www.nesdc.go.th
NESDC ECONOMIC REPORT
ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ทั้งปี 2566 และแนวโน้มปี 2567
962 ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค แถลงข่าว วันจันทร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09.30 น.
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 1.7
เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาสที่สามของปี 2566
(%YoY) และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทย
ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ลดลงจากไตรมาสที่สามของปี 2566
ร้อยละ 0.6 (%QoQ_SA) รวมทั้งปี 2566 เศรษฐกิจไทยขยายตัว
ร้อยละ 1.9 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.5 ในปี 2565
ด้านการใช้จ่าย การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการส่งออกบริการ
ขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวเร่งขึ้น
ส่วนการส่งออกสินค้ากลับมาขยายตัว ในขณะที่การใช้จ่ายเพื่อ
การอุปโภคภาครัฐบาลและการลงทุนภาครัฐลดลง
ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขายส่ง
ขายปลีกและการซ่อมฯ และสาขาขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า
ขยายตัวต่อเนื่อง ในขณะที่สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม
สาขาเกษตรกรรม และสาขาก่อสร้างปรับตัวลดลง
การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในปี 2567 ควรให้ความสาคัญกับ (1) การติดตาม ตรวจสอบ และเฝ้าระวังการทุ่มตลาด รวมทั้งการใช้
มาตรการและวิธีการทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมจากประเทศผู้ส่งออกสาคัญ ควบคู่ไปกับการทบทวนมาตรการทางภาษีให้มีความเหมาะสม
และการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้านาเข้า (2) การยกระดับศักยภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ผู้ประกอบการ
ภายในประเทศ โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้า รวมทั้งใช้ประโยชน์
จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ และการเข้าถึงแหล่งเงินทุน (3) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าที่มี
ศักยภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดโลกเพิ่มขึ้น รวมทั้งเร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
ในประเทศให้มีความพร้อมในการรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมเป้าหมาย และสามารถเชื่อมโยงสินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศกับห่วงโซ่
การผลิตโลกได้มากขึ้น (4) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2564 - 2566 มีการลงทุนจริง
ควบคู่ไปกับการเร่งรัดอนุมัติโครงการที่ได้เสนอขอรับการส่งเสริมการลงทุนในช่วงก่อนหน้า รวมทั้งการเร่งรัดให้ผู้ประกอบการโรงงานที่ได้รับ
ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานสามารถเริ่มประกอบกิจการให้เร็วขึ้น และมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาที่นักลงทุนและผู้ประกอบการต่างประเทศเห็นว่า
เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและการประกอบธุรกิจ ควบคู่ไปกับการพัฒนากาลังแรงงาน (5) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ
โดยจัดทาปฏิทินการท่องเที่ยวตลอดทั้งปี และการสร้างการรับรู้ต่อมาตรการ Long-term resident visa (LTR) เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ
และมีกาลังซื้อสูง รวมทั้งการเตรียมความพร้อมของปัจจัยแวดล้อมทางกายภาพที่สาคัญ (6) การดาเนินมาตรการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
แก่เกษตรกรผ่านการส่งเสริมรูปแบบและพัฒนาระบบประกันภัยพืชผลจากความเสี่ยงของสภาพอากาศให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง
การเพิ่มส่วนแบ่งให้เกษตรกรมีรายได้จากการจาหน่ายผลผลิตขั้นสุดท้ายมากขึ้น ควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชและใช้วิธีการผลิตที่เหมาะสม
กับสภาพพื้นที่ และปรับเปลี่ยนไปสู่การผลิตที่มีมูลค่าสูง และ (7) การรักษาแรงขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากการใช้จ่ายและ
การลงทุนภาครัฐ โดยให้ความสาคัญกับ (i) การเร่งรัดเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายเหลื่อมปีและงบลงทุนรัฐวิสาหกิจในช่วงที่พระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 ยังไม่มีผลบังคับใช้ (ii) การเร่งรัดกระบวนการงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2567 ไม่ให้ล่าช้าไปกว่า
แผนที่กาหนดไว้ ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมของโครงการให้มีความพร้อมสาหรับการจัดซื้อจัดจ้างและการเบิกจ่ายได้โดยเร็วหลังจาก
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 มีผลใช้บังคับ และ (iii) การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐ
เศรษฐกิจไทยในปี 2566 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 1.9 ชะลอลงจาก
การขยายตัวร้อยละ 2.5 ในปี 2565 อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 1.2 และ
ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.3 ของ GDP
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.2 - 3.2
โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการกลับมาขยายตัวของการส่งออกสินค้า
การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
และการฟื้นตัวต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว ทั้งนี้คาดว่าการอุปโภคบริโภค
และการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 3.0 และร้อยละ 3.5 ตามลาดับ
มูลค่าการส่งออกในรูปดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 2.9 ส่วนอัตราเงินเฟ้อ
เฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 0.9 - 1.9 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.4
ของ GDP
เศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สี่ของปี
1.7
-0.6
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4
%
GDP (YoY) GDP (QoQ_ปรับฤดูกาล
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2567
(%YoY) 2565 2566 2567 (f)
ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี
GDP (CVM) 2.5 1.9 2.6 1.8 1.4 1.7 2.2 - 3.2
การลงทุนรวม1/ 2.3 1.2 3.1 0.4 1.5 -0.4 2.5
ภาคเอกชน 4.7 3.2 2.8 1.4 3.5 5.0 3.5
ภาครัฐ -3.9 -4.6 4.2 -2.1 -3.4 -20.1 -1.8
การบริโภคภาคเอกชน 6.2 7.1 5.9 7.3 7.9 7.4 3.0
การอุปโภคภาครัฐบาล 0.1 -4.6 -6.0 -4.3 -5.0 -3.0 1.5
มูลค่าการส่งออกสินค้า2/ 5.4 -1.7 -3.8 -5.0 -2.0 4.6 2.9
ปริมาณ2/ 1.2 -2.9 -5.7 -5.3 -3.1 3.2 2.4
มูลค่าการนาเข้าสินค้า2/ 14.0 -3.1 0.5 -6.6 -10.7 6.1 4.4
ปริมาณ2/ 1.2 -3.6 -3.5 -4.8 -10.4 5.3 3.2
ดุลบัญชีเดินสะพัด -3.2 1.3 2.7 -0.8 2.1 1.2 1.4
ต่อ GDP (%)
เงินเฟ้อ 6.1 1.2 3.9 1.1 0.5 -0.5 0.9 - 1.9
หมายเหตุ: 1/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น
2/ ฐานข้อมูลดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย
2
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 กุมภาพันธ์ 2567
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ทั้งปี 2566 และแนวโน้มปี 2567
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 1.7 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาสที่สามของปี 2566 ด้านการใช้จ่าย การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการส่งออกบริการขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวเร่งขึ้น ส่วนการส่งออกสินค้ากลับมาขยายตัว ในขณะที่การใช้จ่ายเพื่อ การอุปโภคของรัฐบาลและการลงทุนภาครัฐลดลง ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขายส่งขายปลีกและการซ่อมฯ และสาขาขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าขยายตัวต่อเนื่อง ในขณะที่สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม สาขาเกษตรกรรม และสาขาก่อสร้างปรับตัวลดลง เมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ลดลงจากไตรมาสที่สามของปี 2566 ร้อยละ 0.6 (%QoQ_SA) รวมทั้งปี 2566 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 1.9 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.5 ในปี 2565
1) การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.4 ต่อเนื่องจากร้อยละ 7.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายในทุกหมวด สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องของการจ้างงานและความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 16 ไตรมาส โดยการใช้จ่ายในหมวดบริการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 12.8 ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร และกลุ่มบริการทางการเงินร้อยละ 35.4 และร้อยละ 7.9 ตามลาดับ การใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 4.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 37 ไตรมาส ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการใช้จ่ายกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ การใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนกลับมาขยายตัวร้อยละ 3.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 5 ไตรมาส สอดคล้องกับการใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะ ที่ขยายตัวร้อยละ 4.1 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 0.3 เทียบกับร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายกลุ่มเสื้อผ้าและรองเท้า สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมเฉลี่ย อยู่ที่ระดับ 55.2 เพิ่มขึ้นจากระดับ 51.7 ในไตรมาสก่อนหน้า สูงสุดในรอบ 16 ไตรมาส นับตั้งแต่ไตรมาสแรกของปี 2563 การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภค ของรัฐบาล ลดลงร้อยละ 3.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 5.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยรายจ่ายการโอนเพื่อสวัสดิการทางสังคมที่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดลดลงร้อยละ 14.1 และรายจ่ายค่าซื้อสินค้าและบริการลดลงร้อยละ 8.0 สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 31.0 (สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 20.5 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 33.4 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
รวมทั้งปี 2566 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.1 เทียบกับร้อยละ 6.2 ในปี 2565 ขณะที่การใช้จ่ายเพื่อ การอุปโภคของรัฐบาลลดลงร้อยละ 4.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.1 ในปี 2565
2) การลงทุนรวม ปรับตัวลดลงร้อยละ 0.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการลงทุนภาครัฐ ที่ลดลงติดต่อกัน เป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 20.1 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการลดลงของการลงทุนรัฐบาลร้อยละ 33.5 เนื่องจากความล่าช้าของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2567 ขณะที่การลงทุนรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 7.0 สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 7.2 (ต่ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 20.9 และร้อยละ 20.1 ในไตรมาสก่อนหน้าและในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตามลาดับ) ขณะที่การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 5.0 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุด ในรอบ 5 ไตรมาส โดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือขยายตัวร้อยละ 5.2 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการลงทุนในหมวดก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 3.4 เทียบกับร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า
รวมทั้งปี 2566 การลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 1.2 เทียบกับร้อยละ 2.3 ในปี 2565 โดยการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 3.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.7 ในปี 2565 ขณะที่การลงทุนภาครัฐลดลงร้อยละ 4.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.9 ในปี 2565
3) การส่งออกสินค้า มีมูลค่า 68,822 ล้านดอลลาร์ สรอ. กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 4.6 โดยปริมาณส่งออกกลับมาขยายตัว ร้อยละ 3.2 ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น อาทิ ข้าว (ร้อยละ 43.8) ยางพารา (ร้อยละ 6.5) คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 185.3) ตู้เย็น (ร้อยละ 23.3) ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ 16.3) ผลิตภัณฑ์โลหะ (ร้อยละ 14.7) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ ยานยนต์ (ร้อยละ 10.7) และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (ร้อยละ 52.2) กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกลดลง อาทิ ทุเรียน (ลดลงร้อยละ 51.7) ผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลงร้อยละ 18.9) กุ้ง, ปู, กั้ง, และล็อบสเตอร์ (ลดลงร้อยละ 7.4) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ 4.9) เครื่องปรับอากาศ (ลดลงร้อยละ 28.8) และรถยนต์นั่ง (ลดลงร้อยละ 7.3)
รวมทั้งปี 2566 การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 280,209 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 1.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 5.4 ในปีก่อนหน้า โดยปริมาณส่งออกลดลงร้อยละ 2.9 ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2
4) สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ลดลงร้อยละ 0.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากสภาพอากาศ ที่ไม่เอื้ออานวยส่งผลให้ผลผลิตหมวดพืชผลสาคัญลดลง โดยเฉพาะปาล์มน้ามัน กลุ่มผลไม้ มันสาปะหลัง อ้อย และข้าวเปลือก รวมทั้งหมวดประมง ที่ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ในขณะที่ผลผลิตหมวดปศุสัตว์ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ ปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 18.3) กลุ่มไม้ผล (ลดลงร้อยละ 10.0) โดยเฉพาะทุเรียน (ลดลงร้อยละ 37.2) มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 14.0) อ้อย (ลดลงร้อยละ 11.1) และข้าวเปลือก (ลดลงร้อยละ 3.7) ตามลาดับ ในขณะที่ผลผลิตสินค้าเกษตรที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ สุกร (ร้อยละ 20.5) โคเนื้อ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.5) ตามลาดับ ส่วนดัชนีราคาสินค้าเกษตรกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 0.1 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาสินค้าสาคัญ อาทิ ข้าวเปลือก (ร้อยละ 16.0) ยางพารา (ร้อยละ 11.4) มันสาปะหลัง (ร้อยละ 12.5) อ้อย (ร้อยละ 11.4) และ ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 5.6) อย่างไรก็ตาม ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัวลดลง ได้แก่ สุกร (ลดลงร้อยละ 37.3) กลุ่มผลไม้ (ลดลงร้อยละ 6.2) และไก่เนื้อ (ลดลงร้อยละ 10.5) การลดลงของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมลดลงต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 2.5
รวมทั้งปี 2566 สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงขยายตัวร้อยละ 1.9 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.5 ในปี 2565
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สี่ของปี 2566
เศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สี่ของปี 1.7-0.6 01,0002,0003,0004,0005,000-15.0-10.0-5.00.05.010.0Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4 พันล้านบาท%GDP ณ ราคาประจาปี แกนขวา GDP (YoY) (แกนซ้าย GDP (QoQ_ปรับฤดูกาล แกนซ้าย ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
3
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 กุมภาพันธ์ 2567
NESDC
Economic Outlook
5) สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 2.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของ กลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 และกลุ่มการผลิตเพื่อการส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) เป็นสาคัญ สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 5.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดย ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วน การส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 11.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 6.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 9.9 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 12.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 1.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่ลดลง อาทิ การผลิตยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 13.9) การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ลดลงร้อยละ 15.7) การคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ลดลง ร้อยละ 18.7) การผลิตน้าตาล (ลดลงร้อยละ 20.1) และการผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย (ยกเว้นร้านตัดเย็บเสื้อผ้า) (ลดลงร้อยละ 21.6) ส่วนการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น อาทิ การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 18.7) การปุ๋ยเคมีและสารประกอบไนโตรเจน (ร้อยละ 30.3) การผลิตสายไฟและเคเบิลฯ (ร้อยละ 36.9) และการผลิตเครื่องประดับเพชรพลอยแท้ฯ (ร้อยละ 15.0) สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 56.72 ต่ากว่าร้อยละ 58.02 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 60.32 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
รวมทั้งปี 2566 สาขาการผลิตอุตสาหกรรมปรับตัวลดลงร้อยละ 3.2 เทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 ในปี 2565 และอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 59.06 ต่ากว่าร้อยละ 62.76 ในปี 2565
6) สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวร้อยละ 10.0 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 15.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัว ในเกณฑ์สูงของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และการขยายตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยวในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) โดยนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยมีจานวน 8.095 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 49.1 ส่งผลให้มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสนี้อยู่ที่ 2.77 แสนล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 34.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 76.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) จานวน 66.70 ล้านคน-ครั้ง ขยายตัวร้อยละ 14.3 สร้างรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยอยู่ที่ 2.35 แสนล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 26.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 29.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยว 5.12 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.8 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 73.55 สูงกว่าร้อยละ 66.16 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 62.64 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
รวมทั้งปี 2566 สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารขยายตัวร้อยละ 18.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 34.5 ในปี 2565 โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศมีจานวน 28.150 ล้านคน ส่งผลให้รายรับรวมจากการท่องเที่ยวมีมูลค่า 1.892 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.0 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 69.22 ซึ่งเป็นอัตราสูงสุดในรอบ 4 ปี
7) สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 11 ร้อยละ 5.1 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์ดีของการใช้จ่ายภาคครัวเรือนและภาคบริการด้านการท่องเที่ยว โดยดัชนีการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 17.9 ตามการเพิ่มขึ้นของหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ ในขณะที่ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้น ยานยนต์และจักรยานยนต์) ลดลงร้อยละ 3.9 ตามการลดลงของหมวดการขายส่งสินค้าเฉพาะประเภทอื่น ๆ อาทิ การขายส่งเหล็ก เหล็กกล้า และ โลหะที่นอกกลุ่มเหล็กขั้นมูลฐาน และการขายส่งเคมีภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม และดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ลดลงร้อยละ 12.2 ตามการลดลงในทุกหมวด อาทิ หมวดการขายยานยนต์ และหมวดการขายชิ้นส่วนและอุปกรณ์เสริมของยานยนต์
รวมทั้งปี 2566 สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ขยายตัวร้อยละ 3.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.7 ในปี 2565
8) สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 7.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยบริการขนส่งขยายตัวร้อยละ 6.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 7.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของบริการขนส่งทางน้า (ร้อยละ 2.5) บริการขนส่งทางอากาศ (ร้อยละ 14.3) และบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง (ร้อยละ 2.9) สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งขยายตัวร้อยละ 12.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 9.4 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวร้อยละ 11.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.6 ตามลาดับ
รวมทั้งปี 2566 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าขยายตัวร้อยละ 8.4 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 8.0 ในปี 2565
9) สาขาการก่อสร้าง ลดลงร้อยละ 8.8 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการก่อสร้างภาครัฐ โดยเฉพาะ การก่อสร้างของรัฐบาล ในขณะที่การก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 โดยในไตรมาสนี้ การก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 18.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.8 ในไตรมาสก่อนหน้า (การก่อสร้างของรัฐบาลลดลงร้อยละ 30.9 ตามการลดลงของการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 9.8 ) ในขณะที่การก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 เทียบกับ การเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวต่อเนื่องของการก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัย (อาทิ อาคารพาณิชย์ และอาคารโรงงาน) สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 0.2 ตามการลดลงของราคาหมวดเหล็ก (ลดลงร้อยละ 2.9) และราคาหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ อาทิ ยางมะตอย และผลิตภัณฑ์อลูมิเนียม (ลดลงร้อยละ 2.1) ขณะที่ราคาหมวดคอนกรีตและหมวดซีเมนต์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.1 และร้อยละ 0.7 ตามลาดับ
รวมทั้งปี 2566 สาขาการก่อสร้างปรับตัวลดลงร้อยละ 0.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.4 ในปี 2565 โดยการก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 3.3 (การก่อสร้างของรัฐบาลลดลงร้อยละ 6.2 ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4) และการก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2567
เศรษฐกิจไทยปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.2 - 3.2 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก (1) การกลับมาขยายตัวของภาคการส่งออกสินค้า ตามการฟื้นตัวของการค้าโลก (2) การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน และ (3) การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของ ภาคการท่องเที่ยว ทั้งนี้ คาดว่าการอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 3.0 และร้อยละ 3.5 ตามลาดับ มูลค่าการส่งออกในรูปดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 2.9 ส่วนอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 0.9 - 1.9 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.4 ของ GDP
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 4
Economic Outlook NESDC
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน: ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.4 ต่อเนื่องจากร้อยละ 7.9 ในไตรมาสก่อนหน้า
ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายในทุกหมวด สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องของการจ้างงานและความเชื่อมั่น
ผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 16 ไตรมาส โดยการใช้จ่ายในหมวดบริการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 12.8
ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร และกลุ่มบริการทางการเงินร้อยละ 35.4 และ
ร้อยละ 7.9 ตามลาดับ การใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 4.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.3 ในไตรมาส
ก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 37 ไตรมาส ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการใช้จ่ายกลุ่มอาหาร
และเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ การใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนกลับมาขยายตัวร้อยละ 3.6 เทียบกับการลดลง
ร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 5 ไตรมาส สอดคล้องกับการใช้จ่ายเพื่อซื้อ
ยานพาหนะที่ขยายตัวร้อยละ 4.1 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทน
ขยายตัวร้อยละ 0.3 เทียบกับร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายกลุ่มเสื้อผ้าและ
รองเท้า สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 55.2 เพิ่มขึ้นจากระดับ
51.7 ในไตรมาสก่อนหน้า สูงสุดในรอบ 16 ไตรมาส นับตั้งแต่ไตรมาสแรกของปี 2563
รวมทั้งปี 2566 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 7.1 เร่งขึ้นจากร้อยละ 6.2 ในปี 2565
การลงทุนภาคเอกชน: ขยายตัวร้อยละ 5.0 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งถือเป็นอัตรา
การขยายตัวสูงสุดในรอบ 5 ไตรมาส ตามการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือที่ขยายตัวร้อยละ 5.2 เร่งขึ้น
จากร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเร่งขึ้นของการนาเข้าสินค้าทุนร้อยละ 8.7 เทียบกับ
ร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่การลงทุนในหมวดการก่อสร้างขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 3.4 เทียบกับ
ร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวต่อเนื่องของการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์
และที่อยู่อาศัย สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจในไตรมาสนี้อยู่ที่ระดับ 49.0 ลดลงจากระดับ 49.5 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ต่ากว่าระดับ 50 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ตามความเชื่อมั่นในภาคการผลิตที่ปรับลดลงจากระดับ 52.0
ในไตรมาสก่อนหน้ามาอยู่ที่ระดับ 51.6 ในไตรมาสนี้ สอดคล้องกับการชะลอตัวของอุปสงค์ในประเทศและ
ต่างประเทศ
รวมทั้งปี 2566 การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 3.2 ชะลอลงจากร้อยละ 4.7 ในปี 2565 โดยการลงทุน
ในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือขยายตัวร้อยละ 3.3 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 6.2 ในปี 2565 ขณะที่
หมวดก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 2.9 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 1.5 ในปี 2565
1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สี่ของปี 2566
ด้านการใช้จ่าย
การอุปโภคบริโภค
ภาคเอกชนขยายตัว
ร้อยละ 7.4 ต่อเนื่องจาก
ร้อยละ 7.9 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ตามการขยายตัว
ของการใช้จ่ายภาคเอกชน
ในทุกหมวด
ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566
การอุปโภคบริโภค
ภาคเอกชนขยายตัว
ในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง
การลงทุนภาคเอกชน
ขยายตัวเร่งขึ้น
ส่วนการส่งออกสินค้า
กลับมาขยายตัว
การลงทุนภาคเอกชน
ขยายตัวร้อยละ 5.0
เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.5
ในไตรมาสก่อนหน้า
สูงสุดในรอบ 5 ไตรมาส
ตามการขยายตัวเร่งขึ้น
ของการลงทุนในหมวด
เครื่องจักรเครื่องมือ
เป็นสาคัญ
ที่มา สศช ธนาคารแห่งประเทศไทย และกรมธุรกิจพลังงาน
-70.0
-35.0
0.0
35.0
70.0
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4
%YoY
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและเครื่องชี้ที่สาคัญ
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน แกนซ้าย
ดัชนีปริมาณการจาหน่ายน้ามันเบนซิน แก สโซฮอล์ และน้ามันดีเซล
ดัชนีปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน
ดัชนีปริมาณการนาเข้าสินค้าหมวดสิ่งทอเครื่องนุ่งห่ม
ยอดขายรถยนต์นั่งส่วนบุคคล
%YoY
0
10
20
30
40
50
60
70
80
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4
%YoY
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัว
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน แกนซ้าย
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ แกนขวา
ดัชนี
ที่มา สศช และ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ที่มา สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
-20.0
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4
%YoY
การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวเร่งขึ้น
การลงทุนภาคเอกชน ก่อสร้าง เครื่องจักรเครื่องมือ
5
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 กุมภาพันธ์ 2567
NESDC
Economic Outlook
สถานการณ์ยอดจดทะเบียนรถยนต์ใหม่ของไทย
เมื่อพิจารณาจากข้อมูลยอดจดทะเบียนรถยนต์ใหม่ของไทยในปี 2566 ของกรมการขนส่งทางบก พบว่า ยอดจดทะเบียนรถยนต์ใหม่รวมในปี 2566 อยู่ที่ 657,860 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 จาก 628,722 คัน ในปี 2565 ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นจากยอดจดทะเบียนใหม่ของรถยนต์ไฟฟ้า (Battery Electric Vehicle: BEV) เป็นสาคัญ โดยยอดจดทะเบียนใหม่ของรถยนต์ไฟฟ้า ในปี 2566 อยู่ที่ 76,538 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 695.9 เมื่อเทียบกับ 9,617 คัน ในปี 2565 ขณะที่ยอดจดทะเบียนใหม่ของรถยนต์ที่ใช้น้ามันอยู่ที่ 481,609 คัน ลดลงร้อยละ 11.3 จาก 543,072 คัน ในปี 2565 ส่งผลให้สัดส่วนยอดจดทะเบียนใหม่ของรถยนต์ไฟฟ้าต่อยอดจดทะเบียนรถยนต์ทั้งหมด อยู่ที่ร้อยละ 11.6 ในปี 2566 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.5 ในปี 2565
และหากพิจารณายี่ห้อรถยนต์ไฟฟ้าที่จดทะเบียนใหม่ในปี 2566 เรียงตามลาดับ ได้แก่ BYD (สัญชาติจีน) 30,467 คัน Neta (สัญชาติจีน) 12,777 คัน MG (สัญชาติจีน) 12,462 คัน Tesla (สัญชาติสหรัฐฯ) 8,206 คัน และ GWM (ORA) (สัญชาติจีน) 6,746 คัน โดยการที่ยอดจดทะเบียนใหม่ของรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญ เป็นผลจากความสาเร็จของมาตรการกระตุ้นอุปสงค์การใช้รถยนต์ไฟฟ้า ในประเทศของรัฐบาลภายใต้มาตรการ EV3.0 และ EV3.5 อย่างไรก็ตาม ในปี 2566 การผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในไทยยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นของ การลงทุนก่อสร้างโรงงานและไลน์การผลิตในประเทศ ดังนั้น รถยนต์ไฟฟ้าที่จาหน่ายในประเทศไทยยังคงเป็นรถยนต์นาเข้าแทบทั้งสิ้น อย่างไรก็ดี มาตรการส่งเสริมการลงทุนสาหรับอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่หรือยานยนต์ไฟฟ้าของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้กาหนดสัดส่วนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าเพื่อชดเชยการนาเข้า อาทิ อัตราส่วน 1:1 ในปี 2567 (นาเข้ารถยนต์ไฟฟ้า 1 คัน ต่อการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ 1 คัน) และอัตราส่วน 1:1.5 ในปี 2568 (นาเข้ารถยนต์ไฟฟ้า 1 คัน ต่อการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ 1.5 คัน) ซึ่งหากกาลังการผลิตของโรงงานรถยนต์ไฟฟ้าสัญชาติต่าง ๆ สามารถผลิตได้ตามเงื่อนไขของมาตรการ จะช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า และชิ้นส่วนไฟฟ้าที่สาคัญของโลกได้
ยอดจดทะเบียนรถยนต์ไฟฟ้าของไทย จาแนกตามยี่ห้อ (คัน)
ยี่ห้อ
สัญชาติ
2565
2566
สัดส่วน 2566 (%)
BYD
จีน
382
30,467
39.8
Neta
จีน
0
12,777
16.7
MG
จีน
3,166
12,462
16.3
Tesla
สหรัฐอเมริกา
422
8,206
10.7
GWM (ORA)
จีน
3,828
6,746
8.8
Others
-
1,819
5,880
7.7
9,617
76,538
รวม
100.0
ที่มา : กรมขนส่งทางบก
ยอดจดทะเบียนรถยนต์ใหม่ของไทย (คัน)
ประเภทรถยนต์จาแนกตามเชื้อเพลิง
2564
2565
2566
น้ามัน
489,510
543,072
481,609
%YoY
-7.3
10.9
-11.3
PHEV (Plug-in Hybrid Electric Vehicle)
7,060
11,116
11,692
%YoY
NA*
57.5
5.2
HEV (Hybrid Electric Vehicle)
34,339
62,137
84,474
%YoY
21.0
81.0
35.9
BEV (Battery Electric Vehicle)
1,967
9,617
76,538
%YoY
41.3
388.9
695.9
แก ส (CNG/LPG)
1,922
2,780
3,547
%YoY
-59.1
44.6
27.6
ยอดจดทะเบียนรถยนต์ทั้งหมด
534,798
628,722
657,860
%YoY
-4.9
17.6
4.6
สัดส่วนยอดจดทะเบียน BEV ต่อรถยนต์ทั้งหมด (ร้อยละ)
0.4
1.5
11.6
ที่มา : กรมขนส่งทางบก
หมายเหตุ: *ไม่มีข้อมูลยอดจดทะเบียนรถยนต์ PHEV ปี 2563
กาลังการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในไทย จาแนกตามยี่ห้อ
ยี่ห้อ
สัญชาติ
กาลังการผลิต (คันต่อปี)
BYD
จีน
150,000
Neta
จีน
200,000
MG
จีน
100,000
Changan
จีน
100,000 - 200,000 (ระยะแรก 100,000)
GWM
จีน
80,000
GAC AION
จีน
ยังไม่ระบุ
ที่มา : รวบรวมโดยสศช.
