0.25
0.50
0.75
1.00
0
50
100
150
200
ม.ค. 63 มี.ค. 63 พ.ค. 63 ก.ค. 63 ก.ย. 63 พ.ย. 63 ม.ค. 64 มี.ค. 64 พ.ค. 64
จานวนผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อใหม่ทั่วโลก (ล้านคน)
0
10
20
30
40
50
60
0
50
100
150
200
250
300
21 ธ.ค. 5 ม.ค. 20 ม.ค. 4 ก.พ. 19 ก.พ. 6 มี.ค. 21 มี.ค. 5 เม.ย. 20 เม.ย. 5 พ.ค.
(พันคน) (คนต่อประชากร 100 คน)
สหรัฐฯ
0
20
40
60
80
100
0
2
4
6
8
10
21 ธ.ค. 5 ม.ค. 20 ม.ค. 4 ก.พ. 19 ก.พ. 6 มี.ค. 21 มี.ค. 5 เม.ย. 20 เม.ย. 5 พ.ค.
(พันคน) (คนต่อประชากร 100 คน)
อิสราเอล
ที่มา: Our World in Data และองค์การอนามัยโลก
0
10
20
30
40
0
20
40
60
80
5 ม.ค. 20 ม.ค. 4 ก.พ. 19 ก.พ. 6 มี.ค. 21 มี.ค. 5 เม.ย. 20 เม.ย. 5 พ.ค.
(พันคน) (คนต่อประชากร 100 คน)
สหราชอาณาจักร
จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เฉลี่ย 7 วันย้อนหลัง (แกนซ้าย)
จานวนผู้ได้รับวัคซีนครบโดสต่อประชากร 100 คน (แกนขวา)
0
20
40
60
80
100
0
1
2
3
4
5 ม.ค. 20 ม.ค. 4 ก.พ. 19 ก.พ. 6 มี.ค. 21 มี.ค. 5 เม.ย. 20 เม.ย. 5 พ.ค.
(พันคน) (คนต่อประชากร 100 คน)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สายพันธุ์
B.1.1.7
(สายพันธุ์อังก ษ)
B.1.351
(สายพันธุ์แอฟริกาใต้)
P.1
(สายพันธุ์บราล)
B.1.427 และ B.1.429
(สายพันธุ์แคลิฟอร์เนีย)
B.1.617, B.1.617.1, B.1.617.2, และ
B.1.617.3 (สายพันธุ์อินเดีย)
กลุ่มของไวรัส1/ Variant of Concern Variant of Concern Variant of Concern Variant of Concern Variant of Interest2/
พบครั้งแรก สหราชอาณาจักร
(กันยายน 2563)
แอฟริกาใต้
(ธันวาคม 2563)
บราซิล
(พฤศจิกายน 2563)
สหรัฐฯ
(พฤษภาคม 2563)
อินเดีย (ตุลาคม 2563 - กุมภาพันธ์ 2564)
ผลจากการกลายพันธุ์ แพร่ระบาดได้เร็วขึ้นจาก
สายพันธุ์เดิมร้อยละ 50
และ เพิ่มความเสี่ยงใน
การเสียชีวิต
แพร่ระบาดง่ายขึ้นและมี
โอกาสติดเชื้อสูงขึ้น
รวมทั้งมีโอกาสติดเชื้อซ้า
แพร่ระบาดได้ง่ายขึ้น 2.5
เท่า รวมทั้งสามารถ
ต้านทานวัคซีนและหลบ
เลี่ยงระบบภูมิต้านทานได้
ดี ส่งผลให้มีโอกาสติดเชื้อ
ซ้าเพิ่มขึ้น
แพร่ระบาดได้เร็วขึ้นจาก
สายพันธุ์เดิมร้อยละ 20
แพร่ระบาดได้เร็วขึ้นกว่าสายพันธุ์เดิม
จานวนประเทศที่พบ มากกว่า 114 ประเทศ มากกว่า 60 ประเทศ มากกว่า 25 ประเทศ มากกว่า 26 ประเทศ มากกว่า 17 ประเทศ
ผลกระทบต่อประสิทธิภาพวัค น3/ Pfizer-BioNTech,
Moderna, Johnson &
Johnson, AstraZene
ca, Sputnik และ
Novavax ยังคงมี
ประสิทธิภาพในการ
ป้องกันที่ดี (โดยเฉพาะ
Johnson & Johnson
และ AstraZeneca)
วัคซีนที่มีอยู่บางตัวนั้น
อาจมีประสิทธิภาพลดลง
กับไวรัสโคโรนาสายพันธุ์
นี้ แต่ WHO ระบุว่า
วัคซีนยังสามารถป้องกัน
อาการเจ็บป่วยร้ายแรง
และการเสียชีวิตได้ แม้ว่า
จะไม่สามารถป้องกัน
อาการจากการติดเชื้อได้
อย่างสมบูรณ์
ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดที่
บ่งชี้ว่า วัคซีนไม่สามารถ
ต้านไวรัสสายพันธุ์นี้ได้
แต่มีความเป็นไปได้ที่
ไวรัสสายพันธุ์นี้สามารถ
หลบเลี่ยงแอนติบอดีซึ่ง
จะส่งผลต่อประสิทธิภาพ
ของวัคซีนที่มีอยู่ใน
ปัจจุบัน
ลดประสิทธิภาพวัคซีน
เล็กน้อย
มีแนวโน้มที่จะลดประสิทธิภาพของวัคซีนลง
เล็กน้อย
หมายเหตุ: 1/ กลุ่มของไวรัสแบ่งโดย Centers of Disease Control and Prevention (CDC)
2/ World Health Organization (WHO) ได้ประกาศให้เป็น Variant of Concern ในวันที่ 10 พฤษภาคม 2564
3/ ข้อมูลจาก CDC ?SARS-CoV-2 Variant Classifications and Definitions? เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2564
ที่มา: CDC, ECDC, WHO และ The Matter
35
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
ความคืบหน้าวัคีนป้องกันโควิด-19
บริษัท
ประเทศผู้ผลิต
ชนิดวัคีน
ประสิทธิภาพ
อนุมัติโดย
จานวนที่ได้รับการจอง
(ล้านโดส)
ราคา/โดส
(บาท)
โดยรวม
ป้องกัน
อาการรุนแรง
WHO
อย.
BioNTech/Pfizer
สหรัฐฯ
mRNA
95%
ไม่มีข้อมูล
*
1,220
700
Moderna
สหรัฐฯ
mRNA
91%
100%
*
*
816
450 - 750
Oxford-AstraZeneca
อังกฤษ
Viral vector
70%
100%
*
*
3,009
120
Sinovac
จีน
เชื้อที่ตายแล้ว
50%
100%
*
367
450 - 900
Sinopharm
จีน
เชื้อที่ตายแล้ว
79%
ไม่มีข้อมูล
*
230
1,000
Gamaleya
รัสเซีย
Viral vector
92%
100%
765
300
Johnson& Johnson
สหรัฐฯ
Viral vector
67%
85%
*
*
368
300
Novavax
สหรัฐฯ
โปรตีนของไวรัส
89%
100%
1,404
500
CanSino Biologics
จีน
Viral vector
66%
91%
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ที่มา: รวบรวมโดย สศช. (ข้อมูล ณ วันที่ 14 พฤษภาคม 2564)
หมายเหตุ: * อนุมัติ ** รอการอนุมัติ
การพัฒนาและผลิตวัคซีนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยปัจจุบัน มีวัคซีนที่ได้รับรับรองจากองค์การอนามัยโลกทั้งสิ้น 6 ชนิดคือ (1) วัคซีนไฟเซอร์-ไบโอเอ็นเทค (BioNTech/Pfizer) พัฒนาโดยสหรัฐฯ และมีฐานการผลิตอยู่ที่สหรัฐฯ เยอรมนี เบลเยียม และอินเดีย (2) วัคซีนโมเดอร์นา (Moderna) พัฒนาและผลิตโดยสหรัฐฯ (3) วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า (Oxford-AstraZeneca) พัฒนาโดยอังกฤษ และมีฐานการผลิตอยู่ที่อินเดีย อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม (4) วัคซีนจอห์นสัน แอนด์ จอห์นสัน (Johnson & Johnson) พัฒนาโดยสหรัฐฯ และมีฐานการผลิตอยู่ที่จีน (5) วัคซีนโควิชิลด์ (Covishield) พัฒนาและผลิตโดยอินเดีย และ (6) วัคซีนชิโนฟาร์ม (Sinopharm) พัฒนาและผลิตโดยจีน ทั้งนี้ ข้อมูล ณ วันที่ 3 มีนาคม 2564 ชี้ให้เห็นว่าประเทศที่ผลิตวัคซีนได้สูงสุด 4 อันดับแรกของโลกคือ จีน สามารถผลิตวัคซีนรวมกันทั้งหมดได้ 141.6 ล้านโดส สหรัฐฯ 103 ล้านโดส เยอรมนี/เบลเยียม 70.5 ล้านโดส และอินเดีย 42.4 ล้านโดส โดยรวม ทั่วโลกมีปริมาณการผลิตวัคซีนแล้วทั้งสิ้น 413 ล้านโดส
ปัจจุบัน หลายประเทศยังเผชิญกับการแพร่ระบาดที่รุนแรงและไม่สามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้ ส่งผลให้ความต้องการวัคซีนยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ประเทศผู้ผลิตจาเป็นต้องจัดสรรวัคซีนให้แก่ประชาชนในประเทศก่อนเป็นหลัก โดยเมื่อพิจารณาจากการได้รับวัคซีนของประชากรในแต่ละภูมิภาค จะพบว่าสัดส่วนผู้ได้รับวัคซีนต่อประชากรในภูมิภาคอเมริกาเหนือและยุโรปซึ่งเป็นแหล่งผลิตวัคซีนส่วนใหญ่ของโลกอยู่ในระดับสูงถึงร้อยละ 48.4 และร้อยละ 31.9 ตามลาดับ ในขณะที่ภูมิภาคอเมริกาใต้ เอเชีย และแอฟริกา มีสัดส่วนดังกล่าวอยู่ที่ร้อยละ 18.6 ร้อยละ 12.2 และร้อยละ 1.4 ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาสัดส่วนการใช้ตามยี่ห้อวัคซีนพบว่าประเทศในภูมิภาคอเมริกาเหนือและยุโรปมีสัดส่วนในการใช้วัคซีนไฟเซอร์-ไบโอเอ็นเทคและโมเดอร์นาที่สูงกว่าชนิดอื่น ๆ ส่วนภูมิภาคเอเชียและแอฟริกามีสัดส่วนในการใช้วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า ชิโนฟาร์ม และชิโนแว๊กซ์ สูงกว่าชนิดอื่น
สาหรับสถานการณ์การฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของไทยกระทรวงสาธารณสุขได้แถลงแผนปรับปรุงการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 โดยได้ตั้งเป้า ให้สามารถฉีดครบทุกกลุ่มเป้าหมาย เป็นจานวน 100 ล้านโดส ครอบคลุมประชากร 50 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 70 ของประชากรทั้งประเทศภายใน ปี 2564 อย่างไรก็ตาม จากการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) (ศบค.) ครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 ได้มีการจัดหาวัคซีนไว้แล้วทั้งสิ้น 63 ล้านโดส แบ่งเป็น (1) วัคซีนชิโนแวก 2.5 ล้านโดส ในเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเมษายน (2) วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า จานวน 26 ล้านโดส และ 35 ล้านโดส ในเดือนช่วงมิถุนายนถึงสิงหาคม และช่วงเดือนกันยายนถึงธันวาคม ตามลาดับ ล่าสุดจากข้อมูล ณ วันที่ 13 พฤษภาคม 2564 มีวัคซีนที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด 2,476,496 โดส ดาเนินการฉีดวัคซีนแล้วเสร็จ 2,124,732 โดส แบ่งเป็นการฉีดเข็มที่ 1 จานวน 1,416,432 โดส (ประมาณร้อยละ 2.1 ของประชากร) และเป็นการฉีดเข็ม 2 จานวน 708,300 โดส (ประมาณ ร้อยละ 1.1 ของประชากร) โดยเป็นการฉีดให้กับกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ (1) บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข (2) เจ้าหน้าที่ด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสัมผัสโรค (3) ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป และผู้ที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง (4) กลุ่มอาชีพเสี่ยง เช่น พนักงานขับรถสาธารณะ เป็นต้น และ (5) ประชาชนในพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดรุนแรง
0.00.30.60.91.21.51.82.12.40.00.20.40.60.81.01.21.41.627 ก.พ.14 มี.ค.29 มี.ค.13 เม.ย.28 เม.ย.13 พ.ค.(ล้านโดส)(คนต่อประชากร 100 คน)ความคืบหน้าการฉีดวัคีนป้องกันโควิด 19 ในประเทศไทยเข็มที่ 1 สะสมเข็มที่ 2 สะสมเข็มที่ 2 ต่อประชากร 100 คน (แกนขวา)ที่มา: กรมควบคุมโรค
36
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
1) สมมติฐานด้านการแพร่ระบาดและวัคีน การประมาณการเศรษฐกิจครั้งนี้ตั้งอยู่บนสมมติฐานในกรณีฐานที่สาคัญ ดังนี้ (1) สถานการณ์การแพร่ระบาดภายในประเทศสามารถควบคุมให้อยู่ในวงจากัดและไม่รุนแรงขึ้น และไม่นาไปสู่การบังคับใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวดและเป็นวงกว้างในหลายพื้นที่มากขึ้นกว่าในปัจจุบัน โดยในกรณีฐานคาดว่าจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ภายในประเทศจะเริ่ม ผ่านพ้นจุดสูงสุดในช่วงเดือนพฤษภาคม 2564 และยังไม่มีการแพร่เชื้อของไวรัสกลายพันธุ์จนนาไปสู่การระบาดระลอกใหม่ที่รุนแรงมากขึ้น (2) การกระจายวัคซีนสามารถเป็นไปอย่างต่อเนื่องและตามเป้าหมายที่คาดไว้ในกรณีฐาน คาดว่าจะสามารถกระจายวัคซีนในปริมาณมากขึ้นได้ในช่วงครึ่งหลังของปี โดยประชากรไทยร้อยละ 75 จะได้รับวัคซีนภายในปี 2564 ส่งผลให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ภายในประเทศภายในไตรมาสแรกของปี 2565 (3) วัคซีนมีประสิทธิภาพในการป้องกันโควิด-19 และสามารถสร้างการตอบสนองต่อภูมิคุ้มกันโรคได้ดี และ (4) การฉีดวัคซีนในพื้นที่สาคัญด้านการท่องเที่ยวเป็นไปตามเป้าหมาย ทั้งนี้ ภายใต้สมมติฐานการระบาดและการกระจายวัคซีนดังกล่าวจึงคาดว่าประเทศต้นทางของนักท่องเที่ยวต่างชาติและประเทศไทยจะเริ่มพิจารณาเตรียมการผ่อนคลายมาตรการควบคุม การเดินทางระหว่างประเทศและเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ได้รับวัคซีนแล้วให้เดินทางเข้ามาได้มากขึ้นโดยไม่ต้องกักตัวในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2564 อย่างไรก็ตาม การดาเนินการดังกล่าวตั้งอยู่บนเงื่อนไขของการรักษาความปลอดภัยด้านการเดินทาง การป้องกัน การระบาดของโรคและประสิทธิภาพของการกระจายวัคซีนให้กับประชาชนในพื้นที่ เป็นสาคัญ
2) เศรษฐกิจโลกในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.8 เร่งขึ้นจากการลดลงร้อยละ 3.2 ในปี 2563 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 5.2 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในไตรมาสแรกของปี 2564 ของหลายประเทศเศรษฐกิจหลักที่สูงกว่าที่คาดการณ์ โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจีน โดยเป็นผลจากความสาเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดและความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนและการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ซึ่งช่วยสนับสนุนให้อุปสงค์ภายในประเทศ ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจหลักมีแนวโน้มที่จะช่วยให้เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่และ กลุ่มประเทศอาเซียนที่พึ่งพิงรายได้จากการส่งออกเป็นหลักฟื้นตัวได้มากขึ้น ทั้งนี้คาดว่า ปริมาณการค้าโลกในปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 7.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 8.5 ในปี 2563 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 6.7 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน