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 6
Economic Outlook NESDC
การส่งออก: มูลค่าการส่งออกในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส สอดคล้องกับ
มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่กลับมาขยายตัว การส่งออกสินค้าในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 มีมูลค่า
68,822 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 4.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณ
การส่งออก กลับมาขยายตัวร้อยละ 3.2 ตามการขยายตัวของปริมาณการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ราคาสินค้า
ส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า จากการเพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงของราคาส่งออก
สินค้าเกษตรร้อยละ 8.9 เมื่อหักการส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกขยายตัวร้อยละ 3.5
ส่วนการส่งออกในรูปของเงินบาท มีมูลค่า 2,454 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 2.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 5.3
ในไตรมาสก่อนหน้า
รวมทั้งปี 2566 การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 280,209 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 1.7 เทียบกับการขยายตัว
ร้อยละ 5.4 ในปีก่อนหน้า โดยปริมาณส่งออกลดลงร้อยละ 2.9 ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2
ด้านการส่งออกในรูปเงินบาทมีมูลค่า 9,758 พันล้านบาท ลดลงร้อยละ 2.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ
15.3 ในปี 2565
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ขยายตัวร้อยละ 5.3 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกร้อยละ 8.9 ขณะที่ปริมาณ
ส่งออกลดลงร้อยละ 3.3 โดยการส่งออกข้าว เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.8 ตามการส่งออกไปยังตลาดอินโดนีเซีย สหรัฐฯ
และฟิลิปปินส์ เป็นสาคัญ และการส่งออกยางพารา เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.5 ตามการส่งออกไปยังตลาดจีนและสหรัฐฯ
เป็นสาคัญ ขณะที่การส่งออกทุเรียน ลดลงร้อยละ 51.7 ตามการส่งออกไปยังตลาดจีนเป็นสาคัญ มูลค่าการส่งออก
สินค้าอุตสาหกรรม กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 4.7 ตามการกลับมาขยายตัวของปริมาณ
การส่งออกร้อยละ 3.9 และการเพิ่มขึ้นราคาส่งออกร้อยละ 0.8 มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่เพิ่มขึ้น
ได้แก่ คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 185.3) ตู้เย็น (ร้อยละ 23.3) ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ 16.3) ผลิตภัณฑ์โลหะ
(ร้อยละ 14.7) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ (ร้อยละ 10.7) และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (ร้อยละ 52.2) ขณะที่มูลค่า
การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่ลดลง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลงร้อยละ 18.9) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ 4.9) เครื่องปรับอากาศ (ลดลงร้อยละ 28.8) และรถยนต์นั่ง (ลดลงร้อยละ 7.3)
มูลค่าการส่งออกสินค้าประมง ลดลงร้อยละ 3.3 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 สอดคล้องกับการลดลงของปริมาณส่งออก
ร้อยละ 4.2 ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกลดลง ได้แก่ กุ้ง, ปู, กั้ง, และล็อบสเตอร์
(ลดลงร้อยละ 7.4) และมูลค่าการส่งออกสินค้าส่งออกอื่น ๆ ขยายตัวร้อยละ 95.0 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่า
การส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปร้อยละ 98.0 เป็นสาคัญ
มูลค่าการส่งออกสินค้า
ในรูปเงินดอลลาร์ สรอ.
กลับมาขยายตัวเป็น
ครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส
ร้อยละ 4.6
ตามการกลับมาขยายตัว
ของสินค้าอุตสาหกรรม
เมื่อหักทองคาออกแล้ว
มูลค่าการส่งออกขยายตัว
ร้อยละ 3.5
มูลค่าการส่งออกสินค้า
เกษตรขยายตัวตาม
การเพิ่มขึ้นของการส่งออก
ข้าวและยางพารา
เป็นสาคัญ
มูลค่าการส่งออกสินค้า
อุตสาหกรรมกลับมา
ขยายตัวในรอบ 5 ไตรมาส
มูลค่าการส่งออกสินค้า
ประมงลดลง
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4
%YoY
ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคาส่งออก
ราคา มูลค่า ปริมาณ
ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย
สินค้าส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2565 2566 สัดส่วน
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q4/66 (%)
สินค้าเกษตร 1.0 -1.8 18.6 -8.4 -8.0 3.8 6.0 -3.0 10.6 5.3 6.4
ข้าว 14.9 17.3 46.8 12.5 -2.0 29.3 24.4 18.3 27.0 43.8 2.4
ยาง -7.9 6.2 3.0 0.2 -37.5 -29.2 -37.7 -40.2 -33.8 6.5 1.4
ทุเรียน -7.7 -48.3 9.8 -53.1 96.4 28.1 218.9 19.6 87.8 -51.7 0.3
ผลไม้อื่น ๆ 8.9 -1.9 73.3 -8.8 -9.8 15.7 12.7 -7.4 42.3 18.5 0.9
สินค้าอุตสาหกรรม 4.8 10.7 10.2 7.7 -8.0 -1.1 -2.0 -5.4 -1.0 4.7 89.7
อาหาร 18.0 27.4 29.3 21.5 -3.5 -2.8 3.3 -8.9 -6.2 1.6 7.2
- น้าตาล 92.4 184.2 116.8 121.2 -8.3 20.6 32.4 34.9 -3.7 15.5 0.9
- ปลากระป๋องและปลาแปรรูป 14.0 3.3 20.9 28.0 6.2 -7.2 -2.3 -10.8 -11.5 -3.7 1.1
- เป็ด-ไก่กระป๋องและแปรรูป 23.1 15.7 7.7 68.3 11.6 -6.3 -5.6 -6.2 -11.2 -1.7 1.0
- ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังและแป้งมัน 6.5 5.8 18.9 7.5 -3.2 -15.7 -29.9 -35.4 -2.3 6.0 0.7
เครื่องดื่ม 5.6 4.9 0.5 15.8 2.4 1.9 -1.5 3.9 -1.2 6.9 1.0
ผลิตภัณฑ์ยาง -12.6 -25.0 -13.1 -8.0 0.2 -13.1 0.3 -12.3 -22.2 -18.9 1.9
-50.0
-40.0
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4
62 63 64 65 66
%YoY
สินค้าส่งออกจาแนกตามกิจกรรมการผลิต
สินค้าเกษตร สินค้าประมง
สินค้าป่าไม้ สินค้าเหมืองแร่
สินค้าอุตสาหกรรม
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
7
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 กุมภาพันธ์ 2567
NESDC
Economic Outlook
ตลาดส่งออก: การส่งออกไปยังตลาดหลักส่วนใหญ่ขยายตัว โดยเฉพาะตลาดสหรัฐฯ จีน อาเซียน (9) ออสเตรเลีย ฮ่องกง และอินเดีย ในขณะที่การส่งออกสินค้าไปยังตลาดสหภาพยุโรป (27) สหราชอาณาจักร และตะวันออกกลาง (15) ยังคงลดลงต่อเนื่อง โดยตลาดสหรัฐฯ ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 10.2 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ โทรศัพท์และส่วนประกอบ และผลิตภัณฑ์ยาง เป็นสาคัญ ตลาดจีน ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 0.4 ตามการเพิ่มขึ้นของ การส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ยางพารา และไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ เป็นสาคัญ ตลาดอาเซียน (5) กลับมาขยายตัวในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 15.6 (ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกไปยังสิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย เป็นสาคัญ) ตลาดออสเตรเลีย ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 18.4 ตามการขยายตัวของการส่งออกรถยนต์และส่วนประกอบ เม็ดพลาสติก และคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ ตลาดฮ่องกง ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 25.8 จากการขยายตัวของการส่งออกคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า และอัญมณีและเครื่องประดับ เป็นสาคัญ ตลาดอินเดีย ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 1.3 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกเคมีภัณฑ์ อัญมณีและเครื่องประดับ และเหล็กและผลิตภัณฑ์ เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม การส่งออกไปยังตลาดญี่ปุ่นกลับมาลดลง ร้อยละ 0.03 ตามการลดลงของการส่งออกเคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก และเครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ในขณะที่การส่งออกรถยนต์และส่วนประกอบ ไก่แปรรูป และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบยังขยายตัวดี กลุ่มประเทศ CLMV ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 8.9 (ตามการลดลงของการส่งออกไปยังกัมพูชา และเวียดนาม เป็นสาคัญ) ตลาดสหภาพยุโรป (27) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 4.0 ตามการลดลงของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง และรถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ และตลาดสหราชอาณาจักร ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 16.8 ตามการลดลงของการส่งออกไก่แปรรูป รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ และรถยนต์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ
การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักส่วนใหญ่ขยายตัว โดยเฉพาะสหรัฐฯ จีน อาเซียน (9) ออสเตรเลีย ฮ่องกง และอินเดีย
สินค้าส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2565
2566
สัดส่วน Q4/66 (%)
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
อาหารสัตว์
15.8
26.3
21.6
22.0
-4.4
-13.6
-20.9
-24.6
-10.3
4.0
0.9
อิเล็กทรอนิกส์
3.7
17.1
2.5
5.0
-7.2
-3.7
-8.1
-6.1
-5.1
4.9
12.4
- คอมพิวเตอร์
0.6
67.6
-17.8
10.2
-31.4
97.8
19.2
205.5
51.6
185.3
0.8
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
-11.1
15.1
-10.1
-13.2
-31.2
-24.1
-24.9
-29.6
-32.7
-4.9
3.9
- แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน
9.3
17.7
9.4
11.0
0.5
4.1
-0.2
2.9
16.4
-2.7
3.2
เครื่องใช้ไฟฟ้า
2.7
7.4
-0.9
7.4
-2.8
4.0
4.6
9.3
2.1
-0.1
9.0
- เครื่องปรับอากาศ
8.8
5.6
1.0
38.7
-1.6
-11.9
12.5
-5.1
-33.0
-28.8
1.4
- ตู้เย็น
-7.1
6.8
-3.3
-1.4
-30.7
-6.7
-18.8
-19.1
-0.5
23.3
0.7
- ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า
13.4
4.9
3.8
13.5
31.7
31.4
27.2
44.8
40.6
16.3
3.2
ผลิตภัณฑ์โลหะ
3.9
19.6
21.4
-3.4
-17.9
-7.0
-14.4
-19.1
-3.9
14.7
5.6
ยานยนต์
-1.0
-5.8
-3.6
9.0
-2.3
7.6
10.3
5.3
13.5
1.5
15.6
- รถยนต์นั่ง
-29.8
-50.3
-48.3
-6.2
2.8
17.3
52.3
15.9
20.9
-7.3
2.8
- รถกระบะและรถบรรทุก
-8.9
-28.8
-9.5
15.1
-4.8
17.5
36.4
22.2
14.0
1.6
3.2
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์
-0.2
3.5
1.9
2.3
-8.4
1.0
-8.3
-3.4
6.3
10.7
6.9
เครื่องจักรและอุปกรณ์
6.3
6.6
7.9
11.2
-0.1
-0.8
-0.6
-1.5
0.8
-1.8
8.2
เครื่องประดับ
31.6
39.6
41.3
50.6
3.6
10.8
22.0
3.7
11.5
6.4
2.8
เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี
-3.2
18.8
4.8
-8.7
-23.7
-14.9
-21.8
-19.9
-12.7
-2.0
7.2
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
14.5
23.5
64.4
10.2
-25.8
0.2
3.1
-29.4
-2.7
52.2
4.4
อุปกรณ์และเครื่องมือด้านการแพทย์
-2.9
-4.5
1.3
2.6
-10.6
2.9
4.9
3.7
1.5
1.4
0.7
เครื่องใช้ในห้องน้าและเครื่องสาอาง
16.0
18.5
24.2
18.2
4.1
3.6
3.0
0.7
-1.1
12.5
1.3
สินค้าประมง
-2.1
13.9
-5.8
1.1
-13.5
-8.5
-13.2
-0.4
-16.4
-3.3
0.6
กุ้ง, ปู, กั้ง และล็อบสเตอร์
-7.7
8.1
-12.0
-4.3
-16.9
-7.7
-11.2
8.7
-19.6
-7.4
0.3
สินค้าส่งออกอื่น ๆ
73.3
548.6
4.3
20.2
-24.7
-11.5
-37.3
-8.0
-8.7
95.0
2.2
ทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูป
81.2
681.8
-0.8
24.1
-22.9
-15.6
-46.9
-1.3
-9.9
98.0
2.2
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร
5.7
14.8
10.8
6.7
-8.2
-1.0
-3.3
-5.2
-0.5
5.8
100.0
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติดุลการชาระเงิน
5.4
14.2
9.6
6.5
-7.5
-1.7
-3.8
-5.0
-2.0
4.6
98.5
มูลค่าสินค้าส่งออกไม่รวมทองคา
4.3
9.3
9.8
6.2
-7.3
-1.4
-1.6
-5.1
-1.8
3.5
96.4
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 8
Economic Outlook NESDC
มูลค่าการนาเข้าในรูปเงิน
ดอลลาร์ สรอ. ขยายตัว
เป็นครั้งแรกในรอบ 3
ไตรมาส ร้อยละ 6.1
เทียบกับการลดลงร้อยละ
10.7 ในไตรมาสก่อนหน้า
การนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มีมูลค่า 65,370 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส
ร้อยละ 6.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 10.7 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการกลับมาขยายตัวของการส่งออก
สินค้า โดยปริมาณการนาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 10.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคา
นาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ หากไม่รวมการนาเข้าทองคา
มูลค่าการนาเข้าขยายตัวร้อยละ 6.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 7.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ในรูปของเงินบาท
การนาเข้าสินค้ามีมูลค่ารวม 2,332 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 4.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 13.7 ในไตรมาสก่อนหน้า
รวมทั้งปี 2566 การนาเข้าสินค้ามีมูลค่า 263,237 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 3.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ
14.0 ในปีก่อน โดยปริมาณนาเข้าลดลงร้อยละ 3.6 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 ขณะที่การนาเข้าในรูปเงิน
บาทมีมูลค่า 9,161 พันล้านบาท ลดลงร้อยละ 3.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 24.8 ในปีก่อนหน้า
ในรายหมวด มูลค่าการนาเข้าขยายตัวในทุกหมวดสินค้า โดยมูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 9.6 เร่งขึ้นจากร้อยละ 6.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามปริมาณการนาเข้าที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 เร่งขึ้นจาก
ร้อยละ 4.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น
อาหาร เครื่องดื่มฯ ยานพาหนะ และโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้น
กลางเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 14.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ
5.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 10.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคานาเข้าลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 2.1
สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า และน้ามันดิบ เป็น
ต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 7.0 ในไตรมาสก่อนหน้า
โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้า
เพิ่มขึ้น เช่น คอมพิวเตอร์ และอากาศยาน เรือ แท่นฯ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอื่น ๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ
3.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 47.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการนาเข้าสินค้ากลุ่มทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ)
ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5
ตลาดส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YOY 2565 2566 สัดส่วน
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q4/66 (%)
มูลค่าการส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร
(ล้านดอลลาร์ สรอ.) 287,425 73,607 75,586 72,239 65,994 284,562 71,164 71,648 71,899 69,850 100.0
(%YoY) 5.7 14.8 10.8 6.7 -8.2 -1.0 -3.3 -5.2 -0.5 5.8
สหรัฐอเมริกา 13.4 23.1 17.8 15.9 -1.3 2.8 -3.7 1.7 3.4 10.2 17.5
จีน -7.6 4.1 -1.8 -17.7 -13.5 -0.8 -7.2 -0.5 4.3 0.4 11.2
ญี่ปุ่น -1.4 1.3 0.9 -0.3 -7.3 0.1 -0.3 -2.4 2.9 -0.03 8.3
อาเซียน (9) 10.5 17.0 19.2 18.9 -10.4 -7.1 -3.0 -15.2 -12.7 4.6 24.0
- อาเซียน (5)* 9.7 27.4 23.3 11.8 -17.3 -1.7 -1.1 -12.2 -5.5 15.6 14.5
- CLMV** 11.5 5.0 14.2 29.3 -0.3 -14.3 -5.7 -19.2 -22.0 -8.9 9.4
สหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK 5.2 5.6 5.7 15.0 -4.7 -4.2 -1.2 -2.2 -9.2 -4.0 7.4
สหราชอาณาจักร 15.6 18.1 -2.1 33.3 16.5 0.9 2.8 20.4 -0.4 -16.8 1.2
ตะวันออกกลาง (15)*** 21.7 16.6 29.1 33.0 10.5 -2.9 14.4 -9.8 -8.5 -6.3 3.8
- ซาอุดีอาระเบีย 24.9 5.4 17.0 36.2 42.3 29.3 47.8 22.7 35.1 15.4 1.0
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 23.1 20.4 30.6 47.1 0.7 -6.2 17.1 -16.8 -17.4 -4.4 1.2
ออสเตรเลีย 2.1 -2.3 -3.4 17.8 -1.8 8.2 -9.0 15.4 9.0 18.4 4.8
ฮ่องกง -13.0 5.0 -7.2 -22.6 -24.7 10.0 -3.3 -9.5 34.7 25.8 4.0
อินเดีย 22.6 33.0 60.1 14.0 -5.9 -3.9 3.9 -19.4 1.6 1.3 3.4
เกาหลีใต้ 8.7 23.2 14.6 7.7 -9.7 -5.2 -0.7 -10.4 -11.3 3.8 2.0
ไต้หวัน 1.0 9.7 8.3 -1.9 -11.3 1.6 -2.5 -7.3 5.2 13.6 1.8
สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ -6.4 -4.5 6.9 -14.5 -11.1 25.4 28.5 16.7 48.8 7.8 1.1
หมายเหตุ: * อาเซียน (5) ประกอบด้วย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เยเมน อิรัก จอร์แดน เลบานอน ลิเบีย และซีเรีย ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย -30.0 -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 %YoY ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคานาเข้า ราคา มูลค่า ปริมาณ ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย -30.0 -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 62 63 64 65 66 %YoY สินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ สินค้าอุปโภคบริโภค วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง สินค้าทุน รวม 9 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 NESDC Economic Outlook อัตราการค้า (Term of Trade) ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคานาเข้าร้อยละ 0.7 ส่งผลให้อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 97.6 เพิ่มขึ้นจากระดับ 97.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นจากระดับ 97.4 ในไตรมาสก่อนหน้า รวมทั้งปี 2566 อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 97.4 เทียบกับระดับ 96.8 ในปี 2565 โดยราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคานาเข้าร้อยละ 0.6 ดุลการค้าเกินดุล ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ดุลการค้าเกินดุล 3.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุล 5.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าการเกินดุล 4.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาท ดุลการค้าเกินดุล 122.6 พันล้านบาท ต่ากว่าการเกินดุล 191.8 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าการเกินดุล 152.8 พันล้านบาท ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน รวมทั้งปี 2566 ดุลการค้าเกินดุล 17.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (597.8 พันล้านบาท) สูงกว่าการเกินดุล 13.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (465.2 พันล้านบาท) ในปี 2565 ดุลการค้าเกินดุล 3.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุลใน ไตรมาสก่อนหน้าและในช่วงเดียวกันของปีก่อน อัตราการค้าปรับตัวเพิ่มขึ้น ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้า %YoY 2565 2566 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 ทั้งปี Q4 สินค้าอุปโภคบริโภค 1.6 3.5 2.2 6.9 -5.3 7.0 4.0 4.2 5.7 7.6 วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง 1.3 7.9 6.0 3.8 -12.3 -3.6 -7.9 -10.7 -4.6 5.7 สินค้าทุน -0.7 5.0 3.4 -3.2 -7.2 -0.2 7.0 6.9 6.3 11.6 ดัชนีปริมาณนาเข้ารวม 1.2 2.7 5.8 6.8 -10.1 -3.5 -4.8 -10.4 -3.6 5.3 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ดัชนีราคาสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ ดัชนีราคาสินค้านาเข้า %YoY 2565 2566 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 ทั้งปี Q4 สินค้าอุปโภคบริโภค 4.9 4.4 5.7 5.4 4.0 4.3 2.3 2.1 2.6 1.9 วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง 15.0 18.6 19.4 14.7 8.0 1.2 -5.8 -3.7 -2.6 -2.1 สินค้าทุน 2.9 3.3 3.8 3.2 1.1 1.0 0.4 0.0 0.4 0.2 ดัชนีราคานาเข้ารวม 12.7 12.8 15.6 13.7 8.8 4.1 -1.9 -0.3 0.6 0.7 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราการค้า %YoY 2565 2566 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี อัตราการค้า* 96.8 98.5 96.0 96.0 97.0 96.5 98.0 97.4 97.6 97.4 %YOY -7.8 -7.8 -9.1 -8.4 -6.1 -2.0 2.2 1.4 0.6 0.6 หมายเหตุ : * อัตราการค้า (Terms of Trade : TOT) คือ ราคาสินค้าส่งออกเทียบกับราคาสินค้านาเข้าของแต่ละประเทศ หาก TOT ปรับดีขึ้น หมายถึงประเทศนั้น ๆ ได้ประโยชน์มากขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากสินค้าที่ส่งออกได้ราคาสูงขึ้นเทียบกับราคาที่นาเข้า ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย สินค้านาเข้าสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ. %YoY 2565 2566 สัดส่วน Q4/66 (%) ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 ทั้งปี Q4 สินค้าอุปโภคบริโภค 6.5 8.1 8.0 12.7 -1.5 11.6 6.4 6.4 13.7 8.5 9.6 - ไม่รวมยานพาหนะ 5.3 9.3 8.7 9.4 -4.8 3.8 -1.9 -0.8 12.0 1.1 3.3 อาหารเครื่องดื่มและผลิตภัณฑ์นม 14.6 13.4 16.2 17.6 11.3 0.9 0.8 0.2 2.8 2.0 5.9 ยานพาหนะ 32.2 -12.2 -5.5 107.8 74.7 179.1 176.6 117.9 1.8 132.1 88.8 โทรศัพท์มือถือ -11.4 -17.7 8.1 35.4 -39.1 -4.8 -25.0 -3.6 1.6 -5.1 11.7 ยาและเวชภัณฑ์ -6.9 52.8 10.3 -39.4 -22.0 -19.3 -9.7 0.9 1.2 -9.9 -8.1 วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง 16.4 28.0 26.6 19.1 -5.2 -2.5 -13.2 -14.0 62.7 -7.1 3.5 - ไม่รวมกลุ่มเชื้อเพลิง 5.7 16.0 11.5 4.3 -8.3 -4.1 -11.7 -8.8 44.8 -5.7 3.3 ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า 8.8 19.9 14.9 7.7 -5.3 -0.8 -3.4 3.4 17.4 4.5 20.4 น้ามันดิบ 53.1 70.4 94.7 61.0 4.7 3.8 -23.9 -18.4 12.4 -7.8 15.4 เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 6.6 18.6 14.3 5.4 -11.0 -10.5 -21.4 -20.6 8.2 -15.4 -6.7 วัสดุที่ทาด้วยโลหะ -0.5 18.3 13.5 -8.6 -22.6 -14.6 -26.6 -18.3 7.4 -16.7 -2.5 สินค้าทุน 2.1 8.6 7.3 -0.1 -6.2 0.8 7.5 7.0 18.9 6.7 11.8 เครื่องจักรกลอื่น ๆ และชิ้นส่วน 2.1 8.3 3.4 -0.7 -2.4 -4.1 1.4 -1.7 7.3 -1.3 -0.8 คอมพิวเตอร์ -15.7 21.3 -12.7 -19.8 -37.6 -16.3 111.9 17.3 2.0 56.2 142.1 อากาศยาน เรือ แท่นและรถไฟ 11.3 26.5 68.4 9.3 -28.6 18.5 -5.4 17.7 1.9 19.5 55.9 หม้อแปลง, เครื่องกาเนิดไฟฟ้า, มอเตอร์, และเครื่องเก็บประจุไฟฟ้า 6.7 7.3 9.9 7.3 2.6 6.0 3.0 -0.2 1.8 2.1 -0.5 เครื่องชั่ง ตวง วัด -0.1 -6.1 1.0 1.7 3.5 6.3 0.3 -1.6 1.3 1.3 0.7 สินค้านาเข้าอื่น ๆ 21.4 -42.9 49.9 138.1 14.8 -13.5 -13.3 -47.7 4.7 -22.5 3.8 ทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ) 32.0 -54.1 103.6 245.8 23.4 -24.2 -15.2 -55.5 3.4 -29.4 2.5 สินค้านาเข้าเบ็ดเตล็ด -2.2 9.9 -12.4 -1.0 -3.7 7.4 -8.2 -12.3 1.3 -1.7 7.5 มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติศุลกากร 12.8 16.3 21.5 18.9 -4.1 -0.7 -7.7 -10.7 100.0 -3.7 5.8 มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติดุลการชาระเงิน 14.0 15.8 22.3 21.4 -2.3 0.5 -6.6 -10.7 90.7 -3.1 6.1 มูลค่าสินค้านาเข้ารวม (ไม่รวมทองคา) 13.4 21.2 20.7 16.3 -3.1 1.2 -6.3 -7.6 87.3 -2.0 6.3 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 10 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 NESDC Economic Outlook ทิศทางสินค้าส่งออกสาคัญของไทยในปี 2566 ในภาพรวม มูลค่าการส่งออกสินค้าในปี 2566 ลดลงร้อยละ 1.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 5.4 ในปี 2565 สอดคล้องกับการชะลอตัวของการส่งออกประเทศคู่ค้าสาคัญของไทย อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาในแต่ละกลุ่มสินค้าส่งออกหลักจะพบว่ามีบางกลุ่มที่ยังขยายตัวได้ดีสะท้อนถึงความมีศักยภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดโลก ในขณะที่บางกลุ่มสินค้าลดลงต่อเนื่อง โดยหากเปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าสินค้าส่งออกหลักในปี 2566 เทียบกับปี 2565 จะสามารถแบ่งสินค้าออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ สินค้าที่ยังมีศักยภาพ สินค้าที่ฟื้นตัวจากฐานปีก่อน สินค้าที่ลดลงจากฐานสูงในปีก่อน และสินค้าที่ลดลงต่อเนื่อง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. สินค้าที่ยังมีศักยภาพ (สินค้าที่ขยายตัวในปี 2566 และปี 2565) คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 32.4 ของมูลค่าการส่งออกรวม เช่น คอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า ข้าว แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน เครื่องประดับ และอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม เป็นต้น แสดงให้เห็นความต้องการสินค้าที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในตลาดสหรัฐฯ (ข้าว ส่วนประกอบโทรศัพท์ ยานพาหนะ คอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า) และญี่ปุ่น (แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องสาอาง ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้) ซึ่งควรดาเนินมาตรการที่มุ่งเน้นรักษาการขยายตัวของสินค้า กลุ่มนี้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง เช่น รักษาคุณภาพของตลาดเดิมควบคู่กับการแสวงหาตลาดใหม่ที่จะสามารถทาให้สินค้ากลุ่มนี้รักษาอัตราการเติบโตและมีส่วนร่วมในห่วงโซ่การผลิตโลกได้มากขึ้นในระยะต่อไป 2. สินค้าที่ฟื้นตัวจากฐานปีก่อน (สินค้าที่กลับมาขยายตัวในปี 2566 จากการลดลงในปี 2565) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.8 ของมูลค่าการส่งออกรวม เช่น ทุเรียน รถยนต์นั่ง รถกระบะและรถบรรทุก และชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ เป็นต้น แสดงให้เห็นถึงการกลับมาของ อุปสงค์จากประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะตลาดออสเตรเลีย (รถกระบะ) และจีน (ทุเรียน) ที่กลับมาขยายตัว ซึ่งมาตรการที่เหมาะสมกับสินค้ากลุ่มนี้ ควรจะต้องรักษาระดับการขยายตัวของสินค้าให้ต่อเนื่องโดยการรักษาตลาดเดิมและแสวงหาตลาดใหม่ ควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของสินค้า เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้ากลุ่มนี้ให้กลับเข้าไปสู่กลุ่มสินค้าที่มีการขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพและไม่กลับมาปรับตัวลดลงในระยะถัดไป 3. สินค้าที่ลดลงจากฐานสูงของปีก่อน (สินค้าที่ลดลงในปี 2566 เทียบกับการขยายตัวในปี 2565) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27.3 ของมูลค่าการส่งออกรวม เช่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องปรับอากาศ อาหารสัตว์ ปลากระป๋องและปลาแปรรูป เป็ด-ไก่กระป๋องและแปรรูป และอะลูมิเนียม เป็นต้น สอดคล้องกับการลดลงของอุปสงค์จากประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะในตลาดสหรัฐฯ (เครื่องปรับอากาศ อาหารสัตว์เลี้ยง ปลากระป๋องและปลาแปรรูป อะลูมิเนียม) และญี่ปุ่น (ปลากระป๋องและปลาแปรรูป ไก่แปรรูป อะลูมิเนียม) โดยอุปสงค์ในตลาดโลกที่ฟื้นตัวมากขึ้นในระยะถัดไป จะทาให้สินค้ากลุ่มนี้กลับมาขยายตัวอีกครั้ง ซึ่งมาตรการที่เหมาะสมกับสินค้ากลุ่มนี้ เป็นมาตรการที่มุ่งเน้น การสนับสนุนให้สินค้ากลุ่มนี้กลับมาขยายตัวอีกครั้ง เช่น การเร่งโปรโมตสินค้าเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ของตลาด รวมถึงแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น อาทิ ปัญหาการกักกันสินค้าที่ไม่ผ่านคุณภาพในด่านผู้นาเข้า เป็นต้น ตลอดจนการกระจายตลาดส่งออกให้หลากหลายมากขึ้นเพื่อช่วยลดความผันผวนของมูลค่าการส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ได้ในระยะยาว 4. สินค้าที่ลดลงต่อเนื่อง (สินค้าที่ยังคงลดลงในปี 2566 ต่อเนื่องจากการลดลงในปี 2565) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20.4 ของมูลค่า การส่งออกรวม เช่น ผลิตภัณฑ์ยาง เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และยางพารา เป็นต้น โดยเฉพาะในตลาดจีน (ผลิตภัณฑ์ยาง เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ยางพารา) ซึ่งได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน ประกอบกับนโยบายในการพึ่งตนเองของจีนมากขึ้น ซึ่งสินค้ากลุ่มนี้ควรได้รับการติดตามอย่างใกล้ชิดเพื่อเร่งปรับ/ทบทวนแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะการให้ความสาคัญต่อการยกระดับศักยภาพการผลิตสินค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดได้มากขึ้น ที่มา ธปท. ประมวลผลโดย สศช.หมายเหตุ: Size of Bubble: สัดส่วนการส่งออก (ร้อยละ)เป็ด ไก่กระป๋องและแปรรูป 23.1 6.3 อะลูมิเนียม 19.2 15.9 อาหารสัตว์ 15.8 13.6 ผลิตภัณฑ์อาหารอื่นๆ 14.5 8.2 ปลากระป๋องและปลาแปรรูป 14.0 7.2 เครื่องปรับอากาศ 8.8 11.9 เครื่องจักรและอุปกรณ์ 6.3 0.8 สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 5.5 11.6 -35.0-30.0-25.0-20.0-15.0-10.0-5.00.05.0-5.00.05.010.015.020.025.030.02566 (%YoY)2565 (%YoY)สินค้าที่ลดลงจากฐานที่สูงของปีก่อนสัดส่วนร้อยละ 27.3ทุเรียน 7.7 28.1 รถกระบะและรถบรรทุก 8.9 17.5 รถยนต์นั่ง 29.8 17.3 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ 0.2 1.0 -20.0-10.00.010.020.030.040.050.0-40.0-35.0-30.0-25.0-20.0-15.0-10.0-5.00.05.010.02566 (%YoY)2565 (%YoY)สินค้าที่ฟื้นตัวจากฐานปีก่อนคอมพิวเตอร์ 0.6 97.8 ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า 13.4 31.4 ข้าว 14.9 29.3 สินค้าป่าไม้ 8.9 21.1 น้าตาล 92.4 20.6 อุปกรณ์การถ่ายภาพและภาพยนตร์ 30.7 16.3 อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม 40.4 12.9 ยานพาหนะอื่นๆ 114.9 11.1 เครื่องประดับ 31.6 10.8 อากาศยาน, เรือ, แท่น, และรถไฟ 63.4 4.9 แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน 9.3 4.1 เครื่องใช้ในห้องน้าและเครื่องสาอางค์ 16.0 3.6 เครื่องดื่ม 5.6 1.9 -20.00.020.040.060.080.0100.0120.0-20.00.020.040.060.080.0100.0120.02566 (%YoY)2565 (%YoY)สินค้าที่ยังมีศักยภาพสัดส่วนร้อยละ 32.4รักษาเสถียรภาพของการขยายตัวสัดส่วนร้อยละ 17.8ยางพารา 7.9 29.2 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 11.1 24.1 เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี 3.2 14.9 ผลิตภัณฑ์ยาง 12.6 13.1 ตู้เย็น 7.1 6.7 โลหะอื่นๆ 5.4 3.7 ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ 8.7 3.1 -30.0-20.0-10.00.0-30.0-20.0-10.00.010.02566 (%YoY)2565 (%YoY)สินค้าที่ปรับตัวลดลงต่อเนื่องสัดส่วนร้อยละ 20.4ทาให้กลับมาขยายตัวรักษาระดับการขยายตัวปรับ/ทบทวนกลยุทธ์ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 11 Economic Outlook NESDC สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง: ลดลงร้อยละ 0.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออานวยส่งผลกระทบให้ผลผลิตหมวดพืชผลสาคัญลดลง โดยเฉพาะปาล์มน้ามัน กลุ่มผลไม้ มันสาปะหลัง อ้อย และข้าวเปลือก รวมทั้งหมวดประมงที่ลดลงต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 2 ในขณะที่ผลผลิตหมวดปศุสัตว์ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ซึ่งสอดคล้องกับดัชนี ผลผลิตสินค้าเกษตรที่ลดลงร้อยละ 2.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผลผลิตสินค้า เกษตรสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ (1) ปาล์มน้ามัน ลดลงร้อยละ 18.3 เนื่องจากสภาพอากาศร้อนแล้ง ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ลดลง (2) กลุ่มไม้ผล ลดลงร้อยละ 10.0 ตามการลดลงของไม้ผลสาคัญ ๆ โดยเฉพาะ ผลผลิตทุเรียนหมอนทอง (ลดลงร้อยละ 37.2) ที่ได้รับผลกระทบจากความแปรปรวนของภูมิอากาศ (3) มันสาปะหลัง ลดลงร้อยละ 14.0 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคและศัตรูพืช (4) อ้อย ลดลงร้อยละ 11.1 เนื่องจากความแปรปรวนของสภาพอากาศ ฝนทิ้งช่วงและภัยแล้ง และ (5) ข้าวเปลือก ลดลงร้อยละ 3.7 โดยมีสาเหตุสาคัญมาจากปัญหาฝนทิ้งช่วงและภัยแล้งในพื้นที่ปลูกข้าวนาปีในช่วงต้นฤดูกาลเพาะปลูก และปริมาณน้าที่อยู่ในระดับต่ากว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน ประกอบกับมีการแพร่ระบาดของโรคและศัตรูพืช อาทิ โรคไหม้คอรวง และเพลี้ยไฟ อย่างไรก็ตาม ผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ บางรายการปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ สุกร (เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.5) โคเนื้อ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.5) ตามลาดับ ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกลับมาเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 0.1 ตามการเพิ่มขึ้น ของดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ ได้แก่ (1) ข้าวเปลือก เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.0 (2) ยางพารา เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.4 (3) มันสาปะหลัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.5 (4) อ้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.4 และ (5) ปาล์มน้ามัน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.6 ตามลาดับ ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ หลายรายการปรับตัวลดลง ได้แก่ สุกร (ลดลง ร้อยละ 37.3) กลุ่มไม้ผล (ลดลงร้อยละ 6.2) และไก่เนื้อ (ลดลงร้อยละ 10.5) ตามลาดับ การลดลงของดัชนี ผลผลิตสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 2.5 รวมทั้งปี 2566 สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ในปี 2565 โดยดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 0.3 และดัชนีราคาสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 2.1 ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมลดลงร้อยละ 2.0 สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ลดลงร้อยละ 0.8 ตามการลดลงของผลผลิต หมวดพืชผลสาคัญ ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้า เกษตรกลับมาขยายตัว ครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส การลดลงของปริมาณ ผลผลิตสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้ เกษตรกรโดยรวมลดลง ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการ ด้านอาหาร สาขาการขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และ จักรยานยนต์ และ สาขาการขนส่งและ สถานที่เก็บสินค้าขยายตัว ในขณะที่สาขาการผลิต สินค้าอุตสาหกรรม สาขาเกษตรกรรม และสาขาการก่อสร้าง ปรับตัวลดลง สาขาอุตสาหกรรม: ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 2.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของกลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 และกลุ่มการผลิตเพื่อการส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) เป็นสาคัญ สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 5.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดย ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วง ร้อยละ 30 - 60 ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 11.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 6.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ การผลิตยานยนต์ลดลงร้อยละ 13.9 ต่อเนื่องจากการลดลง ร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของอุปสงค์ในประเทศเป็นสาคัญ โดยการผลิตเพื่อจาหน่าย ในประเทศของรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ลดลงร้อยละ 31.6 และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลลดลงร้อยละ 10.5 ตามลาดับ และการผลิตน้าตาลลดลงร้อยละ 20.1 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 35.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของ การผลิตน้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์และน้าตาลทรายขาว ประกอบกับความล่าช้าในการเปิดหีบอ้อยฤดูการผลิต ปี 2566/2567 (วันที่ 10 ธันวาคม 2566 ถึงวันที่ 5 มกราคม 2567) ของโรงงานน้าตาลทั้ง 57 แห่ง ส่วนดัชนี ผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 9.9 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 12.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 15.7 เทียบกับการลดลง ร้อยละ 14.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของอุปสงค์จากต่างประเทศ อาทิ สิงคโปร์ (ลดลงร้อยละ 16.9) สาขาอุตสาหกรรมลดลง ร้อยละ 2.4 เป็นการลดลง ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ตามการลดลงของกลุ่ม การผลิตที่มีสัดส่วนการ ส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 และกลุ่มการผลิตเพื่อ การส่งออก (สัดส่วนส่งออก มากกว่าร้อยละ 60) เป็นสาคัญ ในขณะที่กลุ่ม การผลิตเพื่อการบริโภค ภายในประเทศกลับมา ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส อัตราการใช้กาลังการผลิต เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 56.72 ต่ากว่าร้อยละ 58.02 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 60.32 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน -20 -10 0 10 20 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 (%YoY) ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาสินค้าเกษตร ดัชนีรายได้เกษตรกร ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายได้เกษตรกรลดลงร้อยละ 2.5 ตามการลดลงของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ราคาสินค้าเกษตรปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้ง รายการ ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร -100 -50 0 50 100 150 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 (%YoY) ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ยางแผ่นดิบชั้น ปาล์มน้ามัน อ้อย กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 12 Economic Outlook NESDC ญี่ปุ่น (ลดลงร้อยละ 56.8) และ เยอรมนี (ลดลงร้อยละ 4.9) และการผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงลดลง ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 18.7 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 29.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของ การผลิตฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (Hard Disk Drive: HDD) และปริ้นเตอร์ เป็นสาคัญ ในขณะที่ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม กลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 1.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัว เพิ่มขึ้น ได้แก่ การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.7 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผลจากฐานที่ต่าในช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการปิดซ่อมบารุงโรงกลั่นน้ามันดิบ ของผู้ผลิตบางราย ประกอบกับความต้องการอุปโภคน้ามันสาเร็จรูปภายในประเทศที่ทยอยฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง และการผลิตปุ๋ยเคมีและสารประกอบไนโตรเจนขยายตัวร้อยละ 30.3 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.6 ในไตรมาส ก่อนหน้า ตามความต้องการอุปโภคปุ๋ยเคมีสาเร็จรูปภายในประเทศที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม การผลิตเหล็ก และเหล็กกล้าขั้นมูลฐานลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 10.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.2 ในไตรมาส ก่อนหน้า ตามการปรับลดกาลังการผลิตเหล็กของผู้ประกอบการ เนื่องจากผู้บริโภคเปลี่ยนไปนาเข้าเหล็กราคาถูก จากต่างประเทศ อาทิ จีน (ร้อยละ 13.9) และไต้หวัน (ร้อยละ 8.3) สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตในไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 56.72 ต่ากว่าร้อยละ 58.02 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 60.32 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในอุตสาหกรรมสาคัญ 30 รายการ มีการผลิต อุตสาหกรรมที่มีการใช้กาลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 80.00 จานวน 1 รายการ คือ การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่น ปิโตรเลียม (ร้อยละ 85.25) ขณะที่การผลิตอุตสาหกรรมที่มีการใช้กาลังการผลิตต่ากว่าร้อยละ 50.00 จานวน 14 รายการ เช่น การผลิตเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ น้าแร่และน้าดื่ม บรรจุขวดประเภทอื่น ๆ (ร้อยละ 48.45) การผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ร้อยละ 47.32) และการผลิตน้ามันปาล์ม (ร้อยละ 46.60) เป็นต้น รวมทั้งปี 2566 สาขาการผลิตอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 3.2 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 ในปี 2565 และ อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 59.06 ต่ากว่าร้อยละ 62.76 ในปี 2565 สาขาที่พักแรมและ บริการด้านอาหาร ขยายตัวต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 10.0 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก การขยายตัวในเกณฑ์สูง ของจานวนนักท่องเที่ยว ต่างประเทศ และการขยายตัวต่อเนื่อง ของการท่องเที่ยว ในประเทศ รายรับรวมจาก การท่องเที่ยวในไตรมาสนี้ อยู่ที่ 5.12 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.8 อัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ ร้อยละ 73.55 สูงกว่า ร้อยละ 66.16 ในไตรมาส ก่อนหน้า และสูงกว่า ร้อยละ 62.64 ในไตรมาส เดียวกันของปีก่อน 1 มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยว จากตารางดุลการชาระเงิน ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร: ขยายตัวร้อยละ 10.0 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 15.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวในเกณฑ์สูงของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และ การขยายตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยวในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) โดยในไตรมาสนี้ มีนักท่องเที่ยว ต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยจานวน 8.095 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 82.45 ของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นจากไตรมาส เดียวกันของปีก่อนร้อยละ 49.1 โดยนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางมาไทยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ มาเลเซีย 1.289 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 15.92) จีน 1.028 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 12.69) และรัสเซีย 0.491 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 6.06) สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของจานวนเที่ยวบินและเส้นทางการบินของ สายการบินระหว่างประเทศ ประกอบกับการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการท่องเที่ยวให้กับนักท่องเที่ยว ชาวจีน และชาวคาซัคสถาน โดยพานักในไทยได้ไม่เกิน 30 วัน (ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2566 ถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567) สาหรับมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยว1 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ 2.77 แสนล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 56.77 ของมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 34.8 โดยนักท่องเที่ยวสาคัญที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร ในไตรมาสนี้ ได้แก่ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก 5.606 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 69.24) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 54.6 ภูมิภาคยุโรป 1.907 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 23.56) เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.5 และภูมิภาคอเมริกา 0.405 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.00) เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.4 ตามลาดับ ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของ นักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) ขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องร้อยละ 14.3 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม -60.0 -40.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 100.0 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 %Cap U (แกนซ้าย MPI Export<30% Export 30-60% Export>60% ร้อยละ %YoY มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสที่สี่ของปี มีจานวน แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย -100 0 100 200 300 400 0.0 0.2 0.4 0.6 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 ล้านล้านบาท มูลค่าบริการรับ %YoY (แกนขวา ร้อยละ มาตรการ VOA (14 ม ค เม ย มาตรการ VOA (1 พ ค ? ต ค มาตรการ VOA ( พ ย. ? เม ย การแพร่ระบาดของโรคโควิด (การจากัดการเดินทางระหว่างประเทศ) โครงการ Phuket Sandbox ( ก ค ยกเลิก Thailand Pass ( ก ค เปิดประเทศ และเริ่มใช้ Thailand Pass ( พ ย ขยายเวลาพานักวีซ่าบางประเภท ( ต ค. ? มี ค มาตรการ VOA ( พ ย. ? เม ย จีนเปิดประเทศ และอนุญาตให้พลเมือง เดินทางท่องเที่ยวนอกประเทศ มาตรการ VOA (1 พ ค ? ต ค 13 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 NESDC Economic Outlook ช่วงวันหยุดยาวหลายช่วง รวมทั้งการดาเนินมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวผ่านงานเทศกาลและงานประจาปีในแต่ละจังหวัด ส่วนจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ กาญจนบุรี 3.631 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.44) ชลบุรี 3.430 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.14) และเพชรบุรี 2.814 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 4.22) สาหรับรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย2 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ 2.35 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 26.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 29.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนจังหวัดที่มีรายรับที่แท้จริงจากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ ชลบุรี (สัดส่วนร้อยละ 9.75) เชียงใหม่ (สัดส่วนร้อยละ 7.30) และเชียงราย (สัดส่วนร้อยละ 4.85) ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของทั้งมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวและมูลค่าการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวไทย ส่งผลให้ในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยว3 อยู่ที่ 5.12 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.8 สาหรับอัตราการเข้าพักในไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 73.55 สูงกว่าร้อยละ 66.16 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 62.64 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน รวมทั้งปี 2566 สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 34.5 ในปี 2565 โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศมีจานวน 28.150 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 154.4 รายรับรวม จากการท่องเที่ยวมีมูลค่า 1.892 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.0 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 69.22 สูงกว่าร้อยละ 47.93 ในปี 2565 และนับเป็นเป็นอัตราสูงสุดในรอบ 4 ปี สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 11 ร้อยละ 5.1 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์ดีของการใช้จ่ายภาคครัวเรือนและภาคบริการด้านการท่องเที่ยว สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ โดย (1) ดัชนีการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 17.9 ตามการเพิ่มขึ้นของหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ เช่น ร้านเครื่องประดับ ร้านเครื่องสาอาง และร้านสินค้าทางเภสัชภัณฑ์และเวชภัณฑ์ เป็นต้น และหมวด การขายปลีกในร้านค้าทั่วไป โดยเฉพาะการขายปลีกในร้านดิสเคาท์สโตร์/ซุปเปอร์เซ็นเตอร์/ไฮเปอร์มาร์เก็ต (2) ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) ลดลงร้อยละ 3.9 ตามการลดลงของหมวดการขายส่งสินค้าเฉพาะประเภทอื่น ๆ (อาทิ การขายส่งเหล็ก เหล็กกล้า และโลหะที่นอกกลุ่มเหล็กขั้นมูลฐาน และ การขายส่งเคมีภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม) และหมวดการขายส่งของใช้ในครัวเรือน โดยเฉพาะการขายส่งเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และการขายส่งสินค้าทางเภสัชภัณฑ์ (3) ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ลดลงร้อยละ 12.2 ตามการลดลงในทุกหมวด อาทิ หมวดการขายยานยนต์ และหมวดการขายชิ้นส่วนและอุปกรณ์เสริมของยานยนต์ รวมทั้งปี 2566 สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 ในปี 2565 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า: เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 7.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีบริการขนส่ง ประกอบด้วย (1) บริการขนส่งทางน้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีปริมาณตู้สินค้าและปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางน้าของไทย และการเพิ่มขึ้นของดัชนีปริมาณผู้โดยสารทางน้า (2) บริการขนส่งทางอากาศ เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.3 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 20.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของปริมาณการขนส่งผู้โดยสารทางอากาศ เป็นสาคัญ ในขณะที่ปริมาณการขนส่งสินค้า ทางอากาศขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 และ (3) บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 6.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของปริมาณการขนส่งผู้โดยสาร ทางบก สอดคล้องกับการชะลอตัวของปริมาณผู้โดยสารรถไฟฟ้า ปริมาณผู้ใช้บริการรถสาธารณะ และปริมาณ การใช้กาซปิโตรเลียมเหลวและการใช้น้ามันเบนซินสาหรับยานยนต์ ในขณะที่ปริมาณการขนส่งสินค้าทางบกกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้น้ามันดีเซลสาหรับ ยานยนต์ สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 9.4 ในไตรมาส ก่อนหน้า และบริการไปรษณีย์ขยายตัวร้อยละ 11.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า รวมทั้งปี 2566 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.4 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0 ในปี 2565 โดยบริการขนส่งประกอบด้วย บริการขนส่งทางอากาศขยายตัวร้อยละ 29.5 บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียงขยายตัวร้อยละ 6.5 และบริการขนส่งทางน้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 ตามลาดับ ส่วนบริการสนับสนุนการขนส่งขยายตัวร้อยละ 10.5 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวร้อยละ 7.8 สาขาการขายส่งและ การขายปลีก การซ่อม ยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 11 ร้อยละ 5.1 ตามการขยายตัวของ การใช้จ่ายภาคครัวเรือนและภาคบริการด้าน การท่องเที่ยว สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 9 ร้อยละ 6.7 ตามการเพิ่มขึ้นของบริการขนส่งสินค้าทุกประเภท ทั้ง ทางน้า ทางอากาศ และทางบกและท่อลาเลียง ขณะที่การขนส่งผู้โดยสารชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า 2 รายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย จากตารางสรุปสถานการณ์พักแรม จานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ของ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กก.) 3 รายรับรวมจากการท่องเที่ยว คือ ผลรวมของมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวและรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย 14 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 NESDC Economic Outlook สาขาการก่อสร้าง: ลดลงร้อยละ 8.8 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการก่อสร้างภาครัฐ โดยเฉพาะการก่อสร้างของรัฐบาล ในขณะที่การก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 โดยในไตรมาสนี้ การก่อสร้างภาครัฐลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 18.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้างของรัฐบาลลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 30.9 ตามการลดลงของการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน เนื่องจากความล่าช้าของการประกาศใช้พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ขณะที่การก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจ เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 9.8 สอดคล้องกับความคืบหน้าของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ ๆ เช่น โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บูรณะ (รฟม.) และโครงการพัฒนาระบบส่ง และจาหน่ายระยะที่ 2 (กฟภ.) ในขณะที่การก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 3.4 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของทั้งการก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัยโดยเฉพาะอาคารโรงงานและอาคารพาณิชย์ และการก่อสร้างที่อยู่อาศัย (อาทิ ห้องชุด และบ้านเดี่ยว) สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 0.2 ตามการลดลงของราคาหมวดเหล็ก (ลดลงร้อยละ 2.9) และราคาหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ อาทิ ยางมะตอย และผลิตภัณฑ์อลูมิเนียม (ลดลง ร้อยละ 2.1) ขณะที่ ราคาหมวดคอนกรีตและหมวดซีเมนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 และร้อยละ 0.7 ตามลาดับ รวมทั้งปี 2566 สาขาก่อสร้างลดลงร้อยละ 0.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.4 ในปี 2565 โดยการก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 3.3 (การก่อสร้างของรัฐบาลลดลงร้อยละ 6.2 ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4) และการก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 ผู้มีงานทา: จานวนผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 14 ตามการเพิ่มขึ้นของผู้มีงานทาทั้งใน ภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร สอดคล้องกับอัตราการว่างงานที่ลดลงอย่างต่อเนื่องและอยู่ในระดับต่าสุดในรอบ 32 ไตรมาส โดยในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ผู้มีงานทามีจานวนทั้งสิ้น 40.27 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 ในไตรมาสก่อนหน้า จาแนกเป็น ผู้มีงานทาชาวไทยจานวน 37.66 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 93.51) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 และผู้มีงานทาชาวต่างด้าวจานวน 2.61 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 6.49) ลดลงร้อยละ 12.7 โดยผู้มีงานทานอกภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 69.22) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 1.8 ตามการเพิ่มขึ้นของผู้มีงานทาในสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาก่อสร้าง และสาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ฯ เป็นสาคัญ ในขณะที่ผู้มีงานทาในสาขาอุตสาหกรรมลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส ส่วนผู้มีงานทาภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 30.78) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 1.5 สาหรับอัตราการว่างงานในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 0.81 ต่าที่สุดในรอบ 32 ไตรมาส รวมทั้งต่ากว่าร้อยละ 0.99 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 1.15 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมี ผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 3.31 แสนคน ต่ากว่าผู้ว่างงานจานวน 4.01 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่า ผู้ว่างงานจานวน 4.62 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า เฉลี่ยทั้งปี 2566 ผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9 ในปี 2565 และอัตราการว่างงานเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.98 ลดลงจากร้อยละ 1.32 ในปี 2565 สาขาการก่อสร้างลดลงร้อยละ 8.8 ตาม การก่อสร้างของรัฐบาล ที่ปรับตัวลดลง ในขณะที่การก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 6 สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างลดลงต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 0.2 ตามการลดลงของราคาหมวดเหล็ก เป็นสาคัญ จานวนผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 14 ตามการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ของผู้มีงานทานอกภาคเกษตรและการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 2 ของผู้มีงานทาภาคเกษตร อัตราการว่างงานอยู่ที่ ร้อยละ 0.81 ต่าสุดในรอบ 32 ไตรมาส 0.00.51.01.52.02.535363738394041Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4 ผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ ตามการเพิ่มขึ้นของผู้มีงานทาทั้งภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ การจ้างงานอัตราการว่างงาน แกนขวา ล้านคน ร้อยละ ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ สสช กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 15 Economic Outlook NESDC สถานการณ์ด้านแรงงานในระบบประกันสังคม: จานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 11 โดยสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 ต่ากว่าไตรมาส ก่อนหน้าแต่สูงกว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมรวม เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 ประกอบด้วย ผู้ประกันตนภาคบังคับตามมาตรา 33 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 ต่อเนื่องจาก การเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของผู้ประกันตนในภาคอุตสาหกรรมและ ภาคบริการ (อาทิ สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาก่อสร้าง และสาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ฯ เป็นต้น) และผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 40) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เทียบกับ การเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 39) ลดลงต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 4.4 สาหรับสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 1.74 ต่ากว่าร้อยละ 1.93 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 1.69 ในไตรมาสเดียวกัน ของปีก่อน โดยมีจานวนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 เฉลี่ยจานวน 2.07 แสนคน ต่ากว่าจานวน 2.29 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าจานวน 1.97 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จานวนผู้ประกันตนใน ระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องเป็นไตรมาส ที่ 11 ร้อยละ 1.0 ตาม การเพิ่มขึ้นของผู้ประกันตน ภาคบังคับตามมาตรา 33 และผู้ประกันตนตาม ความสมัครใจ (มาตรา 40) ในขณะที่ผู้ประกันตนตาม ความสมัครใจ (มาตรา 39) ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 6 สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับ ประโยชน์กรณีว่างงานตาม มาตรา 33 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ ร้อยละ 1.74 ต่ากว่าร้อยละ 1.93 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 1.69 ในไตรมาสเดียวกันของ ปีก่อน การจ้างงานจาแนกตามสาขาการผลิต %YOY สัดส่วน Q4/66 2565 2566 ทงั้ ปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทงั้ ปี Q1 Q2 Q3 Q4 ผมู้ งี นทารวม 100.00 3.9 0.1 0.3 2.1 1.5 1.8 2.4 1.7 1.3 1.7 - ภาคเกษตร 30.78 -0.9 2.4 -1.2 -2.4 -3.4 1.2 1.6 -0.2 2.0 1.5 - นอกภาคเกษตร 69.22 6.1 -0.8 0.9 4.3 3.9 2.0 2.7 2.5 1.0 1.8 อตุ สาหกรรม 15.70 6.0 -1.6 1.5 1.4 4.4 0.1 0.4 0.3 0.6 -0.8 กอ่ สรา ง 5.44 -0.2 -4.2 -8.5 0.4 -1.0 2.1 -1.8 6.0 2.9 1.7 สาขาการขายสง่ และการขายปลกี การซอ่ มยานยนตฯ์ 17.10 7.9 2.0 8.3 4.5 2.0 1.8 4.4 0.5 -0.2 2.4 ทพี่ กั แรมและบรกิ รดา นอาหาร 7.99 4.5 -4.4 -6.1 8.3 6.6 9.3 8.2 11.7 8.3 8.9 กาลงั แรงงานรวม (ลา นคน) 39.90 39.62 39.76 40.09 40.14 40.45 40.28 40.31 40.53 40.70 จานวนผมู้ งี นทา (ลา นคน) 39.22 38.72 39.01 39.57 39.59 39.92 39.63 39.68 40.09 40.27 จานวนผวู้ งงาน (ลา นคน) 0.53 0.61 0.55 0.49 0.46 0.395 0.42 0.43 0.40 0.33 อตั ราการวา งงาน (%) 1.32 1.53 1.37 1.23 1.15 0.98 1.05 1.06 0.99 0.81 ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0 10,600,000 10,800,000 11,000,000 11,200,000 11,400,000 11,600,000 11,800,000 12,000,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 2562 2563 2564 2565 2566 จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ 11.9 ล้านคน และสัดส่วนผู้ใช้บริการกรณีว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 1.7 จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ สัดส่วนผู้ใช้บริการ กรณีว่างงาน (แกนขวา) (ล้านคน) (ร้อยละ) ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน จานวนผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) และผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 จานวน (พันคน) 2565 2566 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33)1/ 11,638 11,234 11,313 11,462 11,638 11,891 11,689 11,725 11,842 11,891 ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.39)2/ 1,880 1,920 1,902 1,899 1,880 1,798 1,866 1,850 1,826 1,798 ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.40)3/ 10,881 10,767 10,812 10,855 10,881 10,958 10,911 10,935 10,957 10,958 รวมผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) 24,399 23,920 24,027 24,216 24,399 24,647 24,466 24,511 24,625 24,647 ผปู้ ระกนั ตนทไ ดร้ บั ประโยชนก์ รณวี งงานจาก ม.33 197 306 245 228 197 207 227 250 229 207 สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณี ว่างงานจาก ม.33 (ร้อยละ) 1.7 2.7 2.2 2.0 1.7 1.7 1.9 2.1 1.9 1.7 ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน หมายเหตุ: 1/ ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33) คือ พนักงานบริษัทเอกชนทั่วไป ซึ่งมีสถานะเป็นลูกจ้างที่ทางานอยู่ในสถานประกอบการที่มี พนักงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป อายุไม่ต่ากว่า 15 ปี และไม่เกิน 60 ปี 2/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.39) คือ บุคคลที่เคยทางานอยู่ในบริษัทเอกชนในมาตรา 33 มาก่อนแล้วลาออกแต่ต้องการรักษา สิทธิประกันสังคมไว้ จึงสมัครเข้าใช้สิทธิประกันสังคมในมาตรา 39 แทน 3/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.40) คือ ผู้ประกันตนในมาตรา 40 นี้ คือ บุคคลที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างในบริษัทเอกชนตามมาตรา 33 และไม่เคยสมัครเป็นผู้ประกันตนในมาตรา 39 ผู้ที่จะสมัครประกันสังคมในมาตรา 40 ได้นั้น ต้องเป็นผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ หรือแรงงานนอกระบบ มีอายุไม่ต่ากว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 60 ปี กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 16 Economic Outlook NESDC อัตราการใช้กาลังการผลิต1ของการผลิตอุตสาหกรรมที่สาคัญของไทยปี 2566 1 อัตราการใช้กาลังการผลิต (Capacity Utilization Rate) เป็นเครื่องชี้ระดับการผลิตของภาคอุตสาหกรรม โดยเปรียบเทียบการผลิตจริงกับกาลังการผลิตสูงสุดหรือศักยภาพ ของเครื่องจักร ณ ช่วงเวลาหนึ่ง เป็นค่าร้อยละ โดยความสาคัญของอุตสาหกรรมแต่ละกลุ่มแตกต่างกันตามสัดส่วนค่าถ่วงน้าหนักของแต่ละอุตสาหกรรม ข้อมูลอัตราการใช้กาลังการผลิต ( Capacity Utilization Rate : CAP-U) ของไทยจัดทาและเผยแพร่โดย สานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ซึ่งจาแนกหมวดสินค้าอุตสาหกรรมตามการจัดประเภท มาตรฐานอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) ปี 2552 (Thailand Standard Industrial Classification : TSIC 2009) ครอบคลุมจานวน 21 สาขา 70 กลุ่มอุตสาหกรรม 119 ผลิตภัณฑ์ ปีฐาน 2559 ถ่วงน้าหนัก (Fixed Weight) ด้วยมูลค่าผลผลิตที่อ้างอิงจากการสารวจสามะโนธุรกิจและ อุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ของสานักงานสถิติแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เป็นเครื่องชี้ที่แสดงถึงการใช้กาลังการผลิตทั้งในระดับรายผลิตภัณฑ์ รายอุตสาหกรรม และในภาพรวมของประเทศ สาหรับในปี 2566 อัตราการใช้กาลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 59.06 ต่ากว่าร้อยละ 62.76 ในปี 2565 ต่ากว่าร้อยละ 60.26 ในปี 2563 ซึ่งเป็นช่วงโควิด-19 และต่ากว่าร้อยละ 64.08 ค่าเฉลี่ย 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2561 - 2565) เมื่อพิจารณาอัตราการใช้กาลังการผลิต ในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรม พบว่า มีกลุ่มอุตสาหกรรมที่อัตราการใช้กาลังการผลิตต่ากว่าร้อยละ 30 จานวน 5 กลุ่มอุตสาหกรรม กลุ่มอุตสาหกรรมที่มี อัตราการใช้กาลังการผลิตอยู่ระหว่างร้อยละ 30-50 จานวน 28 กลุ่มอุตสาหกรรม กลุ่มที่มีอัตราการใช้กาลังการผลิตอยู่ระหว่างร้อยละ 50-70 จานวน 28 กลุ่มอุตสาหกรรม และกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอัตราการใช้กาลังการผลิตสูงกว่า 70 จานวน 9 กลุ่มอุตสาหกรรม และเมื่อพิจารณาอัตราการใช้กาลัง การผลิตตามสัดส่วนการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม พบว่า (1) กลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) อยู่ที่ร้อยละ 65.60 ต่ากว่าร้อยละ 66.99 ในปี 2565 ต่ากว่าร้อยละ 67.66 ในปี 2563 ซึ่งเป็นช่วงโควิด-19 และต่ากว่าร้อยละ 69.24 ค่าเฉลี่ย 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2561 ? 2565) โดยอัตราการใช้กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตที่สูง ได้แก่ การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 84.67) การผลิตพลาสติก และยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ร้อยละ 82.66) และการฆ่าสัตว์ปีกและการผลิต เนื้อสัตว์ปีกสด แช่เย็นหรือแช่แข็ง (ร้อยละ 80.98) ตามลาดับ ส่วนอัตราการใช้ กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตที่ต่า ได้แก่ การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ร้อยละ 41.72) การผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกกึ่งสาเร็จรูปและสาเร็จรูป (ร้อยละ 48.38) และการผลิตน้ามันปาล์ม (ร้อยละ 48.50) ตามลาดับ (2) กลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30-60 อยู่ที่ร้อยละ 59.08 ต่ากว่าร้อยละ 62.77 ในปี 2565 และต่ากว่าร้อยละ 62.35 ค่าเฉลี่ย 5 ปี ย้อนหลัง (ปี 2561 ? 2565) แต่สูงว่าร้อยละ 53.41 ในปี 2563 ซึ่งเป็นช่วงโควิด-19 โดยอัตราการใช้กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตที่สูง ได้แก่ การผลิตยานยนต์ (ร้อยละ 71.60) การผลิตยางนอกและยางใน การหล่อดอกยางและการซ่อมสร้างยาง (ร้อยละ 65.68)และการผลิตจักรยานยนต์ (ร้อยละ 63.34) ตามลาดับ ส่วนอัตรา การใช้กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตที่ต่า ได้แก่ การผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก (ร้อยละ 27.95) การผลิตน้าตาล (ร้อยละ 38.30) และการผลิตสบู่และสารซักฟอกฯ (ร้อยละ 56.56) ตามลาดับ และ (3) กลุ่มการผลิตเพื่อการส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) อยู่ที่ ร้อยละ 48.89 ต่ากว่าร้อยละ 56.21 ในปี 2565 และต่ากว่าร้อยละ 55.64 ในปี 2563 ซึ่งเป็นช่วงโควิด-19 และต่ากว่าร้อยละ 57.82 ค่าเฉลี่ย 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2561 ? 2565) โดยอัตราการใช้กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตที่สูง ได้แก่ การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 66.33) การผลิตเครื่องจักร อื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ร้อยละ 59.82) และการผลิตเครื่องใช้ในครัวเรือน (ร้อยละ 56.92) ตามลาดับ ส่วนอัตราการใช้กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตที่ต่า ได้แก่ การผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ร้อยละ 44.12) การผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย (ยกเว้น ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า) (ร้อยละ 32.78) และการผลิตเครื่องประดับเพชรพลอยแท้และ สิ่งของที่เกี่ยวข้อง (ร้อยละ 34.93) ตามลาดับ 45.00 50.00 55.00 60.00 65.00 70.00 75.00 รวม เพื่อการบริโภคภายในประเทศ การส่งออกในช่วงร้อยละ 30 60 เพื่อการส่งออก 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 ร้อยละ ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 69.24 ค่าเฉลี่ยของกลุ่มการผลิตเพื่อการบริโภคในประเทศ 64.08 ค่าเฉลี่ยของ CapU 62.35 ค่าเฉลี่ยของกลุ่มการผลิตที่สัดส่วนการส่งออก 30 60 57.82 ค่าเฉลี่ยของกลุ่มการผลิตเพื่อการส่งออก 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 100.00 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 ค่าเฉลี่ย 69.24 อัตราการใช้กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคในประเทศ ร้อยละ ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 ร้อยละ ค่าเฉลี่ย 62.35 อัตราการใช้กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 60 ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 ร้อยละ ค่าเฉลี่ย 57.82 อัตราการใช้กาลังการผลิตของกลุ่มการผลิตเพื่อการส่งออก ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 17 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 NESDC Economic Outlook การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวภายในประเทศ1 (ไทยเที่ยวไทย) 1 ท่องเที่ยวภายในประเทศ (Domestic Tourism) หมายถึง ผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักอยู่ในประเทศและเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ 2 ผู้เยี่ยมเยือน หมายถึง ผู้ที่เดินทางเพื่อการท่องเที่ยว และอื่น ๆ เช่น การเยี่ยมเพื่อน/ญาติ ทั้งที่พักค้างคืน และไม่พักค้างคืน โดยเป็นการพักค้างในสถานพักแรม บ้านญาติ/บ้านเพื่อน และอื่น ๆ 3 จังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลัก 22 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี ภูเก็ต ชลบุรี กระบี่ เชียงใหม่ สุราษฎร์ธานี สงขลา พังงา ประจวบคีรีขันธ์ ระยอง เพชรบุรี กาญจนบุรี นครราชสีมา พระนครศรีอยุธยา ขอนแก่น และสระบุรี 4 จังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง 55 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ กาแพงเพชร จันทบุรี ชัยนาท ชัยภูมิ ชุมพร เชียงราย ตรัง ตราด ตาก นครนายก นครพนม นครศรีธรรมราช นครสวรรค์ นราธิวาส น่าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ ปราจีนบุรี ปัตตานี พะเยา พัทลุง พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ มหาสารคาม มุกดาหาร แม่ฮ่องสอน ยโสธร ยะลา ร้อยเอ็ด ระนอง ราชบุรี ลพบุรี ลาปาง ลาพูน เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สตูล สมุทรสงคราม สระแก้ว สิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลาภู อ่างทอง อานาจเจริญ อุดรธานี อุตรดิตถ์ อุทัยธานี อุบลราชธานี ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 การท่องเที่ยวภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) มีจานวนผู้เยี่ยมเยือน2คนไทยทั้งประเทศรวมจานวน 66.70 ล้านคน-ครั้ง (เทียบกับ 64.62 ล้านคน-ครั้ง ในปี 2562 หรือคิดเป็นร้อยละ 103.22 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนโควิด-19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.3 จากช่วงเดียวกันของปี 2565 สาหรับจังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลัก3 (22 จังหวัด) มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย 39.78 ล้านคน-ครั้ง (เทียบกับ 40.87 ล้านคน-ครั้ง ในปี 2562 หรือคิดเป็นร้อยละ 97.32 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนโควิด-19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.0 โดยจังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลักที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ กาญจนบุรี (สัดส่วนร้อยละ 5.44) ชลบุรี (สัดส่วนร้อยละ 5.14) และเพชรบุรี (สัดส่วนร้อยละ 4.22) ส่วนจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง4 (55 จังหวัด) มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย 26.92 ล้านคน-ครั้ง (เทียบกับ 23.74 ล้านคน-ครั้ง ในปี 2562 หรือคิดเป็นร้อยละ 113.37 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนโควิด-19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.2 โดยจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรองที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ สุพรรณบุรี (สัดส่วนร้อยละ 2.64) สมุทรสงคราม (สัดส่วนร้อยละ 2.56) และเชียงราย (สัดส่วนร้อยละ 2.23) โดยจังหวัดที่มีจานวน ผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากกว่าปี 2562 มีจานวน 40 จังหวัด (จังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลัก 10 จังหวัด และจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง 30 จังหวัด) ในขณะที่รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยทั้งประเทศมีจานวน 2.35 แสนล้านบาท (เทียบกับ 2.90 แสนล้านบาท ในปี 2562 หรือคิดเป็นร้อยละ 81.20 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.4 สาหรับจังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลัก (22 จังหวัด) มีรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย 1.61 แสนล้านบาท (เทียบกับ 2.24 แสนล้านบาท ในปี 2562 หรือคิดเป็น ร้อยละ 71.88 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.6 โดยจังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลัก ที่มีรายได้ที่แท้จริงจากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ ชลบุรี (สัดส่วนร้อยละ 9.75) เชียงใหม่ (สัดส่วนร้อยละ 7.30) และประจวบคีรีขันธ์ (สัดส่วนร้อยละ 4.69) ส่วนจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง (55 จังหวัด) มีรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน คนไทย 0.74 แสนล้านบาท (เทียบกับ 0.65 แสนล้านบาท ในปี 2562 หรือคิดเป็นร้อยละ 113.13 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.2 โดยจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรองที่มีรายได้ที่แท้จริงจากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ เชียงราย (สัดส่วนร้อยละ 4.85) นครศรีธรรมราช (สัดส่วนร้อยละ 1.64) และจันทบุรี (สัดส่วนร้อยละ 1.52) โดยจังหวัดที่มีรายได้ ผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากกว่าปี 2562 มีจานวน 40 จังหวัด (จังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลัก 9 จังหวัด และจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง 31 จังหวัด) 79.5088.1195.9390.32108.10110.09113.41103.2281.5687.8690.6188.47105.55105.06104.0197.3276.2488.52106.1293.52112.13118.42131.39113.3760.0070.0080.0090.00100.00110.00120.00130.00140.00Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q46566สัดส่วนจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562สัดส่วนจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562สัดส่วนจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562 (เมืองหลัก)สัดส่วนจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562 (เมืองรอง)(ร้อยละ)53.6460.5358.5064.2478.1782.8375.4781.2051.4557.6451.7060.0970.6274.2563.2971.8860.5370.3291.4778.46101.93111.84134.46113.1340.0050.0060.0070.0080.0090.00100.00110.00120.00130.00140.00Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q46566สัดส่วนรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562สัดส่วนรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562สัดส่วนรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562 (เมืองหลัก)สัดส่วนรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562 (เมืองรอง)(ร้อยละ)67.4868.7060.9871.1372.3175.2466.5478.6763.0965.6057.0667.9366.9170.6860.8573.8679.3979.4486.1983.9090.9094.44102.3399.7940.0050.0060.0070.0080.0090.00100.00110.00Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q46566สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยเมื่อเทียบกับปี 2562สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยเมื่อเทียบกับปี 2562 (เมืองหลัก)สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยเมื่อเทียบกับปี 2562 (เมืองรอง)(ร้อยละ)ที่มา: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประมวลผลโดยสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 18 Economic Outlook NESDC การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) (ต่อ) สาหรับค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเฉลี่ยอยู่ที่ 3,526.10 บาท/คน (เทียบกับ 4,482.22 บาท/คน ในปี 2562 หรือคิดเป็น ร้อยละ 78.67 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.6 สาหรับจังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลัก (22 จังหวัด) มีค่าใช้จ่ายต่อผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเฉลี่ยอยู่ที่ 4,050.80 บาท/คน (เทียบกับ 5,484.67 บาท/คน ในปี 2562 หรือคิดเป็น ร้อยละ 73.86 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.7 โดยจังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลักที่มีค่าใช้จ่าย ต่อผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ กระบี่ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.4) ภูเก็ต (เพิ่มขึ้นร้อยล 17.0) และเชียงใหม่ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1) ส่วนจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง (55 จังหวัด) มีค่าใช้จ่ายต่อผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเฉลี่ยอยู่ที่ 2,750.62 บาท/คน (เทียบกับ 2,756.38 ในปี 2562 หรือคิดเป็นร้อยละ 99.79 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 ในปี 2562) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 18.9 โดยจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรองที่มีค่าใช้จ่ายต่อผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ เชียงราย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.4) ตราด (เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2) และตรัง (เพิ่มขึ้นร้อยละ 52.1) โดยจังหวัดที่มีค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากกว่าปี 2562 มีจาน วน 28 จังหวัด (จังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลัก 2 จังหวัด และจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง 26 จังหวัด) เมื่อพิจารณาสัดส่วนของจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย และค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย ทั้งประเทศ และจังหวัดเมืองท่องเที่ยวหลักเทียบกับช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี 2562 พบว่า สัดส่วนของจานวน ผู้เยี่ยมเยือนคนไทย มีการฟื้นตัวดีขึ้น โดยมีสัดส่วนของจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทยเมื่อเทียบกับปี 2562 มากกว่าร้อยละ 100.00 ต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 4 ในขณะที่รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยยังไม่กลับเข้าสู่ช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สะท้อนถึงการใช้จ่ายต่อคน ที่ยังอยู่ในระดับต่า ในขณะที่จังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง มีการฟื้นตัวของทั้งจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย ที่กลับมามากกว่าร้อยละ 100.00 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายต่อคนฟื้นตัวมากกว่าร้อยละ 90.00 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นถึงความสนใจของผู้เยี่ยมเยือนคนไทยที่มีต่อจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรองในทิศทางที่ดีขึ้น ดังนั้น ในการส่งเสริม การท่องเที่ยวระยะต่อไป ภาครัฐควรให้ความสาคัญกับการพัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยวที่หลากหลายและต่อเนื่องมากขึ้น และส่งเสริมให้เกิด การเดินทางท่องเที่ยวได้ทุกช่วงเวลา/ทุกเทศกาล เพื่อสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวตลอดทั้งปี และสร้างแรงจูงใจแก่นักท่องเที่ยวในการขยาย ระยะเวลาวันพักเฉลี่ยภายในประเทศให้เพิ่มสูงขึ้น โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่เน้นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นหรือใช้วัตถุดิบที่มีภายในท้องถิ่น เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าและบริการ ประกอบกับยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและระบบคมนาคมขนส่งเพื่ออานวยความสะดวกอย่างทั่วถึง ที่มา: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประมวลผลโดยสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถานการณ์การท่องเที่ยวภายในประเทศไตรมาสที่สี่ของปี จังหวัดที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย รายรับจากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย และค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย มากกว่าปี จังหวัดที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย รายรับจากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย และค่าใช้จ่ายต่อจานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย น้อยกว่าปี จังหวัดที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือน รายได้ และค่าใช้จ่ายต่อจานวน ผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากกว่าปี มีทั้งหมด จังหวัด โดยทั้งหมดเป็นจังหวัดเมืองท่องเที่ยวรอง อ่างทอง จันทบุรี น่าน แพร่ นครสวรรค์ กา สินธุ์ บึงกา สกลนคร บุรีรัมย์ มุกดาหาร กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 19 Economic Outlook NESDC สถานการณ์ตลาดที่อยู่อาศัย ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 1 ปริมาณที่อยู่อาศัยเสนอขาย คือ ปริมาณที่อยู่อาศัยที่ผู้ประกอบอยู่ระหว่างการขาย (รวมทั้งที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จและยังสร้างไม่เสร็จ) 2 การโอนกรรมสิทธิ์ความเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัย (รวมทั้งการโอนที่อยู่อาศัยมือ 1 และ มือ 2) สถานการณ์ตลาดที่อยู่อาศัย ณ ต้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ของ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล คาดว่าจะมีปริมาณที่อยู่อาศัยเสนอขาย1 อยู่ในระดับที่สูง เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันในปีก่อน (%YoY) เป็นผลมา จากการมีปริมาณที่อยู่อาศัยคงเหลือจากการขายในไตรมาสก่อนหน้า อยู่ในระดับที่สูง โดย ณ ต้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 มีปริมาณที่อยู่อาศัย คงเหลือจากการขาย เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 10.0 แบ่งเป็น (1) บ้านจัดสรร เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 และ (2) อาคารชุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.9 มีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของปริมาณที่อยู่อาศัย คงเหลือจากการขายอย่างมีนัยสาคัญนับตั้งแต่ไตรมาสแรกของปี 2566 ส่วนหนึ่งมาจากแนวโน้มการลดลงของปริมาณที่อยู่อาศัยจาหน่ายได้ นับตั้งแต่ไตรมาสแรกถึงไตรมาสที่สามของปี 2566 โดยลดลงร้อยละ 29.3 ลดลงร้อยละ 32.3 และลดลงร้อยละ 9.7 ตามลาดับ เมื่อพิจารณาจากสถานการณ์ตลาดที่อยู่อาศัย ณ ต้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 คาดว่าปริมาณที่อยู่อาศัยเสนอขายในไตรมาสที่สี่จะสูงกว่า ไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากมีปริมาณคงเหลือขายในระดับสูงจากไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ปริมาณที่อยู่อาศัยจาหน่ายได้ ลดลง พิจารณาจากปริมาณการโอนกรรมสิทธิ์2ที่อยู่อาศัยในไตรมาสที่ 4 ลดลงร้อยละ 16.7 แบ่งเป็น (1) บ้านจัดสรร ลดลงร้อยละ 18.5 และ (2) อาคารชุด ลดลงร้อยละ 13.8 ประกอบกับในไตรมาสที่สี่มีปริมาณที่อยู่อาศัยเปิดตัวใหม่เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 แบ่งเป็น (1) บ้านจัดสรร ลดลง ร้อยละ 0.1 และ (2) อาคารชุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.4 ส่งผลให้ ณ สิ้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 จะมีปริมาณที่อยู่อาศัยคงเหลือขายในระดับ ที่สูง ทั้งบ้านจัดสรรและอาคารชุด เมื่อพิจารณาแยกตามระดับราคา ปริมาณที่อยู่อาศัยคงเหลือขาย ณ ต้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 โดยแบ่งกลุ่มตาม ระดับราคา พบว่า กลุ่มที่มีปริมาณที่อยู่อาศัยเหลือขายมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ กลุ่มระดับราคา 1.51 - 3.00 ล้านบาท (สัดส่วน ร้อยละ 40.86) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 แบ่งเป็น (1) บ้านจัดสรร ลดลงร้อยละ 2.5 และ (2) อาคารชุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.5 กลุ่มระดับราคา 3.01 - 5.01 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 26.82) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 แบ่งเป็น (1) บ้านจัดสรร ลดลงร้อยละ 2.2 และ (2) อาคารชุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 และ กลุ่มระดับราคา 5.01 - 10.00 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 18.43) เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.9 แบ่งเป็น (1) บ้านจัดสรร เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.6 และ (2) อาคารชุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 สะท้อนให้เห็นว่าผู้บริโภคในระดับราคาปานกลางถึงสูงยังคงมีกาลังซื้อที่อยู่อาศัยมากกว่าในกลุ่มร ดับ ปานกลางถึงล่าง ซึ่งยังมีข้อจากัดในการขอสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 150,000 160,000 170,000 180,000 190,000 200,000 210,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 2565 2566 (หน่วย) (หน่วย) ปริมาณที่อยู่อาศัยคงเหลือขายต้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.0 ขณะที่ปริมาณจาหน่ายได้ ลดลงร้อยละ 9.7 คงเหลือขายสิ้นไตรมาส ค่าเฉลี่ยของปริมาณจาหน่ายได้ (ปี 2561 2566) จาหน่ายได้ (แกนขวา) ที่มา : ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ประมวลผลโดย สศช. 20,411 - 40,000 80,000 120,000 160,000 200,000 บ้านจัดสรร อาคารชุด รวม บ้านจัดสรร อาคารชุด รวม บ้านจัดสรร อาคารชุด รวม บ้านจัดสรร อาคารชุด รวม บ้านจัดสรร อาคารชุด รวม บ้านจัดสรร อาคารชุด รวม ต่ากว่า 1.50 1.51 - 3.00 3.01 - 5.01 5.01 - 10.00 มากกว่า 10.01 คงเหลือขายรวม (หน่วย) ที่มา : ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ประมวลผลโดย สศช. ต้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ที่อยู่อาศัยระดับราคา 1.51 3.00 ล้านบาท มีปริมาณคงเหลือขายมากที่สุด คงเหลือขายต้น Q4/65 คงเหลือขายต้น Q4/66 150,000 155,000 160,000 165,000 170,000 175,000 180,000 185,000 190,000 195,000 200,000 205,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 2565 2566 (หน่วย) ที่มา : ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ประมวลผลโดย สศช. คาดว่า ณ สิ้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 จะมีปริมาณที่อยู่อาศัยคงเหลือขายในระดับที่สูง คงเหลือขายสิ้นไตรมาส Supply Demand ปริมาณที่อยู่อาศัยคงเหลือขาย เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.0 ปริมาณที่อยู่อาศัยเปิดตัวใหม่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 การโอนกรรมสิทธิ ที่อยู่อาศัย ลดลงร้อยละ 16.7 อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณที่อยู่อาศัยคงเหลือขายจาแนกตามประเภทและระดับราคา แยกตามระดับราคา (%YoY) กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5 คงเหลือขายรวม ต่ากว่า 1.50 ล้านบาท 1.51 - 3.00 ล้านบาท 3.01 - 5.01 ล้านบาท 5.01 - 10.00 ล้านบาท มากกว่า 10.01 ล้านบาท บ้านจัดสรร -8.8 -2.5 -2.2 24.6 37.3 5.6 อาคารชุด 18.5 29.5 7.2 5.1 -17.5 17.9 รวม 13.0 10.4 0.4 19.9 23.1 10.0 ที่มา: ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ประมวลผลโดย สศช. กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 20 Economic Outlook NESDC การจัดเก็บรายได้รัฐบาล ในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม - ธันวาคม 2566) รัฐบาลจัดเก็บรายได้ สุทธิ 623,383.9 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 2.6 โดยเป็นผลมาจาก (1) การนาส่งรายได้ ของส่วนราชการอื่นลดลงร้อยละ 46.5 ตามฐานรายได้ในไตรมาสแรกของปีงบประมาณก่อนหน้าที่สูง เนื่องจาก มีการนาส่งสภาพคล่องส่วนเกินของกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน รายได้จากการสัมปทาน โทรศัพท์เคลื่อนที่คลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ของบริษัทโทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน) และการประมูล ใบอนุญาตคลื่นความถี่วิทยุระบบ FM รวมทั้งการชาระอากรตามคาพิพากษาคดี กรณีการนาขาเข้าชิ้นส่วนรถยนต์ ของกรมศุลกากร และ (2) การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์ เบียร์ และยาสูบ ลดลงร้อยละ 16.7 ร้อยละ 7.4 และ ร้อยละ 8.9 ตามลาดับ สอดคล้องกับการลดลงของยอดการสั่งซื้อรถยนต์นั่งอเนกประสงค์ รถยนต์กระบะ 4 ประตู และรถกระบะ ยอดจาหน่ายยาสูบ และดัชนีผลผลิตสินค้าเบียร์ อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ามันและ ผลิตภัณฑ์น้ามันเพิ่มขึ้นร้อยละ 56.5 เนื่องจากการสิ้นสุดลงของมาตรการลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซล ลิตรละไม่เกิน 5 บาท และอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันสาหรับเครื่องบินไอพ่นเพื่อช่วยบรรเทาภาระค่าครองชีพของ ประชาชน การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 1,019,463.5 ล้านบาท4 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 10.7 ประกอบด้วย การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไปพลางก่อน จานวน 910,162.6 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของ ปีงบประมาณก่อนร้อยละ 7.3 จาแนกเป็น (1) รายจ่ายประจา จานวน 859,103.