3) ค่าเงินบาทเฉลี่ยทั้งปี 2564 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 29.8 ? 30.8 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นจากค่าเฉลี่ย 31.3 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในปี 2563 แต่อ่อนค่าลงเล็กน้อยจากที่คาดไว้ในการประมาณการครั้งก่อนที่ 29.5 ? 30.5 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. โดยค่าเงินในช่วงสี่เดือนแรกของปี 2564 เฉลี่ยอยู่ที่ 30.53 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. และค่าเงินบาทในเดือนเมษายนที่ 31.32 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าและอ่อนค่ากว่าที่คาดไว้เดิม สอดคล้องกับเศรษฐกิจไทยที่ยังคงเผชิญกับข้อจากัดในการฟื้นตัวจากการแพร่ระบาดระลอกใหม่และการลดลงของรายรับจากการท่องเที่ยวที่ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มเกินดุลลดลง ขณะเดียวกันค่าเงินดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นตามเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มฟื้นตัวได้เร็วกว่าที่คาด เนื่องจากความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนและการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม สอดคล้องกับแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวของสหรัฐฯ อย่างไรก็ดี ยังมีความเสี่ยงจากความผันผวนของค่าเงินบาทภายใต้ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดและประสิทธิภาพของวัคซีน ประกอบกับความกังวลของนักลงทุนต่อความไม่แน่นอนในการปรับทิศทางนโยบายการเงินของธนาคารกลางประเทศหลัก โดยเฉพาะธนาคารกลางสหรัฐฯ ท่ามกลางแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้น
ข้อสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2564
ตารางสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2564
ข้อมูลจริง
ประมาณการ 2564
2561
2562
2563
ณ 15 ก.พ. 2564
ณ 17 พ.ค. 2564
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก (%)1/
3.9
3.0
-3.2
5.2
5.8
สหรัฐอเมริกา
3.0
2.2
-3.5
4.8
6.0
ยูโรโซน
1.9
1.3
-6.7
4.3
4.3
ญี่ปุ่น
0.6
0.3
-4.8
2.4
2.8
จีน
6.7
6.0
2.3
7.7
8.7
อัตราการขยายตัวปริมาณการค้าโลก (%)
3.9
0.9
-8.5
6.7
7.8
อัตราแลกเปลี่ยน
32.3
31.0
31.3
29.5 ? 30.5
29.8 ? 30.8
ราคาน้ามัน (ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล)
69.5
63.3
42.4
48.0 ? 58.0
58.0 ? 68.0
ราคาส่งออก (%)
3.4
0.3
-0.8
1.5 ? 2.5
2.5 ? 3.5
ราคานาเข้า (%)
5.7
0.3
-3.8
2.0 ? 3.0
3.5 ? 4.5
รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ล้านล้านบาท)
1.82
1.85
0.44
0.32
0.17
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2564
หมายเหตุ: 1/ เศรษฐกิจโลกคานวณ Trade weight เฉพาะ 15 เศรษฐกิจคู่ค้าสาคัญ ในปี 2562
37
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
4) ราคาน้ามันดิบดูไบเฉลี่ยในปี 2564 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 58.0 ? 68.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจาก 42.4 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรลในปี 2563 และเป็นการปรับเพิ่มจากสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อนที่ 48.0 ? 58.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล สอดคล้องกับราคาน้ามันที่ปรับตัวเพิ่มสูงกว่าคาดในช่วงไตรมาสแรกของปี ทั้งนี้ ปัจจัยสนับสนุนการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันดิบในช่วง ที่เหลือของปี 2564 ที่สาคัญ ได้แก่ (1) แนวโน้มการฟื้นตัวดีกว่าที่คาดของเศรษฐกิจโลกในปี 2564 โดยสานักบริหารสารสนเทศพลังงานสหรัฐฯ (US Energy Information Administration: EIA) ได้คาดการณ์ในเดือนเมษายน 2564 ว่าความต้องการใช้น้ามันทั่วโลกทั้งปี 2564 จะเพิ่มขึ้น 5.5 ล้านบาร์เรลต่อวันจากปี 2563 หรือคิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 (2) การปรับลดกาลังการผลิตของกลุ่ม OPEC ที่ส่งผลให้คาดว่าปริมาณการผลิตน้ามันดิบทั่วโลกจะอยู่ที่ประมาณ 31.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน น้อยลงจาก 32.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน ที่คาดไว้เดิม และ (3) ปริมาณน้ามันดิบคงคลังของสหรัฐฯ อยู่ในระดับต่า โดยล่าสุด ณ สิ้นเดือนเมษายน 2564 อยู่ที่ร้อยละ 72.1 ของความจุถังจัดเก็บน้ามันที่กาลังใช้งานจริง (Working Storage Capacity) ต่าสุดใน 9 สัปดาห์ และยังคงต่ากว่าเฉลี่ยร้อยละ 73.9 ในปี 2563 อย่างไรก็ตาม ปัจจัยสาคัญที่ฉุดรั้งอัตราการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันไม่ให้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ได้แก่ (1) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยังคงรุนแรงในหลายประเทศโดยเฉพาะอินเดียและญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศผู้นาเข้าน้ามันอันดับสามและสี่ของโลก ประกอบกับแนวโน้มการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสที่อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของวัคซีนและความเชื่อมั่นในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (2) แนวโน้มการผ่อนคลายมาตรการคว่าบาตรอิหร่าน และ (3) ความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก OPEC และกลุ่มประเทศพันธมิตร (OPEC+) ในการปรับเพิ่มกาลังการผลิตที่ 350,000 บาร์เรลต่อวันในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน และ 441,000 บาร์เรลต่อวันในเดือนกรกฎาคม
5) ราคาสินค้าส่งออกและราคาสินค้านาเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. คาดว่าในปี 2564 จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ? 3.5 และร้อยละ 3.5 ? 4.5 โดยมีค่ากลางของช่วงสมมติฐานราคาส่งออกและราคานาเข้าอยู่ที่ร้อยละ 3.0 และร้อยละ 4.0 ตามลาดับ เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.7 และร้อยละ 3.4 ในปี 2563 ตามลาดับ และเป็นการปรับเพิ่มสมมติฐานราคาสินค้านาเข้าจากการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับ การปรับเพิ่มสมมติฐานราคาน้ามันดิบในตลาดโลก และแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2564
6) รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศปี 2564 คาดว่าจะอยู่ที่ 0.17 ล้านล้านบาท ลดลงจาก 0.44 ล้านล้านบาทในปี 2563 หรือคิดเป็นการลดลงร้อยละ 62.6 และเป็นการปรับลดลงจาก 0.32 ล้านล้านบาท ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ตามการลดลงของประมาณการจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2564 จาก 3.2 ล้านคนในการประมาณการครั้งก่อน เป็น 0.5 ล้านคนในการประมาณครั้งนี้ และเป็นการลดลงจาก 6.7 ล้านคนจากปี 2563 หรือลดลงร้อยละ 92.5 การปรับลดสมมติฐานดังกล่าวเป็นผลจากสถานการณ์การแพร่ระบาดในหลายประเทศทั่วโลกที่ยังอยู่ในระดับสูงและการแพร่ระบาดระลอกใหม่ภายในประเทศ นอกจากนี้ ยังมีความไม่แน่นอนของประสิทธิภาพของวัคซีนท่ามกลางการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส โดยเป็นการปรับลดสมมติฐานจานวนนักท่องเที่ยวในประเทศต้นทาง ที่สาคัญ ได้แก่ สหภาพยุโรป อินเดีย และภูมิภาคเอเชียใต้ ที่ยังคงเผชิญกับการระบาดรุนแรงและมีความเสี่ยงจากเชื้อไวรัสที่กลายพันธุ์ รวมทั้งประเทศจีนที่มีแนวโน้มยังจากัดการเดินทางออกนอกประเทศของนักท่องเที่ยวชาวจีน อย่างไรก็ตาม ในกรณีฐานคาดว่าประเทศไทย จะสามารถกระจายวัคซีนให้กับพื้นที่เป้าหมายได้ตามกาหนดและมีปริมาณที่เพียงพอจนนาไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้ ซึ่งจะส่งผลให้ มีการผ่อนคลายมาตรการเปิดรับนักท่องเที่ยวในพื้นที่ภูเก็ต (Phuket Sandbox) ภายในไตรมาสที่สาม และในพื้นที่นาร่องอื่น ๆ ภายในไตรมาสสุดท้ายของปี 2564
7) การเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 92.5 ของงบประมาณ ซึ่งเป็นการปรับลดจากสมมติฐานการเบิกจ่ายร้อยละ 93.5 ในประมาณการครั้งก่อน โดยแบ่งเป็น อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาร้อยละ 98.0 เท่ากับประมาณการครั้งก่อน และอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนร้อยละ 70.0 ลดลงจากร้อยละ 75.0 ในประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2564 ที่อยู่ในระดับต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ (2) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีอยู่ที่ร้อยละ 85.0 เท่ากับสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อน (3) อัตราการเบิกจ่าย งบลงทุนรัฐวิสาหกิจร้อยละ 70.0 ของวงเงินงบประมาณ เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา และ (4) การใช้เงินภายใต้ พระราชกาหนดเงินกู้ฯ 1 ล้านล้านบาท ซึ่งมีการเบิกจ่ายสะสม ณ วันที่ 3 พฤษภาคม 2564 รวม 649,570 ล้านบาท และคาดว่าจะมี การเบิกจ่ายเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจในปีงบประมาณ 2564 รวม 501,000 ล้านบาท เทียบกับวงเงินเบิกจ่ายในปีงบประมาณ 2563 ที่ 299,000 ล้านบาท โดยงบประมาณเบิกจ่ายสะสมถึงสิ้นปีงบประมาณ 2564 คิดเป็นวงเงินทั้งสิ้น 800,000 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 80.0 ของวงเงินกู้รวม เท่ากับประมาณครั้งก่อน
38
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจไทยปี 2564 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 1.5 - 2.5 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 2.0) เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.1 ในปี 2563 สาหรับอัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 1.0 ? 2.0 เทียบกับร้อยละ (-0.8) ในปี 2563 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ที่ร้อยละ 0.7 ของ GDP เทียบกับร้อยละ 3.3 ในปี 2563
ในการแถลงข่าววันที่ 17 พ ษภาคม 2564 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยปี 2564 จะขยายตัวร้อยละ 1.5 - 2.5 โดยมีค่ากลางการประมาณการอยู่ที่ร้อยละ 2.0 เป็นการปรับลดประมาณการการขยายตัวทางเศรษฐกิจลงจากร้อยละ 2.5 ? 3.5 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 3.0) ในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 รวมทั้งการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับเงื่อนไขและการปรับเปลี่ยนสมมติฐานประมาณการที่สาคัญ ๆ ดังนี้
1) การแพร่ระบาดที่รุนแรงกว่าที่คาดในหลายประเทศทั่วโลกและการกลับมาระบาดระลอกใหม่ภายในประเทศ รวมทั้งการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสที่กระจายตัวมากขึ้น ซึ่งอยู่นอกเหนือจากเงื่อนไขและสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อน ส่งผลให้มีการปรับประมาณการองค์ประกอบการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) การปรับประมาณการการส่งออกบริการ ให้สอดคล้องกับแนวโน้มการฟื้นตัวที่ล่าช้ากว่าที่คาดของภาคการท่องเที่ยว เนื่องจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดทั้งในประเทศและหลายประเทศทั่วโลกที่เป็นแหล่งต้นทางนักท่องเที่ยว รวมทั้งความเสี่ยงจากการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสที่มากขึ้นและความล่าช้า ในการกระจายวัคซีนของหลายประเทศ มีแนวโน้มที่จะทาให้ประเทศต้นทางของนักท่องเที่ยวและไทยยังไม่สามารถผ่อนคลายมาตรการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศเพื่อเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติได้ตามที่คาด ซึ่งจะส่งผลให้การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวของไทยล่าช้าออกไปกว่าที่คาดในการประมาณการครั้งก่อน โดยคาดว่าในปี 2564 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจะอยู่ที่ 5 แสนคน ลดลงจาก 3.2 ล้านคน ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับ 6.7 ล้านคน ในปี 2563 ส่งผลให้คาดว่าจะมีรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติรวม 1.7 แสนล้านบาท ลดลงจาก 3.2 แสนล้านบาท ในการประมาณการครั้งก่อน และ 4.4 แสนล้านบาทในปี 2563 และ (2) การปรับประมาณการการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน เนื่องจากผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดภายในประเทศระลอกใหม่ที่มี ความรุนแรง สะท้อนจากจานวนผู้ติดเชื้อใหม่ต่อวันสูงกว่าการระบาดในช่วงที่ผ่านมาจนทาให้รัฐบาลต้องเพิ่มระดับความเข้มงวดของมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดในแต่ละพื้นที่18 และส่งผลให้การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนในช่วงครึ่งแรกของปีชะลอตัวลงอย่างมีนัยสาคัญ โดยคาดว่าในปี 2564 การอุปโภคและบริโภคภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 1.6 ปรับลดลงจากร้อยละ 2.0 ในการประมาณการครั้งก่อน
2) การปรับสมมติฐานการเบิกจ่ายของงบประมาณรายจ่ายลงทุนภาครัฐ ให้สอดคล้องกับข้อมูลจริงในสองไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2564 ที่มีการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมไปร้อยละ 24.6 ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด ซึ่งต่ากว่าร้อยละ 30.0 ที่คาดการณ์ไว้ในการประมาณเศรษฐกิจครั้งก่อน ดังนั้น ในการประมาณการครั้งนี้จึงปรับลดสมมติฐานการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนสาหรับปีงบประมาณ 2564 เป็นร้อยละ 70.0 ลดลงจากร้อยละ 75.0 ในการประมาณครั้งก่อน ซึ่งจะส่งผลให้การลงทุนภาครัฐขยายตัวได้ช้าลงกว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม
3) การปรับสมมติฐานเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก ให้สอดคล้องกับแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจซึ่งมีสัญญาณฟื้นตัวดีกว่า ที่คาดการณ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจสหรัฐฯ จีน และประเทศในกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ (ซึ่งมีมูลค่าการส่งออกรวมคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 47 ของมูลค่าส่งออกทั้งหมดของไทย) ส่งผลให้คาดว่าในปี 2564 เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกมีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 5.8 และร้อยละ 7.8 ตามลาดับ เป็นการปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 5.2 และร้อยละ 6.7 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ซึ่งจะส่งผลให้ภาคการส่งออก การลงทุนภาคเอกชน และการผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทยฟื้นตัวได้ดีกว่าที่คาดการณ์
ประมาณการเศรษฐกิจปี 2564
18 ตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด ? 19) (ศบค.) ที่ 20/2564 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2564 ได้กาหนดให้พื้นที่ 18 จังหวัดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด และ 59 จังหวัดเป็นพื้นที่ควบคุม อีกทั้งยังได้มีการประกาศใช้มาตรการเพื่อการควบคุมการแพร่ระบาดอื่น ๆ ได้แก่ การห้ามการดาเนินการหรือจัดกิจกรรมที่เสี่ยงต่อการแพร่โรค การปิดสถานบริการและสถานที่เสี่ยงต่อการแพร่โรคทั่วประเทศ และการขอความร่วมมือ ให้ประชาชนงดหรือชะลอการเดินทาง เป็นต้น
39
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค (1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 ปรับตัวดีขึ้น จากการลดลงร้อยละ 1.0 ในปี 2563 แต่เป็นการปรับลดลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.0 ในประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกใหม่ภายในประเทศที่มีความรุนแรงมากกว่าที่คาดการณ์ ซึ่งทาให้ผู้บริโภคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและระมัดระวังพฤติกรรมการใช้จ่ายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ รวมทั้งรัฐบาลจาเป็นต้องดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวดในบางพื้นที่อีกครั้ง สอดคล้องกับความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือนเมษายนที่ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 40.3 ต่าสุดเป็นประวัติการณ์ และ (2) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคภาครัฐบาล คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.1 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน และเร่งขึ้นจากร้อยละ 0.9 ในปี 2563 สอดคล้องกับสมมติฐานอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2564 ที่ร้อยละ 98.0 ของวงเงินงบประมาณ และการเบิกจ่ายสะสมภายใต้พระราชกาหนดเงินกู้ฯ 1 ล้านล้านบาท ณ สิ้นปีงบประมาณ 2564 จากร้อยละ 80 ของวงเงินกู้ เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน
2) การลงทุนรวม คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.8 ในปี 2563 และเป็นการปรับลดจากการขยายตัวร้อยละ 5.7 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยคาดว่าการลงทุนภาครัฐ จะขยายตัวร้อยละ 9.3 ปรับลดจากร้อยละ 10.7 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับลดสมมติฐานอัตราเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2564 ลงเป็นร้อยละ 70 ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด จากสมมติฐานเดิมที่ร้อยละ 75 เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลอัตราการเบิกจ่ายในครึ่งแรกของปีงบประมาณ ซึ่งต่ากว่า ที่คาดไว้ในสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา ส่วนการลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 4.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 8.4 ในปี 2563 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.8 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับแนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นของเศรษฐกิจและการค้าโลก
3) มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 10.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.6 ในปี 2563 และ เป็นการปรับเพิ่มจากการขยายตัวร้อยละ 5.8 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยคาดว่าปริมาณการส่งออกสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 7.3 สูงกว่าการขยายตัวร้อยละ 3.8 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการปรับเพิ่มสมมติฐานการขยายตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก รวมทั้งการปรับเพิ่มสมมติฐานราคาส่งออกสินค้าจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 เป็นร้อยละ 3.0 ตามสมมติฐานราคาน้ามัน ในตลาดโลกและแนวโน้มราคาสินค้าโภคภัณฑ์ โดยเฉพาะราคาเหล็กที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม คาดว่านักท่องเที่ยวต่างชาติ ที่เดินทางเข้ามายังประเทศไทยในปี 2564 มีจานวนทั้งสิ้น 5 แสนคน เทียบกับ 6.7 ล้านคนในปีก่อน และเป็นการปรับลดลงจาก 3.2 ล้านคน ในการประมาณการครั้งก่อน ส่งผลให้การส่งออกบริการอยู่ในระดับต่ากว่าประมาณการครั้งที่ผ่านมา เมื่อรวมกับการปรับเพิ่มประมาณการ การส่งออกสินค้า ทาให้ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการรวมขยายตัวร้อยละ 1.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.2 ในการประมาณการครั้งก่อน และการลดลงร้อยละ 19.4 ในปี 2563
4) มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 13.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 13.5 ในปี 2563 และเป็น การปรับเพิ่มจากการขยายตัวร้อยละ 6.5 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลจากการปรับเพิ่มปริมาณการนาเข้าสินค้าซึ่งคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 9.1 สอดคล้องกับการฟื้นตัวของการส่งออกและการลงทุนภาคเอกชน รวมทั้งการปรับเพิ่มสมมติฐานราคานาเข้าสินค้าจากร้อยละ 2.5 เป็นร้อยละ 4.0 ตามสมมติฐานราคาน้ามันในตลาดโลก เมื่อรวมกับการปรับประมาณการการนาเข้าบริการ คาดว่าปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการมีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 4.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.5 ในการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับการลดลงร้อยละ 13.3 ในปี 2563
5) ดุลการค้า คาดว่าจะเกินดุลที่ 3.87 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงจากการเกินดุล 3.98 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2563 และการเกินดุล 4.08 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในการประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากการปรับเพิ่มประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้า เร็วกว่ามูลค่าการส่งออก และเมื่อรวมกับการขาดดุลบริการที่มากขึ้น คาดว่าจะส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ 3.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือคิดเป็นร้อยละ 0.7 ของ GDP ลดลงจากการเกินดุล 12.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือร้อยละ 2.3 ของ GDP ในการประมาณการครั้งก่อน
6) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยทั้งปี 2564 จะอยู่ในช่วงร้อยละ 1.0 ? 2.0 เท่ากับในการประมาณการครั้งก่อน โดยผลของแรงกดดันจากการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันจะถูกชดเชยด้วยการลดลงของแรงกดดันทางด้านการใช้จ่ายภายในประเทศ และเป็นการกลับมาปรับเพิ่มขึ้นของระดับราคาเมื่อเทียบกับอัตราเงินเฟ้อร้อยละ (-0.8) ในปี 2563
องค์ประกอบของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
40
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจไทยในปี 2564 มีแนวโน้มที่จะปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องจากช่วงครึ่งหลังของปี 2563 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกซึ่งจะช่วยสนับสนุนการฟื้นตัวและขยายตัวของการส่งออกและการผลิตภาคอุตสาหกรรม ควบคู่ไปกับแรงขับเคลื่อนจากการดาเนินมาตรการเพื่อแก้ปัญหาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภาครัฐ อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในระยะต่อไปยังมีปัจจัยเสี่ยงและข้อจากัดจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 แนวโน้มความล่าช้าในการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว เงื่อนไขด้านฐานะการเงินของภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ และความผันผวนของเศรษฐกิจและระบบการเงินโลก ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว การบริหารนโยบายเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี 2564 จึงควรให้ความสาคัญกับ
1) การควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดภายในประเทศเพื่อให้จานวนผู้ติดเชื้อลดลงและอยู่ในวงจากัดโดยเร็ว และการป้องกัน การกลับมาระบาดรุนแรงในระลอกใหม่ โดยมุ่งเน้น (1) การบังคับใช้มาตรการควบคุมโรคและป้องกันการระบาดของภาครัฐ อย่างเคร่งครัด ควบคู่ไปกับการยกระดับกระบวนการเฝ้าระวังสอบสวนโรคเชิงรุก โดยเฉพาะการเร่งรัดการตรวจเชิงรุกในเขตพื้นที่หรือชุมชนที่มีความเสี่ยงสูงในกรุงเทพฯ หรือเขตเมืองต่าง ๆ ที่ยังคงเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดรุนแรง รวมทั้งการดูแลและควบคุมกิจกรรมและกิจการบางประเภทที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงของการระบาดของโรคอย่างเข้มงวด และการป้องกันการนาเข้าเชื้อไวรัสกลายพันธุ์เพิ่มเติม โดยเฉพาะจากนักท่องเที่ยวต่างชาติและผู้ที่เดินทางข้ามชายแดน (2) การเร่งรัดจัดหาและกระจายวัคีนให้กับประชาชน อย่างครอบคลุมทั่วถึงและเพียงพอเพื่อให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ โดยการจัดลาดับความสาคัญตามหลักการสาธารณสุขในการกระจายให้กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ควบคู่ไปกับการคานึงถึงความจาเป็นเร่งด่วนในการฟื้นฟูกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่เศรษฐกิจทั้งใน ภาคการท่องเที่ยวและภาคการผลิตที่สาคัญ รวมทั้งมีความยืดหยุ่นตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป (3) การพัฒนาศักยภาพของระบบสาธารณสุขให้เพียงพอต่อการรองรับการแพร่ระบาดในปัจจุบันและที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต และ (4) การเร่งประชาสัมพันธ์และ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการเข้ารับวัคซีน รวมถึงการรณรงค์เกี่ยวกับแนวทาง ในการปฏิบัติและดูแลตัวเอง เพื่อป้องกันการกลับมาแพร่ระบาดระลอกใหม่และลดโอกาสการกลับมาติดเชื้อซ้าภายหลังได้รับวัคซีนแล้ว