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.05 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 31.0 เทียบกับร้อยละ 33.4 ในไตรมาส เดียวกันของปีก่อน และ (2) รายจ่ายลงทุน จานวน 51,059.4 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 58.6 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 7.2 เทียบกับร้อยละ 20.1 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากความล่าช้า ของการประกาศใช้พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2567 การจัดเก็บรายได้รัฐบาล สุทธิในไตรมาสแรกของ ปีงบประมาณ 2567 ลดลงร้อยละ 2.6 4 การใช้จ่ายของรัฐบาลจาก (1) งบประมาณรายจ่ายประจาปี (2) งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี (3) งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ไม่นับรวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และ รายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี และ (4) เงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 พ.ศ. 2563 - 2564 วงเงิน 1.5 ล้านล้านบาท 5 วงเงินงบลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 6,118.8 ล้านบาท การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสแรกของ ปีงบประมาณ 2567 ลดลงร้อยละ 10.7 เนื่องจากความล่าช้า ในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจาปี ขณะที่การเบิกจ่ายงบลงทุน รัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.7 ด้านการคลัง -40 -20 0 20 40 60 80 100 -400,000 -200,000 0 200,000 400,000 600,000 800,000 1,000,000 1,200,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ล้านบาท ร้อยละ ที่มา: ระบบ GFMIS ณ วันที่ มกราคม การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี รายจ่ายลงทุน แกนซ้าย รายจ่ายประจา แกนซ้าย อัตราการขยายตัวของการเบิกจ่ายรวม แกนขวา 0 10 20 30 40 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1* ร้อยละ ที่มา: ระบบ GFMIS ณ วันที่ มกราคม *หมายเหตุ : วงเงินงบประมาณรายจ่ายตามร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 53,621.2 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 9.0 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 33.5 สาหรับการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (ไม่นับรวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)) จานวน 61,681 ล้านบาท5 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้าร้อยละ 9.7 โดยเป็นผลมาจากการเบิกจ่ายของ การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน) การประปานครหลวง และบริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จากัด ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจที่มีมูลค่าการเบิกจ่ายสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การรถไฟแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย และการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้พระราชกาหนดให้ อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจาก การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (พ.ร.ก. กู้เงินฯ วงเงิน 1.5 ล้านล้านบาท) จานวน 117.4 ล้านบาท กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 21 Economic Outlook NESDC หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2566 หนี้สาธารณะคงค้างทั้งสิ้น 11,084,577.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 61.3 ของ GDP เทียบกับร้อยละ 62.4 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 61.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยหนี้สาธารณะคงค้างในไตรมาสนี้ ประกอบด้วย เงินกู้ภายในประเทศ 10,929,775.0 ล้านบาท (ร้อยละ 98.6 ของหนี้สาธารณะคงค้าง) และเงินกู้จากต่างประเทศ 154,802.1 ล้านบาท (ร้อยละ 1.4 ของ หนี้สาธารณะคงค้าง) ฐานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2566 มีจานวนทั้งสิ้น 209,616 ล้านบาท ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2566 หนี้สาธารณะคงค้าง อยู่ที่ร้อยละ 61.3 ของ GDP 0 10 20 30 40 50 60 70 0 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 12,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 พันล้านบาท ร้อยละ ที่มา: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะคงค้าง หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ หนี้สาธารณะคงค้าง ต่อ GDP (แกนขวา 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 300,000 350,000 400,000 0 100,000 200,000 300,000 400,000 500,000 600,000 700,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ที่มา: กระทรวงการคลัง สถานะเงินคงคลัง สถานะเงินคงคลัง ณ สิ้นงวด แกนซ้าย กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล แกนขวา ล้านบาท ล้านบาท ภาวะการเงิน อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยทรงตัวที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในการประชุมครั้งที่ 6/2566 วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ ร้อยละ 2.50 ต่อปี เนื่องจาก กนง. เห็นว่า การคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายเหมาะสมกับบริบทของเศรษฐกิจที่กาลังทยอยฟื้นตัวกลับสู่ระดับศักยภาพ ประกอบ กับแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อในระยะถัดไปที่อาจปรับตัวสูงขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและแรงกดดันด้านอุปทาน จากปรากฏการณ์เอลนีโญ ทั้งนี้ การดาเนินนโยบายการเงินของไทยสอดคล้องกับธนาคารกลางของประเทศ เศรษฐกิจหลัก อาทิ สหรัฐฯ แคนาดา สหภาพยุโรป และอังกฤษ ที่ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูง ต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า เช่นเดียวกับธนาคารกลางของหลายประเทศในภูมิภาคเอเชีย อาทิ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย เวียดนาม และมาเลเซีย ที่คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่อง รวมทั้งธนาคารกลางจีนที่ยังคงอัตราดอกเบี้ย นโยบายควบคู่ไปกับการอัดฉีดสภาพคล่องเข้าสู่ระบบสูงสุดในรอบ 7 ปี เพื่อเป็นการสนับสนุนการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจภายในประเทศและป้องกันเข้าสู่ภาวะเงินฝืด ขณะที่ธนาคารกลางรัสเซียและอินโดนีเซียปรับขึ้นอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพค่าเงินที่ปรับตัวอ่อนค่าลง เช่นเดียวกับธนาคารกลางฟิลิปปินส์ และออสเตรเลียที่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อควบคุมเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น ฐานะการคลัง ในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 341,079 ล้านบาท เมื่อรวมกับการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ 8,361 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 20,000 ล้านบาท รัฐบาลขาดดุลเงินสดสุทธิ 329,440 ล้านบาท โดยเมื่อรวมกับเงินคงคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่สี่ของ ปีงบประมาณ 2566 จานวน 539,056 ล้านบาท ส่งผลให้ฐานะเงินคงคลัง ณ ไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2567 (หรือสิ้นเดือนธันวาคม 2566) มีจานวนทั้งสิ้น 209,616 ล้านบาท ธนาคารแห่งประเทศไทย คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ไว้ที่ระดับเดิม สอดคล้อง กับธนาคารกลางส่วนใหญ่ ของประเทศต่าง ๆ 22 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 NESDC Economic Outlook ทั้งปี 2566 กนง. ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 จานวน 5 ครั้ง รวมร้อยละ 1.25 ต่อปี เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้เข้าสู่กรอบเป้าหมาย และรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงิน ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพิ่มสูงขึ้นจากร้อยละ 1.25 ณ สิ้นปี 2565 เป็นร้อยละ 2.50 ณ สิ้นปี 2566 ในเดือนมกราคม 2567 คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในการประชุมเมื่อวันที่ 30 - 31 มกราคม 2567 มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 5.25 - 5.50 ต่อปี และส่งสัญญาณว่าจะยังไม่มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระยะอันใกล้จนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะปรับเข้าสู่เป้าหมาย ด้านธนาคารกลางยุโรปในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินวันที่ 25 มกราคม 2567 มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 4.50 ต่อปี ขณะที่ประเทศไทย ล่าสุด ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2567 กนง. มีมติ 5 ต่อ 2 ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี ธนาคารพาณิชย์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ ด้าน SFIs ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก แต่คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (ร้อยละ) ณ สิ้นงวด 2565 2566 2567 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. สหรัฐฯ 4.25-4.50 0.25-0.50 1.50-1.75 3.00-3.25 4.25-4.50 5.25-5.50 4.75-5.00 5.00-5.25 5.25-5.50 5.25-5.50 5.25-5.50 5.25-5.50 5.25-5.50 5.25-5.50 5.25-5.50 สหภาพยุโรป 2.50 0.00 0.00 1.25 2.50 4.50 3.50 4.00 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 อังกฤษ 3.50 0.75 1.25 2.25 3.50 5.25 4.25 5.00 5.25 5.25 5.25 5.25 5.25 5.25 5.25 แคนาดา 4.25 0.50 1.50 3.25 4.25 5.00 4.50 4.75 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 ไทย 1.25 0.50 0.50 1.00 1.25 2.50 1.75 2.00 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 รัสเซีย 7.50 20.00 9.50 7.50 7.50 16.00 7.50 7.50 13.00 16.00 15.00 15.00 16.00 16.00 16.00 อินโดนีเซีย 5.50 3.50 3.50 4.25 5.50 6.00 5.75 5.75 5.75 6.00 6.00 6.00 6.00 6.00 6.00 จีน 3.65 3.70 3.70 3.65 3.65 3.45 3.65 3.55 3.45 3.45 3.45 3.45 3.45 3.45 3.45 บราซิล 13.75 11.75 13.25 13.75 13.75 11.75 13.75 13.75 12.75 11.75 12.75 12.25 11.75 11.75 11.75 ญี่ปุ่น -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 ฟิลิปปินส์ 6.00 2.50 3.00 4.25 6.00 7.00 6.75 6.75 6.75 7.00 7.00 7.00 7.00 7.00 7.00 เกาหลีใต้ 3.25 1.25 1.75 2.50 3.25 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 อินเดีย 6.25 4.00 4.90 5.90 6.25 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 ออสเตรเลีย 3.10 0.10 0.85 2.35 3.10 4.35 3.60 4.10 4.10 4.35 4.10 4.35 4.35 4.35 4.35 นิวซีแลนด์ 4.25 1.00 2.00 3.00 4.25 5.50 4.75 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 เวียดนาม 4.50 2.50 2.50 3.50 4.50 3.00 3.50 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 มาเลเซีย 2.75 1.75 2.00 2.50 2.75 3.00 2.75 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 ที่มา: รวบรวมโดย สศช. ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2567 อัตราดอกเบี้ยนโยบายทรงตัวจากไตรมาสก่อนหน้า แต่ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่และขนาดกลางปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ด้านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ แต่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ธนาคารพาณิชย์ขนาดกลาง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือน เป็นร้อยละ 1.65 ร้อยละ 1.58 และร้อยละ 1.77 เทียบกับร้อยละ 1.49 ร้อยละ 1.18 และร้อยละ 1.55 ต่อปี ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ นอกจากนี้ ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่และธนาคารพาณิชย์ขนาดกลางปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) จากร้อยละ 7.04 และร้อยละ 8.05 เป็นร้อยละ 7.25 และร้อยละ 8.30 ต่อปี ตามลาดับ ส่วนสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) คงอัตราดอกเบี้ย MLR ไว้ที่ร้อยละ 6.43 ต่อปี ทั้งนี้ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่แท้จริงเฉลี่ยทุกธนาคารเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 2.48 จากร้อยละ 1.13 ต่อปี ในไตรมาสก่อนหน้า เช่นเดียวกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่แท้จริงปรับเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 8.04 จากร้อยละ 6.76 ต่อปี ในไตรมาสที่แล้ว ตามอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นและอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง รวมทั้งปี 2566 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้เฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นรวมร้อยละ 0.79 และร้อยละ 1.35 ต่อปี ตามลาดับ (จากดอกเบี้ยเงินฝากร้อยละ 0.53 เป็นร้อยละ 1.32 ต่อปีและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ร้อยละ 5.83 เป็นร้อยละ 7.18 ต่อปี) ขณะที่ดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้เฉลี่ยของสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพิ่มขึ้นรวมร้อยละ 0.58 และร้อยละ 0.63 ต่อปี ตามลาดับ (จากดอกเบี้ยเงินฝากร้อยละ 0.86 เป็นร้อยละ 1.44 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ร้อยละ 5.59 เป็นร้อยละ 6.22 ต่อปี) ในเดือนมกราคม 2567 ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ที่ระดับเดิมจากเดือนธันวาคม 2566 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 23 Economic Outlook NESDC แนวโน้มการดาเนินนโยบายการเงินของประเทศต่าง ๆ 1 ดัชนีภาวะการเงิน (Financial Conditions Index: FCI) หมายถึง มาตรวัดความตึงตัวของภาคการเงินโดยรวม ซึ่งรวมถึงการปรับตัวของราคาหลักทรัพย์ ความผันผวนใน ตลาด และภาวะกดดันที่เกิดจากส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยตราสารหนี้เอกชนที่เพิ่มขึ้น ในกรณีที่ดัชนีมีค่ามากกว่า 0 แสดงว่า ภาวะการเงินโดยรวมมีความตึงตัว และหากดัชนีมี ค่าน้อยกว่า 0 แสดงถึง ภาวะการเงินโดยรวมมีความผ่อนคลาย ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา การดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางแต่ละประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากการลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อ บรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ไปสู่การขึ้นอัตราดอกเบี้ยอย่างรวดเร็วเพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง ท่ามกลางทิศทาง การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน สาหรับในปี 2567 ทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินในหลายประเทศมีแนวโน้มที่จะเริ่มกลับเข้าสู่ ระดับปกติมากขึ้น เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อในหลาย ๆ ประเทศเริ่มผ่อนคลายลงและเคลื่อนไหวกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมาย ซึ่งสอดคล้องกับ ดัชนีภาวะการเงิน (Financial Conditions Index)1 ที่จัดทาและเผยแพร่โดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) จากข้อมูลในช่วงปี พ.ศ. 2562 ถึง 2566 พบว่าดัชนีดังกล่าวในประเทศเศรษฐกิจหลักปรับตัวลดลง โดยเฉพาะในอเมริกาและ ยุโรป เนื่องจากนักลงทุนคาดการณ์ว่านโยบายการเงินในระยะถัดไปจะมีความผ่อนคลายลง ในขณะที่ประเทศอื่น ๆ เช่น จีน ดัชนีภาวะการ เงินยังคงในระดับสูงกว่า 0 สะท้อนถึงภาคการเงินที่ยังคงมีความตึงตัวอยู่ แม้ว่าจะมีการผ่อนคลายนโยบายการเงินก็ตาม เนื่องจากภาคการเงิน จีนยังคงเผชิญกับความเสี่ยงในภาคอสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้เกิดความผันผวนในตลาดเงินตลาดทุน ดังนั้น ในปี 2567 การดาเนินนโยบาย การเงินของประเทศต่าง ๆ อาจมีความแตกต่างกันมากขึ้นและจะส่งผลต่อแนวโน้มความผันผวนของภาคการเงินโดยรวมทั้งในมิติของเงินทุน เคลื่อนย้ายและอัตราแลกเปลี่ยน โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่ามกลางความไม่แน่นอนของปัจจัยความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ซึ่งถือเป็นปัจจัยเสี่ยง สาคัญที่อาจส่งผลต่อราคาพลังงานและทาให้อัตราเงินเฟ้อในระยะต่อไปเปลี่ยนแปลงจากที่คาดการณ์ ภายใต้แนวโน้มความเสี่ยงดังกล่าวจะ ส่งผลให้การประเมินทิศทางของเงินเฟ้อและสถานการณ์ของภาคการเงินเป็นไปได้ยากมากยิ่งขึ้น ดังนั้น การดาเนินนโยบายการเงินของแต่ละ ประเทศในระยะต่อไปจึงจาเป็นต้องเตรียมเครื่องมือในการดาเนินนโยบายเพื่อรับมือกับความไม่แน่นอนที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อเสริมให้นโยบา ย การเงินมีประสิทธิผลและสามารถยึดเหนี่ยวเงินเฟ้อคาดการณ์ให้อยู่ในกรอบของเป้าหมายนโยบายการเงิน 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 ม.ค. 53 ส.ค. 53 มี.ค. 54 ต.ค. 54 พ.ค. 55 ธ.ค. 55 ก.ค. 56 ก.พ. 57 ก.ย. 57 เม.ย. 58 พ.ย. 58 มิ.ย. 59 ม.ค. 60 ส.ค. 60 มี.ค. 61 ต.ค. 61 พ.ค. 62 ธ.ค. 62 ก.ค. 63 ก.พ. 64 ก.ย. 64 เม.ย. 65 พ.ย. 65 มิ.ย. 66 ร้อยละ อัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศเศรษฐกิจหลัก เทียบกับประเทศกาลังพัฒนาในเอเชีย Fed Fund Rate Upper Bound EU Other AE Countries Exc. Japan Asia EM Countries Exc. China -2.0 -1.0 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 ร้อยละ การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยนโยบายในปี 2565 ? 2566 (เทียบสิ้นปีต่อสิ้นปี) 2566 2565 ที่มา: CEIC ที่มา: CEIC และ IMF -2.0 -1.0 0.0 1.0 2.0 3.0 Q1-2562 Q2-2562 Q3-2562 Q4-2562 Q1-2563 Q2-2563 Q3-2563 Q4-2563 Q1-2564 Q2-2564 Q3-2564 Q4-2564 Q1-2565 Q2-2565 Q3-2565 Q4-2565 Q1-2566 Q2-2566 Q3-2566 Q4-2566 ดัชนี ดัชนีภาวะการเงิน (Financial Conditions Index: FCI) สหรัฐฯ ยุโรป จีน ประเทศพัฒนาแล้วอื่นๆ ประเทศกาลังพัฒนา ยกเว้นจีน ผ่อนคลาย ตึงตัว ระดับของอัตราเงินเฟ้อในประเทศต่าง ๆ ระหว่างปี 2565 ถึง 2566 ประเทศพัฒนาแล้ว สหรัฐฯ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น ยุโรป อังก ษ ประเทศกาลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ จีน เกาหลีใต้ อินเดีย ไทย ม.ค. 65 ก.พ. 65 มี.ค. 65 เม.ย. 65 พ.ค. 65 มิ.ย. 65 ก.ค. 65 ส.ค. 65 ก.ย. 65 ต.ค. 65 พ.ย. 65 ธ.ค. 65 ม.ค. 66 ก.พ. 66 มี.ค. 66 เม.ย. 66 พ.ค. 66 มิ.ย. 66 ก.ค. 66 ส.ค. 66 ก.ย. 66 ต.ค. 66 พ.ย. 66 ธ.ค. 66 ต่ากว่ากรอบเป้าหมาย สูงกว่ากรอบเป้าหมาย กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 24 Economic Outlook NESDC สินเชื่อคงค้างภาคเอกชน ของสถาบันรับฝากเงิน ขยายตัวตามการปรับตัว ดีขึ้นของสินเชื่อธนาคาร พาณิชย์ และการขยายตัว ของสินเชื่อสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ ณ สิ้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวร้อยละ 1.5 เร่งขึ้นจาก การขยายตัวร้อยละ 1.0 ในไตรมาสที่แล้ว ตามการปรับตัวดีขึ้นของสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ และการขยายตัว ของสินเชื่อของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนในระบบธนาคารพาณิชย์ลดลงร้อยละ 0.2 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อภาคธุรกิจลดลงร้อยละ 1.2 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 1.7 ในไตรมาส ก่อนหน้า ตามสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ที่ยังขยายตัวได้ดี ในสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการก่อสร้าง และสาขากิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ ขณะที่สินเชื่อธุรกิจ SMEs ยังคงลดลงต่อเนื่อง โดยเฉพาะสาขาการผลิต สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ และสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร เนื่องจาก (1) ธนาคารเพิ่มความระมัดระวังในการให้สินเชื่อ โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) (2) ต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้น และ (3) การชาระคืนสินเชื่อของผู้ประกอบการที่ได้รับสินเชื่อดอกเบี้ยต่าในช่วง โควิด-19 สาหรับสินเชื่อภาคครัวเรือน ขยายตัวร้อยละ 1.0 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยและสินเชื่อเพื่อการบริโภคส่วนบุคคล ขณะที่สินเชื่อภาคเอกชนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 5.1 เร่งขึ้น จากการขยายตัวร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเร่งตัวขึ้นของทั้งสินเชื่อภาคธุรกิจและสินเชื่อ ครัวเรือน ร้อยละ 12.4 และร้อยละ 5.1 ตามลาดับ เทียบกับร้อยละ 12.1 และร้อยละ 3.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ โดยส่วนหนึ่งเป็นผลจากอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับต่ากว่าธนาคารพาณิชย์ ผลการดาเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทยเฉลี่ย ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ธนาคารพาณิชย์มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20.50 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.02 ในไตรมาสก่อนหน้า และมีรายจ่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.73 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.19 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่รายได้ดอกเบี้ยสุทธิต่อสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด รายได้ดอกเบี้ยเฉลี่ย (NIM) อยู่ที่ร้อยละ 3.20 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.18 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 2.81 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ค่าเงินบาทเทียบกับ ดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลง จากไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับค่าเงินสกุล อื่นในภูมิภาค -4 -2 0 2 4 6 8 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 %YOY %YOY สินเชื่อภาคเอกชน รวมดอกเบี้ยค้างรับ ของธนาคารพาณิชย์ ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า สินเชื่อภาคเอกชน รวมดอกเบี้ยค้างรับ สินเชื่อธุรกิจ แกนขวา สินเชื่อครัวเรือน แกนขวา ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 35.67 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 1.39 จากค่าเฉลี่ย 35.18 บาทต่อ ดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับทิศทางค่าเงินของประเทศในภูมิภาคและการแข็งค่าขึ้นของ ดัชนีดอลลาร์ สรอ. (Dollar Index) ภายหลังเกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและกลุ่มฮามาส ส่งผลให้นักลงทุนเพิ่มการถือครองสินทรัพย์ปลอดภัยและกดดันให้ค่าเงินบาทรวมทั้งค่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อ่อนค่าลงอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ดี ค่าเงินบาทกลับมาเคลื่อนไหวแข็งค่าขึ้นในช่วงสองเดือนสุดท้ายของไตรมาส เช่นเดียวกับค่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค โดยเฉพาะหลังธนาคารกลางสหรัฐฯ ส่งสัญญาณยุติการปรับขึ้นอัตรา ดอกเบี้ย พร้อมส่งสัญญาณแนวโน้มการลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในปี 2567 สาหรับค่าเงินสกุลอื่นในภูมิภาค เมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจากไตรมาสก่อนหน้าในทิศทางเดียวกับค่าเงินบาท มีเพียงค่าเงิน ของจีนและฮ่องกงที่แข็งค่าขึ้น ขณะที่ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 119.21 ปรับลดลงร้อยละ 0.53 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า 0 2 4 6 8 10 12 14 16 0 1 2 3 4 5 6 7 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 %YOY %YOY สินเชื่อภาคเอกชน รวมดอกเบี้ยค้างรับ ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า สินเชื่อภาคเอกชน รวมดอกเบี้ยค้างรับ สินเชื่อธุรกิจ แกนขวา สินเชื่อครัวเรือน แกนขวา ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 25 Economic Outlook NESDC รวมทั้งปี 2566 ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 32.69 - 37.14 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. (ค่าเฉลี่ย 34.81 บาทต่อดอลลาร์ สรอ.) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.74 (ปี 2565 ค่าเฉลี่ย 35.07 บาทต่อดอลลาร์ สรอ.) ในเดือนมกราคม 2567 ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 35.18 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 0.60 สอดคล้องกับ ค่าเงินดอลลาร์ สรอ. ที่แข็งค่าขึ้น ภายหลังธนาคารกลางสหรัฐฯ ส่งสัญญาณว่าจะยังไม่ปรับลดอัตราดอกเบี้ย หากอัตราเงินเฟ้อยังไม่สามารถกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายได้อย่างมีเสถียรภาพ ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ ปรับลดลงมากที่สุด ในภูมิภาค รองจากจีนและ ฮ่องกง จากการขายสุทธิ ของนักลงทุนต่างชาติ ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) ปรับตัวลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ณ สิ้นไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,415.85 จุด ลดลงร้อยละ 3.8 จากไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสาคัญมา จากการขายสุทธิของนักลงทุนต่างชาติ คิดเป็นมูลค่า 35.3 พันล้านบาท ต่อเนื่องจากการขายสุทธิ 50.0 พันล้านบาทในไตรมาสที่แล้ว ทั้งนี้ กลุ่มธุรกิจที่ดัชนีฯ ปรับตัวลดลง 5 อันดับแรก ได้แก่ ธุรกิจการเงิน (ลดลง ร้อยละ 21.9) ธุรกิจบริการ (ลดลงร้อยละ 7.4) สินค้าอุปโภคบริโภค (ลดลงร้อยละ 6.5) สินค้าอุตสาหกรรม (ลดลงร้อยละ 2.9) และทรัพยากร (ลดลงร้อยละ 1.8) ขณะที่กลุ่มธุรกิจที่ดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย ธุรกิจเทคโนโลยี (เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7) และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง (เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2) อย่างไรก็ดี ดัชนีหลักทรัพย์ของหลายประเทศส่วนใหญ่ทั้งประเทศเศรษฐกิจหลักและประเทศในภูมิภาคปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสก่อนหน้า ยกเว้น จีนและฮ่องกงที่ดัชนีลดลงร้อยละ 7.0 และ ร้อยละ 4.3 ตามลาดับ รวมทั้งปี 2566 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,415.85 จุด ลดลง 252.81 จุด จากปี 2565 หรือคิดเป็นร้อยละ 15.2 โดยนักลงทุนต่างชาติขายสุทธิ 192.5 พันล้านบาท ขณะที่นักลงทุนในประเทศและนักลงทุนสถาบันซื้อสุทธิ 198.1 พันล้านบาท ในเดือนมกราคม 2567 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์อยู่ที่ 1,364.52 จุด ลดลงจาก ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2566 ร้อยละ 3.6 สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ส่วนใหญ่ทั่วโลก ภายหลังการรายงานข้อมูล เศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่แสดงถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง ทานักลงทุนคาดการณ์ว่าการปรับลดอัตรา ดอกเบี้ยของธนาคารสหรัฐฯ จะล่าช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม 29.0 30.0 31.0 32.0 33.0 34.0 35.0 36.0 37.0 38.0 95 39.0 100 105 110 115 120 125 130 ม ค เม ย ก ค ต ค ม ค เม ย ก ค ต ค ม ค เม ย ก ค ต ค ม ค เม ย ก ค ต ค ม ค เม ย ก ค ต ค ม ค เม ย ก ค ต ค ม ค ดัชนี NEER REER บาท ดอลลาร์ สรอ แกนขวา บาท ดอลลาร์ สรอ เงินบาทอ่อนค่าลงจากไตรมาสก่อนหน้า ที่มา: CEIC, ธนาคารแห่งประเทศไทย -0.41 -0.14 0.08 0.24 0.44 0.45 0.74 0.75 1.40 1.55 2.28 2.73 จีน ฮ่องกง สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ไต้หวัน อินเดีย เกาหลีใต้ ไทย มาเลเซีย ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินประเทศต่าง ๆ เทียบกับค่าเงิน ดอลลาร์ สรอ เฉลี่ยในไตรมาสที่ ของปี (เทียบกับ ไตรมาสก่อนหน้า) ที่มา: CEIC อ่อนค่า 1000 1200 1400 1600 1800 2000 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 90,000 100,000 110,000 ล้านบาท ดัชนี Value SET Index (RHS) ดัชนีหลักทรัพย์และมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยต่อวันปรับลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ที่มา: SET 85 90 95 100 105 110 115 ต ค พ ย ธ ค ม ค Index (ณ สิ้นเดือน ก ย = 100) การเคลื่อนไหวของดัชนีหลักทรัพย์ไทยและต่างประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ ปี S&P500,US SENSEX,India KOSPI,South Korea JKSE,Indonesia PSEi,Philipines Hang Seng,Hong Kong CSI300,China SET,Thailand KLCI,Malaysia : CEIC 26 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 NESDC Economic Outlook เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกสุทธิ จากการนาเงินออกไปลงทุนโดยตรงของนักลงทุนไทยและการขายสุทธิ ในหลักทรัพย์และ ตราสารหนี้ของนักลงทุนต่างชาติ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยปรับตัวลดลง ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลปรับลดลงทุกช่วงอายุ สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาพันธบัตรรัฐบาล โดยนักลงทุนต่างชาติ ซื้อสุทธิในตลาดตราสารหนี้ 3.7 พันล้านบาท เทียบกับการขายสุทธิ 66.9 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ การเคลื่อนไหวของเส้นอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยสอดคล้องกับการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของสหรัฐฯ ที่ปรับตัวลดลงจากการส่งสัญญาณของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในการยุติ การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ส่งผลให้ ณ สิ้นไตรมาสสี่ของปี 2566 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยอายุ 2 ปี และ 10 ปีอยู่ที่ร้อยละ 2.34 ต่อปี และร้อยละ 2.70 ต่อปี ลดลงจากร้อยละ 2.54 ต่อปี และร้อยละ 3.18 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ทั้งนี้ ภาคเอกชนมีการระดมทุนใหม่ผ่านตลาดตราสารหนี้มีมูลค่าทั้งสิ้น 446.6 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 436.2 พันล้านบาทไตรมาสก่อนหน้า โดยส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนของกลุ่มเงินทุนและหลักทรัพย์ กลุ่มอสังหาริมทรัพย์ และกลุ่มพลังงาน รวมทั้งปี 2566 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลช่วงอายุน้อยกว่า 10 ปี ปรับเพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2565 โดยเฉพาะผลตอบแทนพันธบัตรที่อายุน้อยกว่า 1 ปี สอดคล้องกับการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปีขึ้นไป ปรับลดลงจากสิ้นปี 2565 ในเดือนมกราคม 2567 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเคลื่อนไหวผันผวน โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุน้อยกว่า 1 ปีปรับเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุมากกว่า 1 ปี ส่วนใหญ่ลดลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผลจากความไม่แน่นอนในการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ เงินทุนเคลื่อนย้าย ในไตรมาสสามของปี 2566 เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกสุทธิ 4.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการไหลออกสุทธิ 4.