2) การดาเนินมาตรการทางเศรษฐกิจเพื่อช่วยเหลือเยียวยาประชาชน แรงงาน และภาคธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดและมาตรการเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ ประกอบด้วย (1) การเร่งรัดติดตามมาตรการต่าง ๆ ทั้งด้านการเงินและการคลังที่ได้ดาเนินการไปแล้ว ให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่แท้จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับการพิจารณามาตรการเพิ่มเติมและปรับเปลี่ยนมาตรการเดิมให้ตอบสนองภาคเศรษฐกิจและพื้นที่เศรษฐกิจที่มีข้อจากัดในการฟื้นตัว และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันให้มากที่สุด (2) การพิจารณามาตรการช่วยเหลือภาคแรงงานผ่านมาตรการรักษาระดับการจ้างงานให้แก่ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่ได้รับผลกระทบ ควบคู่ไปกับการพิจารณามาตรการสร้างงานใหม่และมาตรการพัฒนาทักษะแรงงาน และ (3) การพิจารณาดาเนินมาตรการกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจในระยะต่อไปภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลายลง
3) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้า เพื่อสร้างรายได้จากต่างประเทศและสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการผลิตและการลงทุนภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสาคัญกับ (1) การขับเคลื่อนการส่งออกไปยังตลาดหลักที่มีการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ชัดเจน และการสร้างตลาดใหม่ให้กับสินค้าที่มีศักยภาพ (2) การเร่งรัดยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร อาหาร และสินค้าอุตสาหกรรม ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตรงตามข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า (3) การใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ควบคู่ไปกับการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าที่สาคัญ ๆ ในลักษณะหุ้นส่วนยุทธศาสตร์หรือพหุภาคี (4) การเร่งรัด การเจรจาความตกลงการค้าเสรีที่กาลังอยู่ในขั้นตอนของการเจรจา และเตรียมศึกษาเพื่อเจรจากับประเทศคู่ค้าสาคัญใหม่ ๆ เช่น สหภาพยุโรป (EU) สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EFTA) และสหราชอาณาจักรภายหลัง Brexit รวมทั้งการให้ความสาคัญกับข้อตกลงระหว่างประเทศที่สาคัญ ๆ ที่อาจถูกหยิบยกเป็นเครื่องมือสาหรับการดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้า และ (5) การปกป้องความเสี่ยงจาก ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและการเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิต เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
4) การส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน โดย (1) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2561 - 2563 ให้เกิดการลงทุนจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการลงทุนที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายของการส่งเสริมการลงทุนตามนโยบาย การส่งเสริมการลงทุนของประเทศ (2) การแก้ไขปัญหาที่นักลงทุนและผู้ประกอบการต่างชาติเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและ การประกอบธุรกิจในประเทศไทยเพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมกับการลงทุนและดึงดูดการลงทุนเพิ่มเติมจากทั้งภาคเอกชนของไทยและต่างประเทศ อาทิ ข้อจากัดและอุปสรรคในการทางานและการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุนในการดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่ (3) การดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุนเชิงรุกและอานวยความสะดวก เพื่อดึงดูดนักลงทุนเฉพาะกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อให้เข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้น (4) การส่งเสริมการลงทุน ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) 10 จังหวัด และพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อการกระตุ้น ให้เกิดการลงทุนในภูมิภาคมากขึ้น (5) การให้ความสาคัญกับการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่นักลงทุน และ (6) การขับเคลื่อนการลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ๆ ให้เป็นไปตามแผน ที่กาหนดไว้ ควบคู่ไปกับการปรับโครงสร้างภาคการผลิตและภาคบริการที่สาคัญ ๆ เพื่อยกระดับศักยภาพการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในระยะยาว
6. ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
41
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
5) การรักษาแรงขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ โดยการเร่งรัดการเบิกจ่าย (1) งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2564 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 92.5 แบ่งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาร้อยละ 98.0 และงบลงทุนร้อยละ 70.0 (2) งบเหลื่อมปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85.0 (3) งบลงทุนรัฐวิสาหกิจให้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70.0 และ (4) แผนงานและโครงการตามพระราชกาหนดฯ เงินกู้วงเงิน 1 ล้านล้านบาท ให้มีการเบิกจ่ายสะสม ณ สิ้นปีงบประมาณ 2564 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80.0 ของวงเงินกู้
6) การเตรียมความพร้อมสาหรับการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ เพื่อให้ภาคการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่องสามารถกลับมาฟื้นตัวได้ทันทีที่มีการกระจายวัคซีนทั้งในและต่างประเทศที่เป็นแหล่งต้นทางของนักท่องเที่ยวครอบคลุมเป็นวงกว้างและเพียงพอต่อการสร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ โดยควรให้ความสาคัญกับการพิจารณาจัดสรรและกระจายวัคซีนให้แก่พื้นที่แหล่งท่องเที่ยวนาร่องในจานวนที่เพียงพอควบคู่ไปกับการพิจารณาเตรียมความพร้อมของพื้นที่เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ทั้งในด้านระบบรองรับการเฝ้าระวังสอบสวนโรค การปรับปรุงที่พักและแหล่งท่องเที่ยวให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัย ด้านสาธารณสุขและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเตรียมระบบสนับสนุนความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและการเดินทาง และการปรับปรุงการให้บริการระบบขนส่งสาธารณะ
7) การรักษาบรรยากาศทางการเมืองภายในประเทศ เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบซ้าเติมปัญหาเศรษฐกิจและเป็นอุปสรรคต่อบรรยากาศ ความเชื่อมั่น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวและการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ยังมีความเปราะบางท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19
42
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
มาตรการสาคัญที่รัฐบาลได้ดาเนินการเพื่อเยียวยาและฟื้นฟูผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19
มาตรการ
รายละเอียด
กรอบวงเงิน (ล้านบาท)
การเบิกจ่าย (ล้านบาท)
1.มาตรการช่วยเหลือภาคครัวเรือน
มาตรการบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน
? บรรเทาภาระค่าไฟฟ้าและค่าน้าประปาแก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (ต.ค. 63 - ก.ย. 64)
? บรรเทาภาระค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน (ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า ค่าอินเตอร์เน็ต) สาหรับประชาชนทั่วไปและกิจการขนาดเล็ก (สาหรับรอบบิล ก.พ. - มี.ค. 64 และ พ.ค. - มิ.ย. 64)
1,423.5
20,000
1,423.5
?