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลจากการนาเงินออกไปลงทุนโดยตรงของนักลงทุนไทยและการขายสุทธิในหลักทรัพย์และตราสารหนี้ของไทยโดยนักลงทุนต่างชาติ อย่างไรก็ดี ในไตรมาสที่สามของปี 2566 การลงทุนโดยตรงของนักลงทุนต่างชาติเพิ่มขึ้นเป็น 1.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับ 0.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล ปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุ เงินทุนเคลื่อนย้าย (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) 2564 2565 2566 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 - การลงทุนโดยตรง -4.5 2.3 -1.4 -1.4 -4.0 3.7 2.7 -0.6 0.1 1.5 0.0 -2.2 -1.1 นักลงทุนไทย -19.1 -3.5 -3.0 -4.6 -8.0 -7.5 -3.8 -1.1 -1.9 -0.7 -2.8 -2.4 -2.5 นักลงทุนต่างชาติ 14.6 5.8 1.6 3.2 4.0 11.2 6.5 0.5 2.0 2.2 2.8 0.2 1.4 - การลงทุนในหลักทรัพย์ -11.9 -10.0 -3.8 0.0 1.9 5.8 2.6 1.8 -0.7 2.0 -5.8 -1.4 -4.3 นักลงทุนไทย -16.8 -10.4 -3.7 -0.2 -2.5 -2.4 -1.3 1.0 -0.3 -1.8 -3.0 1.7 -0.9 นักลงทุนต่างชาติ 4.9 0.4 -0.1 0.2 4.4 8.2 3.9 0.8 -0.4 3.8 -2.8 -3.1 -3.5 อื่น ๆ 10.4 1.0 2.5 4.0 2.9 -2.9 -0.7 -2.6 -1.3 1.8 5.0 -0.7 0.6 เงินทุนเคลื่อนย้าย -6.0 -6.7 -2.7 2.6 0.8 6.6 4.6 -1.4 -1.9 5.3 -0.8 -4.3 -4.8 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลในไตรมาสที่ ปรับลดลงทุกช่วงอายุที่มา: ThaiBMA0.01.02.03.04.01M6M2Y4Y6Y8Y10Y12Y14Y16Y18Y20Y22Y24Y26Y28Yร้อยละ Q3/2566Q4/2566ม ค กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 27 Economic Outlook NESDC การลงทุนเพื่อความยั่งยืน (Sustainable Investment) 1 ต่อมาในปี 2566 เปลี่ยนชื่อเป็น SET ESG Rating 2 ประกอบด้วย 1) THAI Equity CG Fund 2) CG Fund 3) ESG Fund และ 4) Thai ESG จากข้อมูลในรายงาน Global Sustainable Fund Flows ของ Morningstar ระบุว่า ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 กองทุน ESG ทั่วโลก มีจานวนรวม ทั้งสิ้น 7,485 กองทุน และมีมูลค่าสินทรัพย์ 2,967 พันล้านดอลลาร์ สรอ. โดยกองทุนส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ 73 เป็นกองทุนในภูมิภาคยุโรป และ มีมูลค่าสินทรัพย์มากที่สุด รองลงมาเป็น สหรัฐฯ และเอเชีย (ไม่รวมญี่ปุ่น) ตามลาดับ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณากระแสเงินลงทุนในกองทุน ESG ทั่วโลก พบว่า ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 เงินลงทุนในกองทุน ESG ไหลออกสุทธิ 2.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ซึ่งเป็นผลจากการไหลออกสุทธิของเงินลงทุนในสหรัฐฯ เนื่องจากสินทรัพย์อื่น เช่น พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ มีผลตอบแทนที่ดึงดูด ผู้ลงทุนมากกว่า อย่างไรก็ดี พบว่ายังคงมีเงินลงทุนสุทธิในกองทุน ESG ของ ยุโรป ขณะที่กองทุนทั่วไป (Conventional Funds) พบว่า มีการไหลออกของ เงินลงทุน ในช่วงที่ธนาคารกลางยุโรปเริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย สะท้อนให้เห็นว่า การลงทุนในกองทุน ESG มีความผันผวนน้อยกว่าการลงทุนในกองทุนทั่วไป สาหรับประเทศไทย เริ่มปรับใช้แนวคิดด้านการลงทุนอย่างยั่งยืนอย่าง เป็นทางการในช่วงปี 2558 โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ได้จัดทา รายชื่อหุ้นยั่งยืน (Thailand Sustainability Investment: THSI)1 เพื่อเป็นข้อมูล ประกอบการตัดสินใจลงทุนของนักลงทุน โดยปัจจุบันมี 193 บริษัทที่ได้รับ การจัดกลุ่มอยู่ในรายชื่อหุ้นยั่งยืน ขณะที่ตลาดตราสารหนี้ ได้เริ่มมีหลักเกณฑ์ การออกและเสนอขายตราสารหนเ พอื่ ความยงั่ ยนื หรอื ESG Bond ครงั้ แรกในไทย ปี 2562 โดยข้อมูลล่าสุดจาก Climate Bond Initiative ระบุว่าในปี 2565 ประเทศ ไทยมีการออกตราสารหนี้ ESG Bond รวมทั้งหมด 8,431.4 ล้านดอลลาร์ สรอ. เช่นเดียวกับข้อมูลกองทุนรวมจากสมาคมบริษัทจัดการการลงทุน (AIMC) ที่พบว่า เริ่มมีการจัดตั้งกองทุน ESG ในปี 2560 และได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยในไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 กองทุนที่เกี่ยวข้องกับ ESG ของไทย2 มีมูลค่า 71.78 พนั ลา นบาท เพมิ่ ขนึ้ จาก 28.23 พนั ลา นบาท ในปี 2560 มูลค่าสินทรัพย์ จานวนกองทุน และกระแสเงินลงทุนในกองทุน ESG ของประเทศต่าง ๆ ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 ภูมิภาค กระแสเงินลงทุน (พันล้านเหรียญ สรอ.) มูลค่าสินทรัพย์ จานวนกองทุน พันล้านดอลลาร์ สรอ. ร้อยละ กอง ร้อยละ ยุโรป 3.3 2,492 84 5,433 73 สหรัฐฯ -5.1 324 11 647 9 เอเชีย (ไม่รวมญี่ปุ่น) 0.1 62 2 595 8 ออสเตรเลียและ นิวซีแลนด์ 0.6 33 1 263 4 ญี่ปุ่น -1.2 25 1 235 3 แคนาดา -0.2 31 1 312 4 รวม -2.5 2,967 100 7,485 100 ที่มา: Global Sustainable Fund Flows: Q4 2023, Morningstar -150 -100 -50 0 50 100 150 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 2564 2565 2566 กองทุนเพื่อความยั่งยืน กองทุนทั่วไป ที่มา: Global Sustainable Fund Flows: Q4 2023, Morningstar พันล้านเหรียญ สรอ. กระแสเงินลงทุนสุทธิของกองทุน ESG และกองทุนทั่วไป ในภูมิภาคยุโรป 404.30 421.05 332.35 265.40 45.66 54.73 0.00 5.27 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 2565 2566 กองทุนรวม RMF กองทุนรวม LTF กองทุนรวม SSF กองทุนรวม TESG ที่มา: สมาคมบริษัทจัดการการลงทุน (AIMC) มูลค่าทรัพย์สินสุทธิกองทุนรวม RMF กองทุนรวม LTF และกองทุนรวม TESG พันล้านบาท 397.06 421.05 260.73 265.40 49.16 54.73 0.00 5.27 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 Nov-66 Dec-66 กองทุนรวม RMF กองทุนรวม LTF กองทุนรวม SSF กองทุนรวม TESG มูลค่าทรัพย์สินสุทธิกองทุนรวม RMF กองทุนรวม LTF และกองทุนรวม TESG เทียบกับเดือน พ.ย. 66 พันล้านบาท ที่มา: สมาคมบริษัทจัดการการลงทุน (AIMC) 0 10 20 30 40 50 60 70 80 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 62 63 64 65 66 พันล้านบาท กองทุนที่เกี่ยวข้องกับ ESG ของไทย THAI Equity CG Fund CG Fund ESG Fund Thai ESG ที่มา: สมาคมบริษัทจัดการการลงทุน (AIMC) เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2566 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย โดยให้สิทธิประโยชน์ ทางภาษีสาหรับการซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวม Thai ESG ที่มีนโยบายให้ลงทุนในหุ้นและตราสารหนี้ในประเทศไทยที่ดาเนินธุรกิจตามหลัก ESG เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการออมและการลงทุนระยะยาว โดยบริษัทหลักทรัพย์ต่าง ๆ ได้เสนอขายหน่วยลงทุนกองทุน Thai ESG เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2566 ที่ผ่านมา โดยข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 9 มกราคม 2567 มีกองทุน Thai ESG ทั้งหมด 30 กองทุน มูลค่าการระดมทุน 5.27 พันล้านบาท ขณะที่กองทุน รวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และกองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) ซึ่งสามารถลงทุนในสินทรัพย์ที่หลากหลายมากกว่า และได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีเช่นกัน มีมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ (NAV) ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2566 ที่ 421.04 พันล้านบาท และ 54.73 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 404.30 พันล้านบาท และ 45.66 พันล้านบาท ในปี 2565 ตามลาดับ นอกจากนี้ มูลค่า NAV ของกองทุนรวม Thai ESG พบว่ามีสัดส่วนเพียงร้อยละ 1.4 ของสินทรัพย์สุทธิกองทุนที่เกี่ยวข้อง กับ ESG ของไทยทั้งหมด ดังนั้น ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเร่งติดตาม ส่งเสริม และสนับสนุนการลงทุนยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลักดันให้ ประชาชนมีการออมและการลงทุนระยะยาว และยังเป็นการสนับสนุนให้ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งรัฐและเอกชนดาเนินกิจกรรมที่คานึงถึงประเด็น ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment: E) สังคม (Social: S) และด้านธรรมาภิบาล (Governance: G) มากขึ้น เพื่อเป็นกลไกที่สาคัญในการส่งเสริม ให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตได้อย่างยั่งยืน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 28 Economic Outlook NESDC ดัชนีราคาผู้ผลิตลดลง ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 1.8 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลง ร้อยละ 0.5 โดยลดลง ครั้งแรกในรอบ 11 ไตรมาส ตามการลดลงของหมวด อาหารและเครื่องดื่มไม่มี แอลกอฮอล์ และหมวดที่ มิใช่อาหารและเครื่องดื่ม สอดคล้องกับการลดลงของ ราคากลุ่มพลังงาน เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2566 อยู่ที่ 224.5 พันล้าน ดอลลาร์ สรอ. ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ต่อเนื่อง ตามการเกินดุล การค้า ขณะที่ดุลบริการ และรายได้ยังขาดดุล ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 1.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (53.9 พันล้านบาท) ต่ากว่าการเกินดุล 2.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (94.1 พันล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า แต่เพิ่มขึ้น จากการเกินดุล 0.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (26.3 พันล้านบาท) ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลมาจาก การเกินดุลการค้า 3.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ต่ากว่าการเกินดุล 4.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของ ปีก่อน) ขณะที่ดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิขาดดุล 1.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. และเป็นการขาดดุล ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 15 (ต่ากว่าการขาดดุล 3.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน) รวมทั้งปี 2566 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 6.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (235.8 พันล้านบาท) เทียบกับการขาดดุล 15.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (551.3 พันล้านบาท) ในปี 2565 เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2566 อยู่ที่ 224.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นจาก 216.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2565 เมื่อคิดในรูปเงินบาท เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือน ธันวาคม 2566 อยู่ที่ 7,677.3 พันล้านบาท สูงกว่า 7,483.6 พันล้านบาท ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2565 อัตราเงินเฟ้อ ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลงร้อยละ 0.5 เป็นการลดลงครั้งแรกในรอบ 11 ไตรมาส เนื่องจากดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ลดลงร้อยละ 0.4 เทียบกับ การเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของดัชนีราคาเนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ และ เครื่องประกอบอาหารร้อยละ 17.3 ร้อยละ 0.6 และร้อยละ 0.5 เป็นสาคัญ ส่วนดัชนีราคาหมวดที่มิใช่อาหาร และเครื่องดื่มลดลงร้อยละ 0.7 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อน สอดคล้องกับการลดลง ของดัชนีราคากลุ่มพลังงานร้อยละ 3.7 เนื่องจากมาตรการลดค่าครองชีพของรัฐบาล ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.6 ชะลอตัวจากร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า รวมทั้งปี 2566 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.2 และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 1.3 เทียบกับ ร้อยละ 6.1 และร้อยละ 2.5 ตามลาดับ ในปี 2565 ในเดือนมกราคม 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลงร้อยละ 1.1 ตามการลดลงของดัชนีราคาเนื้อสัตว์ ผักและ ผลไม้ และดัชนีราคากลุ่มพลังงาน ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.5 ดัชนีราคาผู้ผลิต ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ดัชนีราคาผู้ผลิตลดลงร้อยละ 1.8 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 จากการ ลดลงร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อน ตามการลดลงของดัชนีราคาเกือบทุกหมวดสินค้า โดยดัชนีราคาหมวด ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ลดลงร้อยละ 0.3 สอดคล้องกับการลดลงของราคาในกลุ่มสินค้าสาคัญ โดยผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี โลหะขั้นมูลฐาน และผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์และ อิเล็กทรอนิกส์ลดลงร้อยละ 7.5 ร้อยละ 4.2 ร้อยละ 3.1 และร้อยละ 1.4 ตามลาดับ หมวดผลิตภัณฑ์จากเหมือง ลดลงร้อยละ 30.7 ตามการลดลงของดัชนีราคากลุ่มปิโตรเลียมดิบและกาซธรรมชาติร้อยละ 35.0 ขณะที่ หมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 เป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส รวมทั้งปี 2566 ดัชนีราคาผู้ผลิตเฉลี่ยปรับตัวลดลงร้อยละ 2.4 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 ในปี 2565 ในเดือนมกราคม 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 โดยดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและ หมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมงเพิ่มขึ้น ขณะที่ดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์จากเหมืองลดลง -15,000 -10,000 -5,000 0 5,000 10,000 15,000 20,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 ล้านดอลลาร์ สรอ ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการค้า และดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการค้า ดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย -10.0 -5.0 0.0 5.0 10.0 15.0 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 %YoY ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปในไตรมาสที่สี่ของปี ลดลงร้อยละ ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน ดัชนีราคาผู้ผลิต ที่มา กระทรวงพาณิชย์ 29 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 NESDC Economic Outlook 2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ามันไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกลดลงจาก ช่วงเดียวกันของปีก่อนและจากไตรมาสก่อนหน้า ราคาน้ามันดิบลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนและไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสต์เท็กซัส) อยู่ที่ 82.4 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ลดลงร้อยละ 3.2 จากราคาเฉลี่ย 85.1 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลง ร้อยละ 3.4 เมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ย 85.3 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสก่อนหน้า การลดลงของราคาน้ามันดิบในตลาดโลกมีสาเหตุมาจาก (1) ความกังวลต่อการส่งสัญญาณยังไม่ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ประกอบกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน ซึ่งส่งผลกระทบต่ออุปสงค์น้ามันในตลาดโลก (2) การปรับลดกาลังการผลิตของกลุ่มโอเปคพลัสเพิ่มเติมน้อยกว่าที่คาด (3) ปริมาณน้ามันดิบสารองทางการค้าของสหรัฐฯ ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 อยู่ที่ 435 ล้านบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับ 429 ล้านบาร์เรล ในไตรมาสที่สี่ของปี 2565 (4) การผ่อนคลายมาตรการควบคุมการนาเข้าน้ามันดิบจากเวเนซุเอลาของสหรัฐฯ และ (5) การออกจากการเป็นสมาชิกกลุ่มโอเปคของประเทศแองโกลา สะท้อนว่ากลุ่มประเทศสมาชิกบางส่วนไม่ต้องการ ที่จะปรับลดกาลังการผลิตเท่ามติการประชุม รวมทั้งปี 2566 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด อยู่ที่ 80.8 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ลดลงร้อยละ 16.2 จากราคาเฉลี่ย 96.5 ดอลลาร์ สรอ. ในปี 2565 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลก ปี ราคา (ดอลลาร์ สรอ. /บาร์เรล) อัตราการขยายตัว (%YOY) WTI BRENT DUBAI OMAN เฉลี่ย WTI BRENT DUBAI OMAN เฉลี่ย 2564 ทั้งปี 68.1 70.9 69.5 69.3 69.4 72.1 63.4 63.8 65.5 65.4 2565 ทั้งปี 94.2 98.8 96.2 96.5 96.5 38.4 39.4 38.4 39.4 38.9 Q1 94.7 97.9 96.1 96.4 96.2 63.3 59.8 59.4 63.3 61.3 Q2 109.0 112.3 108.5 105.4 108.8 63.9 61.9 60.7 56.2 60.6 Q3 91.4 97.5 96.5 100.7 96.5 29.6 33.2 34.3 40.0 34.3 Q4 82.6 88.6 84.7 84.7 85.1 7.1 11.1 8.0 8.0 8.6 2566 ทั้งปี 77.4 82.1 81.8 81.9 80.8 -17.8 -16.9 -15.0 -15.2 -16.2 Q1 76.0 82.1 80.2 80.4 79.7 -19.7 -16.1 -16.5 -16.6 -17.2 Q2 73.1 77.3 76.9 76.9 76.0 -33.0 -31.2 -29.1 -27.0 -30.1 Q3 82.1 86.0 86.6 86.6 85.3 -10.2 -11.8 -10.3 -14.0 -11.6 Q4 78.8 83.0 83.8 83.8 82.4 -4.6 -6.2 -1.0 -1.1 -3.2 ต.ค. 85.4 88.7 89.6 89.6 88.3 -1.9 -5.3 -1.5 -1.5 -2.6 พ.ย. 77.4 82.1 83.4 83.4 81.6 -8.3 -9.7 -3.1 -3.1 -6.0 ธ.ค. 72.2 77.3 77.1 77.1 75.9 -5.2 -4.4 0.5 0.2 -2.3 2567 ม.ค. 73.9 79.1 78.9 79.0 77.8 -5.5 -5.7 -2.0 -2.2 -3.9 ที่มา: บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) และสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 30 NESDC Economic Outlook เศรษฐกิจโลกในไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ สอดคล้องกับการขยายตัวต่อเนื่องของภาคบริการและตลาดแรงงานที่อยู่ในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะประเทศเศรษฐกิจหลักทั้งสหรัฐฯ และจีน การฟื้นตัวดีขึ้นของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลักส่งผลให้ปริมาณการค้าโลกมีทิศทางปรับตัวดีขึ้น สอดคล้องกับวัฏจักรขาขึ้นของยอดขายเซมิคอนดักเตอร์และคาสั่งซื้อล่วงหน้าที่เพิ่มขึ้น ในหลายประเทศ ซึ่งส่งผลให้ภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออกของหลายประเทศในกลุ่มเศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) และกลุ่มประเทศอาเซียนเริ่มกลับมาขยายตัว อย่างไรก็ดี ในช่วงไตรมาสที่ 4 สถานการณ์ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางระหว่างอิสราเอลและกลุ่มฮามาส ที่เกิดขึ้นนับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2566 ได้ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนและก่อให้เกิดความผันผวนในตลาดเงินตลาดทุน รวมทั้งส่งผลให้ราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น และทาให้อัตราเงินเฟ้อในหลายประเทศยังคงทรงตัวในระดับสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินซึ่งส่งผลให้ธนาคารกลางของประเทศส่วนใหญ่ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 3.1 (Advance Estimate) เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 7 ไตรมาส โดยเป็นผลมาจากการเร่งขึ้นของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากมูลค่าการค้าปลีกที่ขยายตัวร้อยละ 2.6 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อน สอดคล้องกับตลาดแรงงานที่ยังแข็งแกร่ง6 นอกจากนี้ การลงทุนภาคเอกชนในสินทรัพย์ที่ไม่ใช่ภาคที่อยู่อาศัย (Non-residential investment) ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 4.1 ใกล้เคียงกับไตรมาสที่ผ่านมา ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนในภาคที่อยู่อาศัยเริ่มทรงตัว ภายหลังจากการลดลงติดต่อกัน 7 ไตรมาส สาหรับอัตราเงินเฟ้อวัดจากดัชนีราคาการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคส่วนบุคคล (PCE price index) ขยายตัวร้อยละ 2.7 ชะลอลงจากร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ยังสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 ส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง7 ขณะที่สหรัฐฯ ยังเผชิญกับการขาดดุลการคลังที่เพิ่มขึ้นและหนี้สาธารณะที่อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้บริษัท จัดอันดับความน่าเชื่อถือ Moody?s ปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือของพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ลงจากระดับ Stable เป็น Negative เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2566 ทั้งนี้ เมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 3.3 เทียบกับร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ saar.) รวมทั้งปี 2566 เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 2.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.9 ในปีก่อน เศรษฐกิจยูโรโซน ขยายตัวร้อยละ 0.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเศรษฐกิจเยอรมนีซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคยังคงลดลงติดต่อกันเป็นไตรมาสที่สองที่ร้อยละ 0.2 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า (%YoY) ขณะที่ประเทศสมาชิกหลักอื่น ๆ ยังขยายตัวในเกณฑ์ต่า8 โดยเป็นผลมาจากการชะลอตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 43.9 ซึ่งเป็นระดับต่ากว่า 50.0 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 6 เช่นเดียวกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการลดลงมาอยู่ที่ระดับ 48.4 ต่ากว่า 50.0 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 2 และต่าสุดในรอบ 11 ไตรมาส ตามการชะลอตัวลงของอุปสงค์ภายในประเทศ เนื่องจากการดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของธนาคารกลางยุโรป และดัชนีความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจยังอยู่ในระดับต่ากว่า 100 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 6 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ในไตรมาสที่ 4 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 2.7 ชะลอลงจากร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ยังอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากแรงกดดันจากตลาดแรงงานที่ตึงตัวจนส่งผลต่อระดับค่าจ้าง9 ส่งผลให้คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank: ECB) ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง10 ขณะเดียวกัน สหภาพยุโรปยังคงดาเนินมาตรการ Next Generation EU เพื่อฟื้นฟูและปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจเพื่อลดการพึ่งพิงการนาเข้าพลังงาน11 รวมทั้งปี 2566 เศรษฐกิจยูโรโซนขยายตัวร้อยละ 0.5 ชะลอลงร้อยละ 3.4 ในปี 2565 เศรษฐกิจญี่ปุ่น ขยายตัวร้อยละ 1.0 ชะลอลงจากร้อยละ 1.7 ในไตรมาสที่สาม ตามการลดลงของการบริโภคภายในประเทศเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับราคาสินค้า ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและภาคการส่งออกยังคงลดลง โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 48.3 ต่ากว่าระดับ 50.0 ต่อเนื่องกันเป็นไตรมาสที่ห้า เช่นเดียวกับมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ยังคงลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ที่ร้อยละ 0.7 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ดุลการค้าขาดดุลทั้งสิ้น 3.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. อย่างไรก็ดี ปริมาณการส่งออกรถยนต์ขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องที่ร้อยละ 20.6 จากร้อยละ 17.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ปริมาณการส่งออกรถยนต์ในปี 2566 กลับมาขยายตัว 3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสที่สี่ของปี 2566 6 อัตราการว่างงานในไตรมาสที่สี่อยู่ที่ร้อยละ 3.7 โดยยังคงอยู่ในระดับต่ากว่าร้อยละ 4.0 ติดต่อกัน เป็นไตรมาสที่ 8 ซึ่งสะท้อนความต้องการด้านแรงงานที่ต่อเนื่อง ประกอบกับอัตราการขยายตัวของค่าจ้าง (รายสัปดาห์) อยู่ที่ร้อยละ 3.8 ขยายตัวต่อเนื่องจากร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และการจ้างงานนอกภาคเกษตรในเดือนธันวาคม 2566 เพิ่มขึ้น 3.33 แสนตาแหน่งจากเดือนก่อนหน้าและเป็นอัตราการเพิ่มที่สูงสุดในรอบปี 7 คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC) ในการประชุมเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน และในการประชุมเมื่อวันที่ 12 - 13 ธันวาคม 2566 มีมติให้คงอัตราดอกเบี้ย (Federal funds rate) ไว้ที่ร้อยละ 5.25-5.50 ซึ่งเป็นการคงอัตราดอกเบี้ย 3 ครั้งติดต่อกัน นับตั้งแต่การปรับขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2566 ซึ่งถือว่าเป็นระดับสูงที่สุดในรอบ 22 ปี โดย FOMC ยังคงตั้งเป้าหมายการดาเนินนโยบายการเงินเพื่อให้อัตราเงินเฟ้อกลับสู่ระดับเป้าหมายในระยะยาวที่ร้อยละ 2.0 รวมถึงการจ้างงานอยู่ในระดับสูงสุด 8 เศรษฐกิจฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน ขยายตัวร้อยละ 0.7 ร้อยละ 0.5 และร้อยละ 2.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.6 ร้อยละ 0.1 และร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ 9 สภาวะตลาดแรงงานที่ตึงตัวสะท้อนจากอัตราการว่างงานที่ลดลงต่าสุดเป็นประวัติการณ์ที่ร้อยละ 6.4 เทียบกับร้อยละ 6.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ค่าจ้างแรงงานปรับตัวสูงขึ้น สะท้อนได้จากดัชนีค่าจ้างและเงินเดือน (Wage and Salary Index) ที่ขยายตัวร้อยละ 5.3 ในไตรมาสที่ 3 ปี 2566 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นการขยายตัวสูงสุดเป็นประวัติการณ์ 10 ในการประชุมเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม และ 14 ธันวาคม 2566 ธนาคารกลางยุโรป (ECB) ได้มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายทั้งสองครั้ง ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ย Refinancing Operations Rate อัตราดอกเบี้ย Marginal Lending Facility และดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์ของแต่ละประเทศที่ฝากไว้กับธนาคารกลาง ณ สิ้นสุดไตรมาสที่ 4 ยังคงอยู่ที่ร้อยละ 4.50 ร้อยละ 4.75 และร้อยละ 4.00 ตามลาดับ 11 โครงการ NextGenerationEU มีกรอบวงเงินรวมอยู่ที่ 7.2 แสนล้านยูโร แบ่งเป็นเงินให้กู้ยืม 3.9 แสนล้านยูโร และเงินอุดหนุน 3.4 แสนล้านยูโร โดยมีระยะเวลาการใช้จ่ายในช่วงปี 2564 - 2569 ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและดิจิทัล (Green and Digital Transitions) โดย ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2567 มีการอนุมัติการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการอุดหนุนและกู้ยืมไปแล้ว 1.4 แสนล้านยูโรและ 7.9 หมื่นล้านยูโร ตามลาดับ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 31 NESDC Economic Outlook ร้อยละ 19.8 นับเป็นการขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ปี โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากสถานการณ์ห่วงโซ่อุปทานของเซมิคอนดักเตอร์ที่ปรับตัวดีขึ้น ขณะที่ตลาดแรงงานยังคงตึงตัวจากภาวะขาดแคลนแรงงาน ขณะเดียวกัน รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศปรับค่าจ้างขั้นต่าขึ้นในเดือนตุลาคม 2566 ถือเป็น การปรับขึ้นในอัตราสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ทาให้อัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินเพิ่มขึ้นแต่เมื่อหักอัตราเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 2.9 ส่งผลให้ อัตราค่าจ้างที่แท้จริงยังคงลดลงร้อยละ 2.2 ทั้งนี้ ท่ามกลางการฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปของเศรษฐกิจญี่ปุ่น ส่งผลให้ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการปรับการดาเนินมาตรการซื้อพันธบัตรรัฐบาล ระยะยาว 10 ปี โดยการกาหนดขอบบนของอัตราดอกเบี้ยระยะยาวที่ร้อยละ 1.0 แทนการกาหนดช่วงอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ?0.5 เพื่อให้เกิด ความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการมากขึ้น รวมทั้งปี 2566 เศรษฐกิจญี่ปุ่นขยายตัวร้อยละ 1.9 เทียบกับร้อยละ 1.0 ในปีก่อนหน้า เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 5.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยได้รับแรงสนับสนุนจากการฟื้นตัวการอุปโภคบริโภคภายในประเทศและภาคบริการ ประกอบกับการปรับตัวดีขึ้นของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก โดยยอดการค้าปลีกขยายตัวร้อยละ 8.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อภาคบริการอยู่ที่ระดับ 51.6 สูงกว่าระดับ 50 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 นอกจากนี้ ตลาดแรงงานปรับตัวดีขึ้นโดยอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 5.0 ต่าสุดในรอบ 8 ไตรมาส ขณะที่ความเชื่อมั่นผู้บริโภคเริ่มสูงขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 87.5 เมื่อพิจารณาภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการส่งออกสินค้าพบว่าเริ่มปรับตัวดีขึ้น โดยมูลค่าการส่งออกสินค้าลดลงร้อยละ 1.2 ปรับตัวดีขึ้นจาก การลดลงร้อยละ 9.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจากมูลค่าการส่งออกสินค้าในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคมที่กลับมาขยายตัวร้อยละ 0.7 และ ร้อยละ 2.3 ตามลาดับ นับเป็นการขยายตัวครั้งแรกนับตั้งแต่เดือนเมษายน 256612 อย่างไรก็ตาม การลงทุนภายในประเทศยังคงลดลงร้อยละ 12.1 เป็นการลดลงมากที่สุดในรอบ 15 ไตรมาส โดยการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ลดลงร้อยละ 16.5 เป็นการลดลงต่อเนื่องกัน 7 ไตรมาส ส่งผลให้รัฐบาลดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการผ่อนคลายมาตรการเกี่ยวกับการซื้ออสังหาริมทรัพย์ในเมืองเศรษฐกิจหลัก รวมถึงการอนุญาตให้รัฐบาลท้องถิ่น ออกพันธบัตรเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงิน ขณะเดียวกัน ธนาคารกลางจีน (People's Bank of China: PBOC) ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายควบคู่ไปกับการอัดฉีดสภาพคล่องให้กับระบบเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจและป้องกันเข้าสู่ภาวะเงินฝืด 13 โดยอัตรา เงินเฟ้อทั่วไปในไตรมาสที่สี่เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ (-0.3) ต่อเนื่องจากร้อยละ (-0.1) ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นระดับต่าสุดในรอบ 57 ไตรมาส รวมทั้งปี 2566 เศรษฐกิจจีนขยายตัวร้อยละ 5.2 สูงกว่าเป้าหมายของรัฐบาลที่ร้อยละ 5.0 และเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.0 ในปี 2565 เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ขยายตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการกลับมาขยายตัวของ ภาคการส่งออกตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ต่างประเทศ โดยเฉพาะในหมวดสินค้าเซมิคอนดักเตอร์ สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของภาคการผลิตอุตสาหกรรม โดยเศรษฐกิจเกาหลีใต้และเศรษฐกิจสิงคโปร์ขยายตัวสูงสุดในรอบ 5 ไตรมาส ที่ร้อยละ 2.2 และร้อยละ 2.