มาตรการรักษาระดับการบริโภคภายในประเทศและเพิ่มกาลังื้อให้แก่กลุ่มผู้มีรายได้น้อย และประชาชนทั่วไป
? มาตรการลดภาระค่าครองชีพให้แก่ประชาชนในกลุ่มที่จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วยผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้ที่ต้องการความ ช่วยเหลือเป็นพิเศษ 200 บาทต่อคนต่อเดือน (ก.ค. - ธ.ค. 64)
? โครงการคนละครึ่ง รัฐร่วมจ่ายร้อยละ 50 ไม่เกิน 150 บาท/คน/วัน ไม่เกินคนละ 3,500 บาทตลอดโครงการ โดยใช้ซื้อสินค้าผ่าน g-wallet (สิ้นสุด มี.ค. 64)
? โครงการช้อปดีมีคืน สาหรับผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซื้อสินค้าที่จ่ายจริงไม่เกิน 30,000 บาท นาไปลดหย่อนภาษีปีภาษี 2563
19,380
52,500
14,000*
?
49,812.8
?
มาตรการเยียวยากลุ่มอาชีพอิสระ กลุ่มเปราะบาง และเกษตรกร
? โครงการเราชนะ (เงินช่วยเหลือค่าครองชีพแก่กลุ่มผู้ประกอบอาชีพอิสระ เกษตรกร กลุ่มผู้มีรายได้น้อย รวมถึงผู้ที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ไม่เกินคนละ 3,500 บาท ระยะเวลา 2 เดือน รวม 7,000 บาท) มีผู้ได้รับสิทธิ์แล้ว 32.9 ล้านคน และขยายเพิ่มวงเงินช่วยเหลือให้ประชาชนอีกสัปดาห์ละ 1,000 บาท เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ โดยมีระยะเวลาการใช้จ่ายสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2564
277,200
204,062
มาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่าของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
? โครงการสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับผู้มีอาชีพอิสระและผู้มีรายได้ประจา (ธนาคารออมสิน)
? โครงการสินเชื่อเสริมพลังฐานราก (ธนาคารออมสิน)
? โครงการสินเชื่อฉุกเฉินสาหรับเกษตรกรรายย่อย (ธ.ก.ส.)
? โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยต่าเพื่อช่วยเหลือประชาชนฐานรากสาหรับสานักงานธนานุเคราะห์ (ธนาคารออมสิน)
? มาตรการสินเชื่อสู้ภัย COVID-19 สาหรับผู้มีรายได้ประจา ประกอบอาชีพอิสระ และเกษตรกรรายย่อยหรือลูกจ้างภาคการเกษตร (ธ.ก.ส.)
? มาตรการพักชาระหนี้ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยขยายระยะเวลาพักชาระหนี้ให้แก่ลูกค้ารายย่อย ออกไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ตามความสมัครใจ
20,000
10,000
20,000
2,000
20,000
?
อนุมัติสินเชื่อแล้ว 17,300
อนุมัติสินเชื่อแล้ว 11,500**
?
อนุมัติสินเชื่อแล้ว 2,000
?
?
มาตรการภาษี เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และบรรเทาผลกระทบ
? ขยายระยะเวลากรณีการยื่นรายการผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและชาระภาษีตามแบบ ภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด. 91 ปีภาษี 2563 เลื่อนเป็นภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2564 จากวันที่ 8 เมษายน 2564
? มาตรการลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างสาหรับปีภาษี 2564 ในอัตราร้อยละ 90
? มาตรการลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสาหรับที่อยู่อาศัย ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 64
? การขยายกาหนดเวลาดาเนินการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างประจาปี 2564 ถึงเดือนสิงหาคม 2564
? การขยายกาหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชาระภาษีให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
? มาตรการขยายเวลาลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันเครื่องบิน
? การยกเว้นอากรศุลกากรสาหรับของที่นาเข้ามาเพื่อใช้รักษา วินิจฉัย หรือป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
?
35,545*
5,900*
?
?
?
?
?
?
?
?
?
?
?
2. มาตรการช่วยภาคท่องเที่ยว
โครงการเราเที่ยวด้วยกัน
? รับส่วนลดค่าที่พักร้อยละ 40 จานวน 15 คืน/คน จานวน 8 ล้านสิทธิ คูปองสาหรับใช้จ่ายสูงสุด 900 บาทต่อวัน และเงินคืนค่าตั๋วเครื่องบินสูงสุด 2,000 บาท (เลื่อนระยะเวลาการดาเนินการออกไปจนกว่าสถานการณ์การระบาดจะคลี่คลาย)
26,666.7
14,300
โครงการทัวร์เที่ยวไทย
? รัฐบาลสนับสนุน ค่าเดินทางของประชาชนในลักษณะร่วมจ่าย (Co-pay) ร้อยละ 40 ของค่าใช้จ่ายแพ็คเกจนาเที่ยว แต่ไม่เกิน 5,000 บาท รวม 1 ล้านสิทธิ์ (เลื่อนระยะเวลาการ ดาเนินการออกไปจนกว่าสถานการณ์การระบาดจะคลี่คลาย)
5,000
?
โครงการกาลังใจ
? รัฐบาลสนับสนุนงบประมาณให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครสาธารณสุขของกรุงเทพมหานคร (อสส.) และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) เดินทางท่องเที่ยวผ่านบริษัททัวร์
2,400
655.5
การเปิดรับนักท่องเที่ยวประเภทพิเศษ Special Tourist Visa
? วีซ่าท่องเที่ยวพิเศษสาหรับบุคคลที่ประสงค์จะเดินทางมาพานักระยะยาว (Long Stay) ภายในประเทศไทย
?
?
มาตรการ Workation Thailand ทางาน เที่ยวได้ รวมใจ ช่วยชาติ
? รัฐบาลจะร่วมมือให้ผู้ประกอบการรายใหญ่ และรัฐวิสาหกิจ ช่วยเหลือผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม ด้วยการซื้อห้องพักเพื่อให้เกิดสภาพคล่องสามารถรักษาการจ้างงาน
?
?
หมายเหตุ: * ประมาณการการสูญเสียรายได้จากการจัดเก็บภาษี
43
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
มาตรการสาคัญที่รัฐบาลได้ดาเนินการเพื่อเยียวยาและฟื้นฟูผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 (ต่อ)
มาตรการ
รายละเอียด
กรอบวงเงิน (ล้านบาท)
การเบิกจ่าย (ล้านบาท)
3. มาตรการช่วยเหลือภาคธุรกิจและผู้ประกอบการ SMEs
มาตรการด้านการเงินเพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ SMEs
? มาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่า (Soft loan) สาหรับผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก โควิด-19 ภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบวิสาหกิจที่ ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 (พ.ร.ก. Soft loan)
? มาตรการสนับสนุนการให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบธุรกิจ วงเงิน 250,000 ล้านบาท และมาตรการสนับสนุนการรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อชาระหนี้ วงเงิน 100,000 ล้านบาท ภายใต้ พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019
? มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่ ของธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ การต่ออายุมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ และการให้ผู้ให้บริการทางการเงินเร่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ทุกประเภท
? มาตรการลดอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบการเงิน (FIDF) รวมทั้งการปรับวิธีคิดดอกเบี้ยผิดนัดชาระหนี้
? มาตรการช่วยเหลือและบรรเทาภาระหนี้ของ ธปท. เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ที่มีเจ้าหนี้หลายราย (โครงการ DR BIZ)
? การสนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้เข้าถึงการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
? มาตรการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานระยะเวลาการให้สินเชื่อการค้า (Credit term) ในประเทศไทย (ลูกหนี้การค้าจะต้องชาระหนี้ให้แก่คู่ค้าภายใน 30 - 45 วัน)
500,000
350,000
?
?
?
?
?
อนุมัติสินเชื่อแล้ว 138,200
อนุมัติสินเชื่อแล้ว 8,225
?
?
?
?
?
มาตรการเพื่อเสริม สภาพคล่อง
? โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยต่าเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม (มาตรการ Soft Loan) ผ่านธนาคารออมสิน
? โครงการสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการรายย่อย (ธพว.)
? โครงการสินเชื่อฟื้นฟูท่องเที่ยวไทย ผ่านธนาคารออมสิน
? โครงการสินเชื่อ SME มีที่ มีเงิน สาหรับธุรกิจการท่องเที่ยวและสาขาธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ผ่านธนาคารออมสิน
150,000
10,000
5,000
10,000
อนุมัติสินเชื่อแล้ว 125,302
?
อนุมัติสินเชื่อแล้ว 888
ยื่นขอสินเชื่อเต็มวงเงินแล้ว
มาตรการเสริมสภาพคล่อง (ด้านการค้าประกันสินเชื่อ)
? โครงการค้าประกันสินเชื่อ SMEs ไทยสู้ภัยโควิด (ภายใต้โครงการค้าประกันสินเชื่อ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 9 วงเงิน 150,000 ล้านบาท) (บสย.)
? โครงการค้าประกันสินเชื่อ Micro ไทยสู้ภัยโควิด (ภายใต้โครงการค้าประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการ Micro Entrepreneurs ระยะที่ 4 วงเงิน 25,000 ล้านบาท) (บสย.)
? โครงการค้าประกันสินเชื่อ PGS Soft Loan พลัส กรอบวงเงิน 57,000 ล้านบาท ระยะ 8 ปี (บสย.)
5,000
5,000
57,000
?
?
ค้าประกันสินเชื่อแล้ว 3,000
มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านโครงการปรับโครงสร้างหนี้
? มาตรการเพื่อช่วยเหลือลูกหนี้แต่ละรายเพิ่มเติมเป็นการเฉพาะภายหลังมาตรการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ตาม พ.ร.ก. Soft loan สิ้นสุด อาทิ การพัก การชะลอ และการลดค่างวด การชาระหนี้ โดย ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 มีลูกหนี้ได้รับความช่วยเหลือแล้วรวม 5.98 ล้านบัญชี
?
ยอดภาระหนี้ที่ได้รับความช่วยเหลือ 3.87 ล้านล้านบาท
4. มาตรการช่วยเหลือแรงงาน
ลดหย่อนเงินสมทบนายจ้างและผู้ประกันตน
? ปรับลดการจ่ายประกันสังคมตามมาตรา 33 เป็นร้อยละ 3 จากปกติร้อยละ 5 สาหรับเดือนมกราคม 2564 และปรับลดเป็นร้อยละ 0.5 จากปกติร้อยละ 5 สาหรับ ก.พ. - มี.ค. 2564 รวมระยะเวลา 3 เดือน ซึ่งลดภาระให้แก่ผู้ประกันตนจานวน 12.79 ล้านคน และนายจ้าง 4.87 แสนราย
?
?
มาตรการเพิ่มสิทธิประโยชน์กรณีว่างงาน
? ผู้ประกันตนมาตรา 33 ได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงาน อัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างรายวัน ตามที่ส่งเงินสมทบไม่เกิน 90 วัน คุ้มครองผู้ประกันตนตามมาตรา 33 กรณีว่างงาน จากการถูกเลิกจ้างและลาออก
?
44,099.4 (มี.ค. ? ธ.ค. 63)
มาตรการเยียวยาแรงงานในระบบประกันสังคม
? โครงการ ม 33 เรารักกัน (เงินช่วยเหลือผู้ประกันตนตามมาตรา 33 เดือน จานวนไม่เกิน 4,000 บาทต่อคน เพื่อใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการในช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม 2564 มีผู้ ได้รับสิทธิ์แล้วทั้งสิ้น 8.1 ล้านคน และขยายเพิ่มวงเงินช่วยเหลืออีกสัปดาห์ละ 1,000 บาท เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ โดยมีระยะเวลาการใช้จ่ายสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2564
37,100
31,164
มาตรการส่งเสริม การจ้างงาน
? มาตรการส่งเสริมการจ้างงานใหม่สาหรับผู้จบการศึกษาใหม่โดยภาครัฐและภาคเอกชน โดยรัฐบาลจะให้การสนับสนุนเงินค่าจ้าง ร้อยละ 50 ของเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา (ต.ค. 63 ? ธ.ค. 64)
? การจัดงาน Job Expo Thailand 2020 ล้านงานเพื่อล้านคน และการพัฒนาระบบจับคู่งาน (ไทยมีงานทา.com)
? โครงการสินเชื่อเพื่อส่งเสริมการจ้างงาน
19,462
?
30,000
?
?
อนุมัติสินเชื่อผ่าน UOB และ EXIM แล้ว 2,390.8
44
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
17 พ ษภาคม 2564
NESDC
Economic Outlook
รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ Email : mspo-center@nesdc.go.th หรือ โทร. 0-2280-4085 ต่อ 6504 และ 6459
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 25641/
ข้อมูลจริง
ประมาณการปี 2564
2561
2562
2563
ณ 15 ก.พ. 64
ณ 17 พ.ค. 64
GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านบาท)
16,368.7
16,898.1
15,698.3
16,409.7
16,250.5
รายได้ต่อหัว (บาทต่อคนต่อปี)
236,861.1
243,787.1
225,845.7
235,474.0
233,190.7
GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
506.4
544.3
501.6
547.0
541.7
รายได้ต่อหัว (ดอลลาร์ สรอ. ต่อหัวต่อปี)
7,328.3
7,852.2
7,216.6
7,849.1
7,773.0
อัตราการขยายตัวของ GDP (CVM, %)
4.2
2.3
-6.1
2.5 - 3.5
1.5 - 2.5
การลงทุนรวม (CVM, %)2/
3.8
2.0
-4.8
5.7
5.3
ภาคเอกชน (CVM, %)
4.1
2.7
-8.4
3.8
4.3
ภาครัฐ (CVM, %)
2.8
0.1
5.7
10.7
9.3
การบริโภคภาคเอกชน (CVM, %)
4.6
4.0
-1.0
2.0
1.6
การอุปโภคภาครัฐบาล (CVM, %)
2.6
1.7
0.9
5.1
5.1
ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %)
3.4
-3.0
-19.4
-0.2
1.8
มูลค่าการส่งออกสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
251.1
242.7
226.7
239.9
250.1
อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/
7.5
-3.3
-6.6
5.8
10.3
อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/
3.9
-3.7
-5.9
3.8
7.3
ปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %)
8.3
-5.2
-13.3
-0.5
4.7
มูลค่าการนาเข้าสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
228.7
216.0
186.9
199.0
211.4
อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/
13.7
-5.6
-13.5
6.5
13.1
อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/
7.6
-5.8
-10.1
4.0
9.1
ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
22.4
26.7
39.8
40.8
38.7
ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
28.4
38.2
16.3
12.4
3.6
ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%)
5.6
7.0
3.3
2.3
0.7
เงินเฟ้อ (%)
ดัชนีราคาผู้บริโภค
1.1
0.7
-0.8
1.0 - 2.0
1.0 - 2.0
GDP Deflator
1.4
0.9
-1.1
1.0 - 2.0
1.0 - 2.0
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2564
หมายเหตุ: 1/ เป็นข้อมูลที่คานวณบนฐานบัญชีประชาชาติอนุกรมใหม่ ซึ่ง สศช. เผยแพร่ทาง www.nesdc.go.th
2/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น
3/ ตัวเลขการส่งออกและการนาเข้าเป็นไปตามฐานของธนาคารแห่งประเทศไทย




          ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