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.4 และร้อยละ 1.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ส่วนเศรษฐกิจฮ่องกงและเศรษฐกิจไต้หวันขยายตัวสูงสุดในรอบ 8 ไตรมาส ที่ร้อยละ 4.3 และ ร้อยละ 5.1 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.1 และร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อยังคงอยู่ในระดับสูงตามการเพิ่มขึ้นของราคาอาหารและค่าขนส่ง14 ส่งผลให้ธนาคารกลางของแต่ละประเทศยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ รวมทั้งปี 2566 เศรษฐกิจสิงคโปร์ เกาหลีใต้ และไต้หวัน ขยายตัวร้อยละ 1.1 ร้อยละ 1.4 และร้อยละ 1.4 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 3.8 ร้อยละ 2.6 และร้อยละ 2.6 จากปี 2565 ตามลาดับ ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงขยายตัวร้อยละ 3.2 ฟื้นตัวจากการลดลงร้อยละ 3.5 ในปี 2565 เศรษฐกิจประเทศกลุ่มอาเซียน ส่วนใหญ่ขยายตัวต่อเนื่องตามการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการฟื้นตัวของการส่งออกสินค้า โดยเศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนามขยายตัวร้อยละ 5.0 ร้อยละ 3.0 และร้อยละ 6.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.9 ร้อยละ 3.3 และร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ส่วนเศรษฐกิจฟิลิปปินส์ขยายตัวร้อยละ 5.6 เทียบกับร้อยละ 6.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่แรงกดดันด้านเงินเฟ้อของ หลายประเทศส่วนใหญ่เริ่มผ่อนคลายลง ส่งผลให้ธนาคารกลางมาเลเซียและเวียดนามยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในช่วงไตรมาสที่สี่ ขณะที่ธนาคารกลางอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อและรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน15 รวมทั้งปี 2566 เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนามขยายตัวร้อยละ 5.0 ร้อยละ 3.7 ร้อยละ 5.6 และร้อยละ 5.0 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 5.3 ร้อยละ 8.7 ร้อยละ 7.6 และร้อยละ 8.0 ในปี 2565 ตามลาดับ 12 มูลค่าการส่งสินค้าไปยังสหรัฐฯ สหภาพยุโรปและประเทศในภูมิภาคเอเชียลดลงร้อยละ 3.0 ร้อยละ 9.7 และร้อยละ 3.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 14.3 ร้อยละ 17.5 และร้อยละ 9.9 ตามลาดับ ซึ่งนับเป็นการลดลงที่น้อยที่สุดในรอบ 5 ไตรมาส ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกสินค้าในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคมกลับมาขยายตัวร้อยละ 0.7 และร้อยละ 2.3 ตามลาดับ ซึ่งเป็นการขยายตัวครั้งแรกนับตั้งแต่เดือนเมษายน 2566 13 รายละเอียดเพิ่มได้ใน Box มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่สาคัญของจีน 14 อัตราเงินเฟ้อในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ของเกาหลีใต้ ไต้หวัน และฮ่องกง อยู่ที่ระดับร้อยละ 3.4 ร้อยละ 2.9 และร้อยละ 2.6 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.1 ร้อยละ 2.4 และ ร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อของสิงคโปร์อยู่ที่ร้อยละ 4.0 ชะลอลงจากร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของราคาสินค้าปลีก อาหาร และที่พักอาศัย 15 อัตราเงินเฟ้อของมาเลเซียในไตรมาสที่สี่อยู่ที่ร้อยละ 1.6 ลดลงจากร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ต่ากว่ากรอบเป้าหมายที่ร้อยละ 2.5 - 3.5 อย่างไรก็ดี ธนาคารกลางมาเลเซียยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ร้อยละ 3.0 ในการประชุมเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2566 สาหรับอัตราเงินเฟ้อของเวียดนาม อยู่ที่ร้อยละ 3.5 แม้ว่าจะเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากการปรับขึ้นของราคาสินค้าหมวดอาหาร แต่ยังคงต่ากว่าระดับเป้าหมายที่ร้อยละ 4.5 ส่งผลให้ธนาคารกลางเวียดนามยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ร้อยละ 3.0 นับตั้งแต่ไตรมาส ที่สอง สาหรับอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในไตรมาสที่สี่ของอินโดนีเซียอยู่ที่ร้อยละ 2.7 เทียบกับร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และอยู่ในกรอบเป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 - 4.0 อย่างไรก็ตาม ธนาคารกลางอินโดนีเซียในการประชุมเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2566 มีมติเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 6.0 จากร้อยละ 5.75 เช่นเดียวกับฟิลิปปินส์ โดยอัตรา เงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 4.3 ในไตรมาสที่สี่ ลดลงจากร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อที่ร้อยละ 2.0 - 4.0 ทาให้ธนาคารกลางฟิลิปปินส์ในการประชุมเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2566 ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 6.50 จากร้อยละ 6.25 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 32 NESDC Economic Outlook เศรษฐกิจโลกในปี 2567 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตามแนวโน้มการฟื้นตัวของภาคการผลิตและการค้าระหว่างประเทศ สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของคาสั่งซื้อในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลักและสินค้าคงคลังภาคอุตสาหกรรมที่สูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ประกอบกับสัญญาณขาขึ้นของวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่เริ่มปรากฏชัดเจนมากขึ้นนับตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของปี 2566 อย่างไรก็ดี ในภาพรวมเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มชะลอลงจากปี 2566 ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศหลักทั้งเศรษฐกิจสหรัฐฯ ญี่ปุ่น และจีน ในขณะที่เศรษฐกิจในกลุ่มยูโรโซนมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปจากการขยายตัวในเกณฑ์ต่าในปีก่อน ส่วนกลุ่มเศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหม่และเศรษฐกิจอาเซียนมีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้นตามการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและการกลับมาขยายตัวของการส่งออกสินค้าตามแนวโน้มการฟื้นตัวของปริมาณการค้าโลก สาหรับแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อในปี 2567 มีทิศทางผ่อนคลายลงต่อเนื่องตามการดาเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดของธนาคารกลางในช่วงที่ผ่านมา ภายใต้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ที่ยังคงเปราะบาง คาดว่าจะทาให้ธนาคารกลางประเทศสาคัญ ๆ เริ่มปรับเปลี่ยนทิศทางนโยบายการเงินโดยการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง อย่างค่อยเป็นค่อยไป ขณะเดียวกัน เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงด้านต่า (Downside risks) ที่อาจทาให้ขยายตัวได้ต่ากว่าที่คาด อันเนื่องมาจากปัจจัยความไม่แน่นอนของความขัดแย้งในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนามาซึ่งความเสี่ยงจากการแบ่งแยกเชิงภูมิรัฐศาสตร์เศรษฐกิจ (Geo-economic fragmentation) ที่รุนแรงมากขึ้นและสร้างแรงกดดันด้านเงินเฟ้อเพิ่มเติม ซึ่งอาจส่งผลให้ธนาคารกลางหลักยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับสูงยาวนานกว่าที่คาดการณ์ (Higher for Longer) ประกอบกับแนวโน้มการชะลอตัวมากกว่าที่คาดของเศรษฐกิจจีนจากปัญหาหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์ ในกรณีฐาน ภายใต้สมมติฐานที่คาดว่าสถานการณ์ความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์ในหลายภูมิภาคยังอยู่ในวงจากัดและไม่ยกระดับความรุนแรง ส่งผลยืดเยื้อจนนาไปสู่ความชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน จนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและระบบการเงินโลกอย่างมีนัยสาคัญ คาดว่าเศรษฐกิจโลก ในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.7 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน และชะลอลงจากร้อยละ 3.0 ในปี 2566 ส่วนปริมาณการค้าโลกคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.0 ฟื้นตัวจากร้อยละ 0.5 ในปี 2566 เป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 3.2 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน โดยมีแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศสาคัญ ๆ ดังนี้ เศรษฐกิจสหรัฐฯ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.8 ในปี 2567 ชะลอลงจากร้อยละ 2.5 ในปี 2566 แต่ปรับเพิ่มขึ้นจากการประมาณการครั้งก่อน ที่ร้อยละ 1.4 เนื่องจากการอุปโภคบริโภคภายในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตามตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง16 และการใช้จ่ายจากเงินออมสะสมที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือนมกราคมที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 114.8 สูงสุดในรอบ 25 เดือน ขณะที่ภาคการผลิต มีแนวโน้มที่จะปรับตัวดีขึ้นตามการฟื้นตัวของการค้าโลก โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมด้านคาสั่งซื้อใหม่ในเดือนมกราคม 2567 ปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 52.5 สูงสุดในรอบ 20 เดือน17 อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศยังมีข้อจากัดจากการดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในช่วงก่อนหน้าที่คาดว่าจะส่งผลต่อการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศรวมถึงตลาดแรงงานมากขึ้น เช่นเดียวกับแรงสนับสนุนด้านการคลังที่มีแนวโน้มปรับลดลง โดยสานักงานงบประมาณรัฐสภาสหรัฐฯ (Congressional 16 อัตราการว่างงานในเดือนมกราคม 2566 คงที่ร้อยละ 3.7 เทียบกับเดือนก่อนหน้าและร้อยละ 3.4 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามลาดับ 17 ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมโดยรวมปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 50.7 จากระดับ 47.9 ในเดือนก่อน 4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2567 การขยายตัวของเศรษฐกิจ และการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกสินค้าของประเทศต่าง ๆ (%YoY) GDP มูลค่าการส่งออกสินค้า 2564 2565 2566 2564 2565 2566 ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี สหรัฐฯ 5.8 1.9 1.7 2.4 2.9 3.1 2.5 23.0 18.7 7.2 -6.7 -5.7 -1.3 -1.9 ยูโรโซน 5.9 3.4 1.3 0.6 0.0 0.1 0.5 18.1 5.2 3.8 0.4 2.3 -0.2 1.6 สหราชอาณาจักร 8.7 4.3 0.3 0.3 0.2 -0.2 0.1 15.8 10.8 10.9 8.9 1.4 -4.3 3.7 ออสเตรเลีย 5.5 3.9 2.3 1.8 2.5 37.0 19.9 3.9 -16.7 -14.8 -9.3 -9.7 ญี่ปุ่น 2.6 1.0 2.6 2.3 1.7 1.0 1.9 17.9 -1.2 -8.0 -4.0 -3.1 -0.7 -4.0 จีน 8.4 3.0 4.5 6.3 4.9 5.2 5.2 29.6 5.6 -1.9 -4.9 -9.9 -1.2 -4.6 อินเดีย 8.9 6.7 6.1 7.8 7.6 43.0 14.6 -1.9 -14.1 -3.1 1.2 -4.7 เกาหลีใต้ 4.3 2.6 0.9 0.9 1.4 2.2 1.4 25.7 6.1 -12.8 -12.0 -9.7 5.7 -7.5 ไต้หวัน 6.6 2.6 -3.5 1.4 2.3 5.1 1.4 29.3 7.4 -19.2 -17.0 -5.1 3.3 -9.8 ฮ่องกง 6.4 -3.5 2.9 1.5 4.1 4.3 3.2 26.0 -9.3 -18.0 -13.3 -5.7 6.6 -7.8 สิงคโปร์ 9.7 3.8 0.5 0.5 1.0 2.2 1.1 22.1 12.7 -5.2 -14.5 -12.6 3.0 -7.7 อินโดนีเซีย 3.7 5.3 5.0 5.2 4.9 5.0 5.0 41.9 26.0 1.3 -17.8 -18.6 -8.3 -11.3 มาเลเซีย 3.3 8.7 5.6 2.9 3.3 3.0 3.7 27.5 17.6 -1.6 -14.6 -17.8 -9.4 -11.1 ฟิลิปปินส์ 5.7 7.6 6.4 4.3 6.0 5.6 5.6 14.5 6.5 -12.6 -5.8 -1.2 -10.7 -7.6 เวียดนาม 2.6 8.0 3.4 4.3 5.5 6.7 5.0 18.9 10.6 -11.6 -11.6 -2.4 6.9 -4.8 ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช. กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 33 NESDC Economic Outlook Budget Office) ประมาณการว่าในปี 2567 รัฐบาลสหรัฐฯ จะขาดดุลงบประมาณคิดเป็นร้อยละ 2.3 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ลดลงจากร้อยละ 3.8 ในปีก่อนหน้า ประกอบกับการเผชิญกับข้อจากัดจากความไม่แน่นอนทางการเมืองก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีในช่วงปลายปี 2567 ขณะที่ในส่วนของการดาเนินนโยบายการเงินคาดว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ มีแนวโน้มที่จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูงต่อไปจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะปรับลดลงเข้าสู่เป้าหมายนโยบายการเงินอย่างชัดเจน โดยล่าสุดอัตราเงินเฟ้อ (CPI) ในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ 3.1 ชะลอลงจากร้อยละ 3.4 ในเดือนก่อนหน้า ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังทรงตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.9 เท่ากับเดือนก่อนหน้า ส่งผลให้ในกรณีฐานคาดว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงครึ่งหลังของปี 256718 เศรษฐกิจยูโรโซน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.6 ในปี 2567 เร่งขึ้นอย่างช้า ๆ จากร้อยละ 0.5 ในปี 2566 แต่เป็นการปรับลดจากการประมาณการเดิมที่ร้อยละ 0.9 เนื่องจากการดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของธนาคารกลางยุโรปมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุนมากขึ้น ขณะเดียวกัน ภาคการผลิตยังไม่มีแนวโน้มฟื้นตัว สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ระดับ 46.6 และ 48.4 ซึ่งเป็นระดับต่ากว่า 50.0 ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 19 และเดือนที่ 35 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี คาดว่าเศรษฐกิจในภูมิภาคจะมีแรงสนับสนุนจากความสามารถในการลดปริมาณการนาเข้าพลังงานจากรัสเซียและเพิ่มปริมาณพลังงานสารองได้มากขึ้น19 รวมทั้ง แรงสนับสนุนจากภาคการคลังภายใต้กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะยาว (Multiannual Financial Frameworks: MFF) ในช่วงปี 2564 - 2570 วงเงิน 1.216 ล้านล้านยูโร รวมถึงงบประมาณเพิ่มเติมจากแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU วงเงิน 8.069 แสนล้านยูโร20 สาหรับอัตรา เงินเฟ้อพื้นฐานในเดือนมกราคม 2567 ยังคงอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 3.3 เทียบกับร้อยละ 3.4 ในเดือนก่อนหน้า ส่งผลให้ธนาคารกลางยุโรปมีแนวโน้ม ที่จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อไปจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะลดระดับสู่เป้าหมายในระยะปานกลางที่ร้อยละ 2.021 เศรษฐกิจญี่ปุ่น คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.8 ชะลอลงจากร้อยละ 1.9 ในปี 2566 โดยเป็นผลมาจากแนวโน้มการชะลอตัวลงของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน สอดคล้องกับแนวโน้มค่าจ้างแรงงานที่แท้จริงที่ยังลดลง ประกอบกับแรงกดดันจากอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่องโดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยน นอกจากนี้ ภาคการผลิตยังได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งรุนแรงในช่วงมกราคม 2567 โดยเฉพาะการผลิตสินค้าประเภทสิ่งทอ เครื่องจักรสานักงาน และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะได้รับแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายของภาครัฐภายหลังรัฐบาลได้ประกาศมาตรการเศรษฐกิจรอบใหม่เพื่อป้องกันปัญหาเงินฝืดในเดือนพฤศจิกายน 256622 รวมทั้งแรงสนับสนุนจากการขยายตัวของภาคบริการโดยเฉพาะการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว ทั้งนี้ ภายใต้แรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมาย รวมถึงการอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยน ส่งผลให้ธนาคารกลางญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะยกเลิกการดาเนินนโยบายอัตราดอกเบี้ยติดลบในช่วงกลางปี 2567 รวมถึงการปรับเปลี่ยนมาตรการเข้าซื้อพันธบัตรระยะยาว (Yield Curve Control) ในช่วงปลายปี 2567 เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ ที่ร้อยละ 2.0 ในระยะยาว เศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.3 ในปี 2567 ชะลอลงจากร้อยละ 5.2 ในปี 2566 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน โดยเศรษฐกิจยังได้รับแรงสนับสนุนจากภาคการผลิตที่เริ่มฟื้นตัว สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Caixin PMI) ภาคอุตสาหกรรมในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ระดับ 50.8 สูงกว่าระดับ 50 ติดต่อกัน 3 เดือน ประกอบกับแรงสนับสนุนด้านการคลังเพิ่มเติมจากการดาเนินมาตรการเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง23 อย่างไรก็ดี การลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ยังคงเผชิญกับข้อจากัดจากปัญหาการขาดสภาพคล่อง24 รวมถึงการขาดความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่อโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์สะท้อนจากยอดขายบ้านและราคาที่อยู่อาศัยที่ยังคงปรับตัวลดลง ขณะเดียวกัน อุปสงค์ภายในประเทศยังมีแนวโน้มชะลอตัวลง 18 คณะกรรมการนโยบายการเงินธนาคารกลางสหรัฐฯ ในการประชุมเมื่อวันที่ 30 - 31 มกราคม 2567 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยอยู่ที่ช่วงร้อยละ 5.25 - 5.50 ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 22 ปี เพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ โดยอัตราเงินเฟ้อ (CPI) ในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ 3.1 ชะลอลงจากร้อยละ 3.4 ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังทรงตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.9 เท่ากับเดือนก่อนหน้า ขณะที่การจ้างงานนอกภาคเกษตร (Nonfarm payroll) ในเดือนมกราคมเพิ่มขึ้นถึง 3.53 แสนตาแหน่ง เทียบกับ 3.33 แสนตาแหน่งในเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าค่าเฉลี่ยในปี 2566 ที่ 2.25 แสนตาแหน่ง สะท้อนความตึงตัวของตลาดแรงงานซึ่งจะเป็น แรงกดดันของการเพิ่มขึ้นของระดับค่าจ้างและสร้างแรงกดดันด้านราคาต่อไป 19 การพึ่งพิงการนาเข้าพลังงานจากรัสเซียปรับลดลงเป็นลาดับ โดยทั้งปี 2566 สหภาพยุโรปนาเข้าก๊าซธรรมชาติจากรัสเซียเฉลี่ย 568 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อสัปดาห์ ลดลงร้อยละ 56.2 และร้อยละ 80.4 เมื่อเทียบกับปี 2565 และปี 2564 ตามลาดับ ขณะที่ปริมาณก๊าซธรรมชาติสารองปรับเพิ่มสูงขึ้น โดยในปี 2566 อยู่ที่เฉลี่ย 86,966 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อสัปดาห์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.5 และร้อยละ 50.2 จากปี 2565 และ 2564 ตามลาดับ 20 ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 มีการอนุมัติการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการอุดหนุนและกู้ยืมไปแล้ว 1.44 แสนล้านยูโร และ 8.02 หมื่นล้านยูโร ตามลาดับ ซึ่งคิดเป็น การเบิกจ่ายรวมกันทั้งสิ้น 2.24 แสนล้านยูโร 21 คณะกรรมการนโยบายการเงินธนาคารกลางยุโรปในการประชุมเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2567 ได้มีมติคงอัตราดอกเบี้ย Refinancing Operations Rate อัตราดอกเบี้ย Marginal Lending Facility และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์ของแต่ละประเทศที่ฝากไว้กับธนาคารกลางที่ร้อยละ 4.50 ร้อยละ 4.75 และร้อยละ 4.00 ตามลาดับ หลังจากที่มีการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องกันในการประชุม 2 ครั้งก่อนหน้านี้ อย่างไรก็ตาม ยังมีการนาเงินต้นในโครงการ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) มาลงทุนซ้าอีกครั้งจนถึงสิ้นปี 2567 22 เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2566 คณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่นได้อนุมัติ ?มาตรการเศรษฐกิจรวมเพื่อหลุดจากกับดักเงินฝืดถาวร? วงเงินทั้งสิ้น 21.8 ล้านล้านเยน โดยมีมาตรการที่สาคัญ อาทิ (1) มาตรการปกป้องประชาชนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น (2) มาตรการมุ่งเน้นการขยายตัวของค่าจ้างในภูมิภาค กลุ่มธุรกิจขนาดกลาง และ SMEs รวมไปถึงการเพิ่มรายได้ของแรงงาน (3) มาตรการสนับสนุนการลงทุนภายในประเทศเพื่อสร้างการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (4) มาตรการกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเพื่อก้าวข้ามปัญหาการลดลงของประชากร และ (5) มาตรการป้องกันสาธารณภัยและภัยอื่น ๆ ภายในประเทศ 23 รายละเอียดเพิ่มเติมใน BOX มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของจีน 24 ศาลฮ่องกงได้มีการสั่งให้บริษัทผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ Evergrande ให้ยุติกิจการและเข้าสู่กระบวนการล้มละลายซึ่งสะท้อนให้เห็นแนวทางการแก้ปัญหาของรัฐบาลจีนว่าไม่มีบริษัทที่ใหญ่เกินกว่าจะล้มละลาย (Too Big Too fail) และจะไม่ดาเนินนโยบายที่นาไปสู่ปัญหา Moral Hazard ซึ่งแนวทางดังกล่าวส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคยังคงไม่ปรับเพิ่มขึ้น เนื่องจากยังมีความเสี่ยงที่จะมีบริษัทผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ที่ประสบปัญหาล้มละลายเช่นกัน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 34 NESDC Economic Outlook สอดคล้องกับการชะลอตัวของสินเชื่อและแรงกดดันด้านเงินฝืด โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ (-0.8) ลดลงติดต่อกัน เป็นเดือนที่ 4 และเป็นอัตราต่าสุดนับตั้งแต่ปี 255225 เช่นเดียวกับดัชนีราคาผู้ผลิตที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 2.5 ในเดือนมกราคม 2567 เป็นการลดลงต่อเนื่องกันเป็นเดือนที่ 16 นอกจากนี้เศรษฐกิจจีนยังมีข้อจากัดจากมาตรการกีดกันทางการค้าจากประเทศเศรษฐกิจหลัก26 และภาระหนี้สินภาครัฐ ที่อยู่ในระดับสูงของทั้งรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นซึ่งส่งผลต่อการลดลงของศักยภาพทางการคลังในการกระตุ้นเศรษฐกิจ27 ภายใต้แนวโน้มดังกล่าว ส่งผลให้ธนาคารกลางจีนดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายเพื่อสนับสนุนสภาพคล่องให้กับระบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวในเกณฑ์ต่าในปีก่อนหน้า ตามการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศท่ามกลางทิศทางการลดลงของแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ และการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคบริการโดยเฉพาะในภาคการท่องเที่ยว รวมถึงภาคการส่งออกที่มีแนวโน้มจะปรับตัวดีขึ้นตามการฟื้นตัวของการค้าโลกและวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ โดยคาดว่าในปี 2567 เศรษฐกิจของเกาหลีใต้ ไต้หวันและสิงคโปร์ จะขยายตัวร้อยละ 2.2 ร้อยละ 2.9 และร้อยละ 2.0 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.4 ร้อยละ 1.4 และร้อยละ 1.2 ในปี 2566 ตามลาดับ ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.5 ในปี 2567 เทียบกับร้อยละ 3.2 ในปีก่อนหน้า เศรษฐกิจอาเซียน มีแนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้นตามการกลับมาขยายตัวของการส่งออกสินค้า สอดคล้องกับแนวโน้มการฟื้นตัวของการค้าโลก ประกอบกับการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว โดยคาดว่าในปี 2567 เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม จะขยายตัวร้อยละ 4.8 ร้อยละ 4.0 ร้อยละ 5.5 และร้อยละ 5.4 ต่อเนื่องจากร้อยละ 5.1 ร้อยละ 3.8 ร้อยละ 5.6 และร้อยละ 5.0 ตามลาดับ 25 อัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารในเดือนมกราคม 2567 ลดลงร้อยละ 5.9 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 3.7 ในเดือนก่อนหน้า โดยราคาเนื้อหมูในเดือนมกราคม 2567 ลดลงร้อยละ 17.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 26.1 ในเดือนก่อนหน้า เช่นเดียวกับราคาผักสดที่ลดลงร้อยละ 12.7 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 ในเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารที่ลดลงเป็นผลมาจากฐานที่สูงของปีก่อนหน้าในช่วงเดือนเดียวกันซึ่งตรงกับช่วงวันเทศกาล Lunar New Year ในเดือนมกราคม 2566 26 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2566 คณะกรรมาธิการยุโรป (The European Commission) ได้ดาเนินการสืบสวนเรื่องเงินอุดหนุนยานยนต์พลังงานไฟฟ้าของจีนที่ส่งออกไปยังสหภาพยุโรป เนื่องจากการนาเข้ายานยนต์จากจีนที่เพิ่มสูงขึ้นอาจส่งผลให้เกิดการบิดเบือนกลไกราคาตลาดจากการสนับสนุนของรัฐบาลจีน และอาจส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของผู้ผลิต ยานยนต์ในยุโรปในการแข่งขันกับอุตสาหกรรมยานยนต์ของจีนที่ได้เปรียบในด้านต้นทุนการผลิตที่ต่ากว่า ซึ่งก่อให้เกิดการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม ทั้งนี้ คาดว่าการสอบสวนจะใช้เวลาไม่เกิน 13 เดือน โดยล่าสุดเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2567 คณะกรรมาธิการยุโรปได้เตรียมการตรวจสอบผู้ผลิตยานยนต์จากบริษัท บีวายดี (BYD) จีลี่ (Geely) และ เอสเอไอซี (SAIC) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจสอบว่าจะขึ้นอัตราภาษีนาเข้ายานยนต์ไฟฟ้าจากจีนจากร้อยละ 10 เป็นร้อยละ 27.5 ซึ่งจะเท่ากับอัตราภาษีนาเข้าจากสหรัฐฯ 27 หนี้สาธารณะต่อ GDP ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2566 อยู่ที่ร้อยละ 53.9 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 38.6 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 โดยจาแนกเป็น หนี้รัฐบาลกลางต่อ GDP อยู่ที่ร้อยละ 22.7 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 16.5 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ขณะที่ หนี้รัฐบาลท้องถิ่นต่อ GDP อยู่ที่ร้อยละ 31.2 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 22.1 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 การฟื้นตัวของวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เป็นสัญญาณสาคัญที่สะท้อนการฟื้นตัวของการค้าโลก ทั้งนี้เมื่อทาการทดสอบความสัมพันธ์ของยอดขาย เซมิคอนดักเตอร์ของประเทศเศรษฐกิจหลักด้วยวิธี Granger Causality กับเครื่องชี้ด้านการผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออกสินค้าของไทย ได้แก่ มูลค่า การส่งออกสินค้า ดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรม และอัตราการใช้กาลังการผลิตภาคอุตสาหกรรมพบว่ายอดขายเซมิคอนดักเตอร์ในช่วงเวลา 1 เดือนล่วงหน้าจะมีความสัมพันธ์กับเครื่องชี้ทางเศรษฐกิจของไทยอย่างมีนัยยะสาคัญทางสถิติ (รายละเอียดตามตาราง) สะท้อนให้เห็นว่าสัญญาณการฟื้นตัวของวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในช่วงปลายปี 2566 เป็นสัญญาณที่บ่งชี้ถึงการฟื้นตัวของภาคส่งออกสินค้าและการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมของไทยในระยะต่อไป วัฏจักรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Cycle) และนัยยะต่อเศรษฐกิจไทย ที่มา: CEIC และสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ประมวลผลโดย สศช. หมายเหตุ: ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยวิธี Granger Causality ด้วยข้อมูลเครื่องชี้รายเดือนระหว่างปี 2560 - 2566โดยยอดขายเซมิคอนดักเตอร์ใช้ข้อมูลล่วงเวลา 1 เดือน (1 Lag) โดยสัญลักษณ์ *** ** และ * คือ ตัวแปรส่งผลต่อกัน ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 99 ร้อยละ 95 และร้อยละ 90 ตามลาดับ และ X หมายถึงตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ยอดขาย เซมิคอนดักเตอร์ มูลค่าการส่งออกสินค้าของไทย ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม อัตราการใช้กาลังการผลิต รวม หมวดอุตสาหกรรม หมวดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รวม หมวดชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ รวม หมวดคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ หมวดชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทั่วโลก ? *** ? ** ? *** ? * X ? * ? ** ? *** สหรัฐฯ X X ? X X X X ? ญี่ปุ่น ? ? ? ? * X ? X ? ยุโรป ? ? ? ? * ? * ? * ? (2 Lag) * ? เอเชียแปซิฟิก ? ? ? ? * X ? * ? ? กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 35 NESDC Economic Outlook มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่สาคัญของจีน วันที่ รายละเอียดมาตรการ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2566 มาตรการทางการเงินเพื่อเพิ่มสภาพคล่อง โดยธนาคารกลางจีน (PBOC) ได้ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี (Loan Prime Rate: LPR) ระยะ 1 ปี ไว้ที่ร้อยละ 3.45 และระยะ 5 ปี ไว้ที่ร้อยละ 4.20 ต่อเนื่องจากเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ซึ่งได้มีการคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะกลางอายุ 1 ปีสาหรับสถาบันการเงิน (Medium-Term Lending Facility: MLF) ไว้ที่ร้อยละ 2.50 ซึ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยที่ต่าที่สุดเป็นประวัติการณ์ พร้อมอัดฉีดสภาพคล่องเพิ่มเติมจานวน 1.45 ล้านล้านหยวน ซึ่งเป็นระดับที่สูงสุดในรอบ 7 ปี วันที่ 7 ธันวาคม 2566 มาตรการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้า โดย กระทรวงอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ (MIIT) กระทรวงการคลัง (MOF) และหน่วยงานบริหารภาษีของจีน (STA) ได้ประกาศปรับปรุงเกณฑ์การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีการซื้อรถยนต์พลังงานทางเลือก (New Energy Vehicle: NEV) เพื่อให้ผู้ผลิตเร่งพัฒนาศักยภาพของรถยนต์ไฟฟ้า โดยรถยนต์ที่เข้าเกณฑ์การลดหย่อนภาษีจะต้องมีระยะการขับขี่อย่างน้อย 200 กิโลเมตรต่อการชาร์จหนึ่งครั้ง ปรับเพิ่มจากเดิมที่ 100 กิโลเมตร นอกจากนี้ ผู้ผลิตรถยนต์จาเป็นต้องแสดงหลักฐานยืนยันการให้บริการแลกเปลี่ยนแบตเตอรี่แก่ลูกค้าที่ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ถอดเปลี่ยนได้ ทั้งนี้ ผู้บริโภคที่ซื้อรถยนต์พลังงานใหม่ในจีนจะได้รับสิทธิ์ในการยกเว้นภาษีการบริโภค (จากเดิมร้อยละ 10) ไปจนถึงสิ้นปี 2568 วันที่ 11 ธันวาคม 2566 มาตรการด้านการลงทุนและเพิ่มสภาพคล่อง โดย รัฐบาลท้องถิ่นของจีนใน 16 มณฑล ได้ออกพันธบัตรวัตถุประสงค์พิเศษ (Special-purpose Bonds) เพิ่มเติม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินขนาดเล็กและขนาดกลางเพื่อลดความเสี่ยงที่มีต่อระบบการเงิน โดยมีมูลค่ารวมประมาณ 2 แสนล้านหยวน ภายหลังจากที่รัฐบาลกลางได้ออกพันธบัตรรัฐบาลเพิ่มเติมวงเงิน 1 ล้านล้านหยวน โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของรัฐบาลท้องถิ่น รวมถึงฟื้นฟูภัยพิบัติธรรมชาติ วันที่ 14 ธันวาคม 2566 มาตรการช่วยเหลือภาคอสังหาริมทรัพย์ โดย กระทรวงการเคหะและการพัฒนาเมือง-ชนบท (Ministry of Housing and Urban-Rural Development) ได้ออกมาตรการช่วยเหลือภาคอสังหาริมทรัพย์เพิ่มเติม โดยอนุญาตให้ผู้บริโภคในเขตมณฑลปักกิ่งและเซี่ยงไฮ้ สามารถปรับลดอัตราส่วนการชาระเงินดาวน์ขั้นต่า (Down-payment ratio) สาหรับบ้านหลังแรกจากร้อยละ 35-40 มาอยู่ที่ร้อยละ 30 และสาหรับบ้านหลังที่สองจากร้อยละ 60-80 มาอยู่ที่ร้อยละ 40-50 โดยขึ้นอยู่กับขนาดและมูลค่าของที่อยู่อาศัย วันที่ 21 ธันวาคม 2566 มาตรการส่งเสริมการลงทุนและยกระดับโครงสร้างการผลิต โดย กระทรวงพาณิชย์จีน (MOFCOM) ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (MOST) ได้เผยแพร่รายการสินค้าควบคุมสาหรับการส่งออกสินค้าเทคโนโลยี มีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการส่งออกเทคโนโลยีและปกป้องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของรัฐ โดยการเปลี่ยนแปลงรายการสินค้าควบคุมในปี 2567 ประกอบไปด้วย การยกเลิกรายการที่เคยต้องห้ามหรือควบคุม อาทิ เทคโนโลยีการผลิตสีเขียว เทคโนโลยีทางการแพทย์ เป็นต้น การเพิ่มรายการสินค้าเทคโนโลยีที่ห้ามหรือควบคุมการส่งออก อาทิ เทคโนโลยีการโคลนเซลล์และการแก้ไขยีนสาหรับมนุษย์ เทคโนโลยีการใช้ประโยชน์ของพืชผลแบบผสมผสาน (Hybrid Crops) เป็นต้น ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงรายการในปี 2567 เป็นการลดรายการลงจาก 164 รายการ เป็น 134 รายการ สาหรับรายการเทคโนโลยีที่ไม่อยู่ในรายการจะถือเป็นการส่งออกได้โดยไม่มีการควบคุม อย่างไรก็ตาม การปรับลดรายการมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีกับต่างประเทศ ไปพร้อมกับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเทคโนโลยีภายในประเทศ วันที่ 19 มกราคม 2567 มาตรการส่งเสริมการลงทุน โดย กระทรวงการคลัง (MOF) และหน่วยงานบริหารภาษีของจีน (STA) ได้ขยายการลดอัตราภาษีนิติบุคคลจากร้อยละ 25 เหลือร้อยละ 15 ให้กับบริษัทในเขตความร่วมมือนวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเหอเต่า (HTCZ) โดยนโยบายนี้จะเริ่มมีผลย้อนหลังตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2570 ทั้งนี้ จีนได้ลดอัตราภาษีนิติบุคคลให้แก่บริษัทในเขตพัฒนาหลายแห่งทั่วประเทศ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจและการลงทุนในอุตสาหกรรมหลัก อาทิ เขตการค้าเสรีนาร่องจีน (หลิงกั่ง) เขตพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี (หนานซา) วันที่ 24 มกราคม 2567 มาตรการทางการเงินเพื่อเพิ่มสภาพคล่อง โดย ธนาคารกลางจีน (PBOC) ได้ปรับลดสัดส่วนการกันเงินฝากสารองของธนาคารพาณิชย์ (Required Reserve Ratio: RRR) ลงจากร้อยละ 7.4 มาอยู่ที่ร้อยละ 7.0 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 เพื่อเป็นการเพิ่มสภาพคล่องให้กับระบบเศรษฐกิจประมาณ 1 ล้านล้านหยวน นอกจากนี้ PBOC ยังลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สาหรับธุรกิจขนาดไมโครและธุรกิจขนาดเล็ก (Micro and Small Businesses) ลงจากร้อยละ 2.00 เป็นร้อยละ 1.75 โดยจะเริ่มมีผลตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม 2567 เป็นต้นไป วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 มาตรการช่วยเหลือภาคอสังหาริมทรัพย์ โดย สานักงานกากับดูแลทางการเงินแห่งชาติจีน (NFRA) ได้ออกมาตรการจัดหาเงินทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์เพิ่มเติม โดยได้รวบรวมรายชื่อโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่มีสิทธิ์ได้รับการสนับสนุนทางการเงิน (City-level Project Whitelists) ซึ่งโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนต้องเป็นโครงการที่มีคุณภาพสูงและรายชื่อโครงการที่ได้รับการอนุมัติทางการเงินจะถูกส่งไปยังธนาคารในภูมิภาคเพื่อเร่งรัดการออกสินเชื่อโครงการจากธนาคาร โดยล่าสุด เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 ธนาคารพาณิชย์ได้ออกเงินกู้มูลค่า 1.786 หมื่นล้านหยวน ให้กับโครงการอสังหาริมทรัพย์ชุดแรก 83 โครงการ ที่มา: รวบรวมโดย สศช. ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 36 NESDC Economic Outlook ญี่ปุ่นถือเป็นประเทศที่มีระดับหนี้สาธารณะต่อ GDP สูงที่สุดในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลัก จากข้อมูล ณ มิถุนายน 2566 อยู่ที่ร้อยละ 226.9 โดยการเพิ่มขึ้นของหนี้สาธารณะของญี่ปุ่นเกิดขึ้นจากปัจจัยต่าง ๆ ที่สาคัญ ดังนี้ (1) ทศวรรษที่หายสาบสูญ (Lost Decade) ภายหลังวิกฤต ฟองสบู่ใน ปี 2538 ส่งผลให้สถาบันการเงินล้มละลายเป็นจานวนมาก ส่งผลต่อรายได้ของรัฐบาลปรับตัวลดลง ทั้งจากภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ลดลง จากผลประกอบการบริษัทที่ย่าแย่ รวมถึงบริษัทที่ต้องปิดตัวจานวนมาก การปฏิรูปภาษีในช่วงปี 2537 ที่มีการลดหย่อนภาษีหลายประเภท ขณะเดียวกันรายจ่ายของรัฐบาลยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งรวมไปถึงการเข้าช่วยเหลือสถาบันการเงินที่ล้มละลาย (2) ปัจจัยเชิงโครงสร้างของค่าใช้จ่ายรัฐบาล ได้แก่ (2.1) การเพิ่มขึ้นของเงินใช้จ่ายประกันสังคม ตามโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนเป็นสังคมสูงวัย (2.2) การขยายตัวต่ากว่าศักยภาพของเศรษฐกิจ (Output Gap) โดยเฉพาะผลิตภาพการผลิตรวมที่อยู่ในระดับต่า และ (2.3) การเข้าสู่กับดักสภาพคล่อง หลังจากรัฐบาลญี่ปุ่นและธนาคารกลางญี่ปุ่นดาเนินนโยบายการเงินการคลังร่วมกันเพื่อออกจากกับดักเงินฝืดและเพิ่มอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2556 ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้ดาเนินมาตรการ Quantitative and Qualitative Easing (QEE) โดยลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายสู่ระดับที่ต่า ควบคู่กับ การดาเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุลอย่างต่อเนื่อง และ (3) การดาเนินมาตรการทางการคลังเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจการเงินโลก ในปี 2551 และวิกฤตการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปี 2563 ซึ่งรัฐบาลขาดดุลการคลังสูงถึงร้อยละ 9.7 และร้อยละ 9.1 ต่อ GDP ในช่วงดังกล่าว เพื่อดาเนินมาตรการเพื่อลดผลกระทบจากวิกฤตทั้งสองครั้งส่งผลให้ระดับหนี้สาธารณะเร่งตัวขึ้นในช่วงดังกล่าว แม้ว่าหนี้สาธารณะของญี่ปุ่นจะสูงที่สุดในโลก แต่รัฐบาลของญี่ปุ่นยังไม่เข้าสู่สถานะล้มละลายทางการคลัง ส่วนหนึ่งเนื่องจากหนี้สาธารณะของญี่ปุ่นไม่ได้มาจากการใช้จ่ายทั่วไปของรัฐบาลเพียงอย่างเดียว แต่มาจากการออกพันธบัตรที่มากเกินไปจนส่งผลต่อค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับดอกเบี้ยพันธบัตร โดยการออกพันธบัตรรัฐบาลกลายเป็นรายได้หลักของรัฐบาลไม่ต่างจากภาษี ซึ่งรัฐบาลญี่ปุ่นสามารถรักษาความยั่งยืนทางการคลังได้ เนื่องจากพันธบัตรส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินท้องถิ่น โดยผู้ถือพันธบัตรรายใหญ่ที่สุดคือธนาคารกลางญี่ปุ่นซึ่งถือครองเพื่อการรักษาอัตราผลตอบแทนพันธบัตร (Yield Curve Control) ส่งผลให้หนี้สาธารณะไม่มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยนอกประเทศ นอกจากนี้ ค่าใช้จ่ายด้านอัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับต่าจากอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลที่อยู่ในระดับต่าจากการดาเนินนโยบายรักษาระดับค่าตอบแทนพันธบัตรตั้งแต่ปี 2556 โดยเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาล ระยะยาว 10 ปี ไว้ที่ร้อยละ 0 อย่างไรก็ดี การดาเนินนโยบายในรูปแบบดังกล่าวได้ส่งผลกระทบด้านลบต่อเศรษฐกิจ เนื่องจาก (1) การลดลงของการลงทุนภาคเอกชน (Crowding-out Effect) เนื่องจากแม้ว่าอัตราดอกเบี้ยจะอยู่ในระดับต่า แต่ภาวะเงินฝืดส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงสาหรับภาคธุรกิจอยู่ในระดับสูง (2) การขาดดุลคู่ (Twin Deficit) ของดุลการคลังและดุลการค้าส่งผลให้อัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริงแข็งค่าขึ้นและกระทบขีดความสามารถ ในการแข่งขันภาคการส่งออก (3) ช่องว่างนโยบายการเงิน (Monetary Policy Space) มีจากัดเนื่องจากการดาเนินนโยบายการเงินเข้มงวด ในการแก้ปัญหาอัตราเงินเฟ้อจะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายด้านดอกเบี้ยของรัฐบาล และ (4) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่ลดลงจากความกังวลเกี่ยวกับความสามารถในการชาระหนี้ของรัฐบาลซึ่งการที่ธนาคารกลางเป็นผู้ถือครองพันธบัตรหลักอาจนาไปสู่เงินเฟ้อระดับสูง (Hyperinflation) กรณีที่มี การผิดนัดชาระหนี้ จากสถานการณ์หนี้สาธารณะของญี่ปุ่นสะท้อนให้เห็นว่าประเทศที่มีปัญหาเชิงโครงสร้างจะทาให้ระดับหนี้สาธารณะปรับลดลงได้ยาก และเมื่อรัฐบาลมีความจาเป็นต้องดาเนินมาตรการทางการคลังเพื่อรองรับสถานการณ์ที่ไม่ปกติจะส่งผลให้ระดับหนี้สาธารณะในช่วงดังกล่าวปรับตัว เร่งขึ้นมาก ดังนั้น รัฐบาลประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศตลาดเกิดใหม่และกาลังพัฒนาที่ยังมีขนาดเศรษฐกิจไม่มากควรให้ความสาคัญกับ การแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลต่อสถานะทางการคลังของประเทศควบคู่ไปกับการดาเนินนโยบายเพื่อรักษาวินัยทางการคลัง โดยเฉพาะการปรับลดการขาดดุลการคลังและระดับหนี้สาธารณะ (Fiscal Consolidation) ในช่วงที่รัฐบาลยังมีช่องว่างทางนโยบายที่เพียงพอ สถานการณ์หนี้สาธารณะของญี่ปุ่น 75100125150175200225250254125442547255025532556255925622565หนี้สาธารณะของญี่ปุ่นต่อ GDP (ร้อยละ)05010015020025182525253225392546255325602567โครงสร้างรายรับรายจ่ายของรัฐบาลญี่ปุ่นรายได้จากพันธบัตรโครงสร้างพื้นฐาน รายได้จากพันธบัตรพิเศษรายจ่ายรัฐบาลทั่วไปรายรับทั่วไปจากภาษีLost Decadeวิกฤตการณ์การเงินโลก และแผ่นดินไหวในภูมิภาคตะวันออกCOVID-19 และสงครามรัสเซีย ยูเครนที่มา: IMF และกระทรวงการคลังญี่ปุ่นร้อยละล้านล้านเยน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 37 NESDC Economic Outlook เศรษฐกิจไทยในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวขึ้นจากปี 2566 โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการกลับมาขยายตัวของภาคการส่งออกสินค้า ตามการฟื้นตัวของการค้าโลก การขยายตัวในเกณฑ์ดีของอุปสงค์ภายในประเทศทั้งการอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน และการฟื้นตัว อย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยยังมีความเสี่ยงและข้อจากัดที่สาคัญซึ่งอาจทาให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวต่ากว่าที่คาดการณ์ ได้แก่ ข้อจากัดของแรงขับเคลื่อนทางการคลัง ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูง ความเสี่ยงจากปัญหาภัยแล้งต่อผลผลิตภาคเกษตร และความเสี่ยงจากความผันผวนของระบบเศรษฐกิจการเงินโลกที่อาจทาให้เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าและปริมาณการค้าโลกชะตัวลงมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ 5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2567 ปัจจัยสนับสนุน 1) การกลับมาขยายตัวของภาคการส่งออกสินค้าตามการฟื้นตัวของการค้าโลก สะท้อนจากมูลค่าการส่งออกของไทยที่กลับมาขยายตัวร้อยละ 4.6 ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 เป็นการขยายตัวครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส โดยมีสินค้าส่งออกสาคัญที่ขยายตัวดี อาทิ ข้าว ยางพารา คอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า และชิ้นส่วนยานยนต์ สอดคล้องกับการส่งออกของเศรษฐกิจหลักและเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียส่วนใหญ่ที่ฟื้นตัวดีขึ้นนับตั้งแต่ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 และมีแนวโน้มที่จะขยายตัวได้ดีขึ้นต่อเนื่องในปี 2567 ดังจะเห็นได้จากข้อมูลล่าสุดในเดือนมกราคม 2567 มูลค่าการส่งออกสินค้าของเกาหลีใต้ ไต้หวัน และเวียดนาม ขยายตัวร้อยละ 18.0 ร้อยละ 18.1 และร้อยละ 42.0 นับเป็น การขยายตัวสูงสุดในรอบ 20 เดือน 21 เดือน และ 33 เดือน ตามลาดับ เช่นเดียวกับการผลิตภาคอุตสาหกรรมที่เริ่มเห็นสัญญาณการปรับตัว ดีขึ้นอย่างช้า ๆ โดยในเดือนมกราคม 2567 ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อโลกภาคอุตสาหกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้นสู่ระดับ 50.0 สูงสุดในรอบ 17 เดือน สอดคล้องกับวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่เริ่มปรากฎชัดเจนมากขึ้นต่อเนื่องนับตั้งแต่ในช่วงครึ่งหลังของปี 2566 ประกอบกับ การเพิ่มขึ้นของคาสั่งซื้อในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลักและการสะสมสินค้าคงคลังภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา 2) การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการลงทุนภาคเอกชน สอดคล้องกับแนวโน้มการขยายตัวดีของการนาเข้า ในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 ทั้งมูลค่าและปริมาณการนาเข้ากลับมาขยายตัวร้อยละ 6.1 และร้อยละ 0.7 ตามลาดับ เป็นการขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส โดยเป็นการเพิ่มขึ้นของการนาเข้าสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง รวมทั้งการนาเข้าสินค้าทุน ร้อยละ 3.5 และร้อยละ 11.8 ตามลาดับ นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยสนับสนุนแนวโน้มการลงทุนภาคเอกชนที่สาคัญ ได้แก่ การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของยอดขอรับการส่งเสริมการลงทุนมูลค่า 8.4 แสนล้านบาทในปี 2566 สูงสุดในรอบ 5 ปี เพิ่มขึ้นต่อเนื่องจาก 5.9 แสนล้านบาท และ 4.7 แสนล้าน ในปี 2564 และ 2565 คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 43.4 และร้อยละ 25.3 ตามลาดับ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์และชิ้นส่วน และการเกษตรและแปรรูปอาหาร สอดคล้องกับการดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่สาคัญภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี ขณะเดียวกัน พบว่าข้อมูลยอดขายหรือเช่าพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม ในปีงบประมาณ 2566 (เดือนกันยายน 2565 - ตุลาคม 2566) มีจานวน 6,096 ไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 202.0 จากปีก่อนหน้า โดยเป็นพื้นที่ ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) จานวน 5,148 ไร่ และนอกพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 948 ไร่ คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 199.8 และร้อยละ 216.8 ตามลาดับ 3) การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญ ได้แก่ (1) แนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่คาดว่า จะทรงตัวในระดับต่า ล่าสุดในเดือนมกราคม 2567 อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ (-1.1) ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 อย่างไรก็ตาม คาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะปรับตัวเพิ่มขึ้นและกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายนโยบายการเงิน ซึ่งจะส่งผลให้การดาเนินนโยบายการเงินมีแนวโน้มที่จะผ่อนคลายลงมากขึ้น และสอดคล้องกับแนวโน้มทิศทางดอกเบี้ยของธนาคารกลางสาคัญ ๆ (2) การปรับตัวดีขึ้นของตลาดแรงงาน โดยในไตรมาสที่สี่ของปี 2566 อัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 0.81 ลดลงต่อเนื่องจากร้อยละ 0.99 ในไตรมาสก่อนหน้า และอยู่ในระดับต่าสุดในรอบ 32 ไตรมาส ขณะที่สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 อยู่ที่ร้อยละ 1.74 ของจานวนผู้ประกันตนทั้งหมด ลดลงจากร้อยละ 1.93 ในไตรมาสก่อนหน้า และ (3) ความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ระดับ 62.0 นับเป็นระดับสูงสุดในรอบ 46 เดือน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 38 NESDC Economic Outlook 4) การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว ตามการเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่คาดว่าจะกลับเข้าสู่ระดับปกติมากขึ้น สะท้อนจากข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวจากประเทศต้นทางส่วนใหญ่ที่มีจานวนใกล้เคียงกับช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโควิด-1928 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก (1) มาตรการยกเว้นการตรวจลงตราให้แก่กลุ่มนักท่องเที่ยวจากหลายประเทศสาคัญ ได้แก่ จีน รัสเซีย อินเดีย และไต้หวัน29 (2) มาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพิ่มเติมของภาครัฐที่จะกระตุ้นการท่องเที่ยวทั้งจากนักท่องเที่ยวต่างชาติและนักท่องเที่ยว ชาวไทย อาทิ งานเทศกาลน้าโลก (Maha Songkran World Water Festival) ซึ่งจะจัดในช่วงเดือนเมษายน 2567 และโครงการ 365 วัน มหัศจรรย์เมืองไทยเที่ยวได้ทุกวัน ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็นต้น 28 นักท่องเที่ยวสะสมตลอดทั้งปี 2566 จากประเทศมาเลเซีย เกาหลีใต้ อินเดีย และรัสเซีย อยู่ที่ 4.63 ล้านคน 1.66 ล้านคน 1.63 ล้านคน และ 1.48 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 109.7 ร้อยละ 87.8 ร้อยละ 81.6 และร้อยละ 99.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 ซึ่งเป็นช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโควิด-19 ตามลาดับ 29 มาตรการยกเว้นการตรวจลงตราของนักท่องเที่ยวจีนเป็นการถาวร ซึ่งมีผลตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 เป็นต้นไป มาตรการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับชาวรัสเซีย โดยพานักในประเทศไทยได้ไม่เกิน 30 วัน มีผลตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 - 30 เมษายน 2567 และมาตรการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับชาวอินเดียและไต้หวัน โดยพานักในประเทศไทยได้ไม่เกิน 30 วัน มีผลตั้งแต่ 10 พฤศจิกายน 2566 จนถึง 10 พฤษภาคม 2567 ในปี 2566 มูลค่าการขอรับการส่งเสริมการลงทุนผ่านคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน มีมูลค่ารวม 8.5 แสนล้านบาท สูงสุดในรอบ 5 ปี และขยายตัวในเกณฑ์สูงจากปีก่อนร้อยละ 43.4 เช่นเดียวกับยอดอนุมัติและยอดออกบัตรส่งเสริมการลงทุนที่มีมูลค่า 7.5 แสนล้านบาท และ 4.9 แสนล้านบาท ตามลาดับ โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากนโยบายสนับสนุนการลงทุนในประเทศภายใต้ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการลงทุนระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ที่มุ่งเน้นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยโดยการส่งเสริมการลงทุนผ่านอุตสาหกรรมเป้าหมาย 12 อุตสาหกรรม โดยอุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีมูลค่าขอรับการส่งเสริมการลงทุนสูงสุด ในปี 2566 ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (342,149 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 55.0) ยานยนต์และชิ้นส่วน (82,282 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 13.2) เกษตรและแปรรูปอาหาร (74,416 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.0) ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ (45,951 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.4) และเทคโนโลยีชีวภาพ (31,814 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.1) และหากพิจารณาการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในปี 2566 พบว่า มูลค่าเงินลงทุนรวมอยู่ที่ 6.6 แสนล้านบาท ขยายตัว ในเกณฑ์สูงถึงร้อยละ 71.7 โดยประเทศที่มีมูลค่าขอรับการส่งเสริมมากที่สุด ได้แก่ จีน 159,387 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 115.5 คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 24.0) สิงคโปร์ 123,385 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 189.0 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.6) สหรัฐฯ 83,954 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 70.9 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.7) และญี่ปุ่น 79,151 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.9 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.9) ตามลาดับ ทั้งนี้ มูลค่าการขอรับส่งเสริมการลงทุนที่เพิ่มขึ้นสอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจด้านการลงทุน ซึ่งอยู่ที่ระดับ 54.9 ในปี 2566 ขณะที่ดัชนี ความเชื่อมั่นทางธุรกิจโดยรวมกลับมาทรงตัวที่ระดับ 50.0 เป็นครั้งแรกในรอบ 5 ปี สะท้อนถึงความเชื่อมั่นภาคธุรกิจที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาข้อมูลการนาเข้าในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 พบว่า มูลค่าการนาเข้ากลับมาขยายตัวร้อยละ 6.1 ตามการกลับมาขยายตัวของ การนาเข้าสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาสที่ร้อยละ 3.5 สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของการลงทุนภาคเอกชนโดยเฉพาะในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือที่ขยายตัวเร่งขึ้นร้อยละ 5.2 ภายใต้การเพิ่มขึ้นต่อเนื่องของมูลค่าคาขอรับการส่งเสริมการลงทุน อนุมัติ และออกบัตรส่งเสริมการลงทุน รวมทั้งทิศทางการเริ่มกลับมาขยายตัวของการส่งออกและการนาเข้าสินค้า ตามแนวโน้มการกลับมาฟื้นตัวดีขึ้นของปริมาณการค้าโลก ทาให้คาดว่าการลงทุนภาคเอกชนในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวเร่งขึ้นภายหลังจากที่ชะลอลงในปี 2566 โดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย อาทิ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และยานยนต์และชิ้นส่วน ซึ่งมีมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนดังกล่าวรวมกันอยู่ที่ 403,489 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 76.3 ของมูลค่าโครงการต่างชาติที่ยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนในปี 2566 แนวโน้มการลงทุนภาคเอกชน: แรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในปี 2567 55.013.212.07.45.12.62.51.5สัดส่วนมูลค่าโครงการที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุน แยกตามอุตสาหกรรมเป้าหมาย (2566)เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์และชิ้นส่วนการเกษตรและแปรรูปอาหารปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพท่องเที่ยวการแพทย์ดิจิทัลระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์อากาศยานป้องกันประเทศ4.75.14.05.96.14.78.57.54.9ขอรับการส่งเสริม*การอนุมัติให้การส่งเสริม*การออกบัตรให้การส่งเสริมมูลค่าโครงการขอรับการส่งเสริมการลงทุน อนุมัติ และออกบัตรส่งเสริมการลงทุน256425652566แสนล้านบาทที่มา: สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน(BOI)หมายเหตุ: *ตัวเลขการขอรับและอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจะมีการปรับปรุงย้อนหลังตามข้อมูลจริงทุก ๆ ไตรมาส กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 39 NESDC Economic Outlook การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่สาคัญ ๆ ในช่วงปี 2564 - 2567 บริษัท สัญชาติ มูลค่าการลงทุน (ล้านดอลลาร์ สรอ.) ปีที่เริ่มก่อสร้าง กิจการที่เข้ามาลงทุน Ford สหรัฐฯ 900 2564/2565 ขยายและพัฒนาโรงงานผลิตรถยนต์ไฟฟ้า Chin Poon Industrial ไต้หวัน - 2565 ขยายโรงงานแผงวงจรพิมพ์ GWM จีน 71 2565 ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า Foxconn ไต้หวัน 1,000 2565 ขยายโรงงานผลิตรถยนต์ไฟฟ้าร่วมกับ ปตท. BYD จีน 491 2565 ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า SAIC จีน 782 2565 ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า United Overseas Bank สิงคโปร์ 3,653 2565 ธนาคารเครือ Citigroup Nippon Steel ญี่ปุ่น 419 2565 ผลิตเหล็กแปรรูป Aoshikang Technology จีน 172 2565 สร้างโรงงานผลิตแผงวงจรพิมพ์ Kingboard Holdings จีน 230 2565 ผลิตเส้นใยและผลิตผ้าที่มีคุณสมบัติพิเศษ Roland DG ญี่ปุ่น 3 2566 ขยายโรงงานเครื่องพิมพ์ SAIC Motor CP จีน 15 2566 ผลิตรถยนต์และแบตเตอรี่ไฟฟ้า Changan จีน 285 2566 ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า (พวงมาลัยขวา) และแบตเตอรี่ Neta จีน - 2566 ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า Compeq ไต้หวัน 29 2566 ผลิตแผงวงจรพิมพ์ Sihui Fuji Electronics จีน 72 2566 Unimicron ไต้หวัน 366 2566 Dynamic Electronics ไต้หวัน - 2566 ผลิตแผงวงจรในรถยนต์ Taiwan PCB Techvest ไต้หวัน - 2566 ผลิตแผงวงจรในรถยนต์ไฟฟ้า และแผงวงจรพิมพ์ Kuraray ญี่ปุ่น 310 2566 ผลิตเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเคมี Kararay and Sumitomo ญี่ปุ่น 520 2566 ผลิตวัสดุเรซินสาหรับรถยนต์ไฟฟ้า Murata Manufacturing ญี่ปุ่น 87 2566 ผลิตตัวเก็บประจุเซรามิคแบบหลายชั้น (ชิ้นส่วน EV) *NEXTDC ออสเตรเลีย - 2567/2568 ศูนย์จัดเก็บข้อมูล (Data Center) *CtrlS Datacenters อินเดีย - 2567/2568 ศูนย์จัดเก็บข้อมูล (Data Center) *Xingda Steel Cord จีน - 2567/2568 ผลิตลวดเหล็กสาหรับอุตสาหกรรม ที่มา: ASEAN Investment Report 2023 และ BOI รวบรวมโดย สศช. ณ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 หมายเหตุ: *โครงการที่ได้รับการอนุมัติส่งเสริมการลงทุนจาก BOI แล้ว โดยคาดว่าจะมีการลงทุนจริงเกิดขึ้นในปี 2567 - 2568 ภายหลังได้รับการออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในขั้นตอนต่อไป แนวโน้มการลงทุนภาคเอกชน: แรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในปี 2567 (ต่อ) กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 40 NESDC Economic Outlook 1) การลดลงของแรงขับเคลื่อนทางการคลัง โดยเป็นผลจากปัจจัยข้อจากัดที่สาคัญ ได้แก่ (1) ความล่าช้าของกระบวนการงบประมาณ ในปีงบประมาณ 2567 ในกรณีฐานคาดว่างบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2567 จะสามารถเริ่มเบิกจ่ายได้ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2567 หรือล่าช้าออกไปจากกรณีปกติ 7 เดือน เงื่อนไขดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะทาให้การเบิกจ่ายเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจได้ในช่วงไตรมาสที่สามและไตรมาสที่สี่ของปีงบประมาณ 2567 ซึ่งส่งผลให้การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายโดยเฉพาะงบลงทุนภาครัฐ ในปี 2567 ต่ากว่าปีงบประมาณก่อนหน้า ทั้งนี้ ในกรณีฐานคาดว่าในปีงบประมาณ 2567 จะมีเม็ดเงินจากการเบิกจ่ายงบลงทุน 4.61 แสนล้านบาทเทียบกับ 4.78 แสนล้านบาทในปีงบประมาณ 2566 และ (2) แนวโน้มการลดลงของพื้นที่ทางการคลัง (Fiscal Space) ท่ามกลางสัดส่วนหนี้สาธารณะของไทยที่อยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 61.3 ต่อ GDP ณ สิ้นสุดไตรมาสที่ 4 ปี 2566 ขณะที่รายได้ของรัฐบาลมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง โดยประมาณการสัดส่วนรายได้ของรัฐบาลต่อ GDP ภายใต้แผนการคลังระยะปานกลาง ปีงบประมาณ 2567 อยู่ที่ร้อยละ 14.7 ของ GDP เทียบกับร้อยละ 15.2 ในปีงบประมาณ 2562 ซึ่งจะเป็นข้อจากัดสาคัญต่อการใช้จ่ายของรัฐบาลและ การดาเนินนโยบายทางการคลังในระยะต่อไป 2) ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงและการเพิ่มขึ้นของภาระดอกเบี้ย โดยสัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loans: NPLs) และสัดส่วนสินเชื่อจัดชั้นพิเศษ (Special Mention Loans: SMLs) ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต่อสินเชื่อรวม ยังคงอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 7.4 และร้อยละ 12.0 เท่ากับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และเทียบกับร้อยละ 4.8 และร้อยละ 3.2 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ตามลาดับ เช่นเดียวกับสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ในไตรมาสที่สามของปี 2566 อยู่ที่ร้อยละ 90.9 ลดลงจากร้อยละ 91.5 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน แต่ยังคงสูงกว่าเมื่อเทียบกับร้อยละ 83.0 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ส่งผลให้สถาบันการเงินดาเนินมาตรการปรับโครงสร้างหนี้อย่างต่อเนื่อง30 เพื่อแก้ไขปัญหาหนี้อย่างยั่งยืนสาหรับกลุ่มธุรกิจ SMEs ลูกหนี้ภาคเกษตร รวมถึงครัวเรือนกลุ่มเปราะบางที่รายได้ยังฟื้นตัวช้า 3) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาจส่งผลให้ผลผลิตภาคเกษตรลดลงและราคาสินค้าเกษตรปรับตัวสูงขึ้น จากรายงานของ World Meteorological Organization (WMO) เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2566 ชี้ว่าสภาวะเอลนีโญ (El Ni?o) ที่เกิดขึ้นจะสิ้นสุดลงในเดือนเมษายน 2567 โดยอุณหภูมิผิวน้าทะเลเฉลี่ยในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ 20.97 องศาเซลเซียส สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ และเป็นอุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือนสูงสุดเป็นประวัติการณ์ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 8 สาหรับประเทศไทย อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยในช่วงเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ 26.3 องศาเซลเซียส สูงกว่าค่าเฉลี่ยปกติ 1.4 องศาเซลเซียส โดยอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อสินค้าเกษตรที่สาคัญในไตรมาสสุดท้ายของปี 2566 ได้แก่ ปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 18.3) ทุเรียน (ลดลงร้อยละ 37.2) อ้อย (ลดลงร้อยละ 11.1) ข้าว (ลดลงร้อยละ 3.7) และยางพารา (ลดลงร้อยละ 0.7) นอกจากนี้ ปรากฎการณ์เอลนีโญยังส่งผลให้ระดับน้าในคลองปานามาลดลงต่าสุด เป็นประวัติการณ์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการขนส่งและราคาสินค้านาเข้าของไทย โดยเฉพาะจากสหรัฐฯ เนื่องจากการขนส่งทางทะเล ผ่านคลองปานามาคิดเป็นร้อยละ 6.0 ของการค้าทางทะเลโลก และเป็นเส้นทางหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างสหรัฐฯ ฝั่งตะวันออกกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย โดยพบว่าจานวนเรือขนส่งสินค้าในเดือนมกราคม 2567 ที่เดินทางผ่านคลองปานามาลดลงร้อยละ 36.0 เทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน 4) ความเสี่ยงจากความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและการเงินโลกที่อาจทาให้เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกขยายตัวต่ากว่าสมมติฐานการประมาณการ โดยมีเงื่อนไขความเสี่ยงที่ต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) ความเสี่ยงจากสถานการณ์ ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ ทั้งสถานการณ์ความขัดแย้งในตะวันออกกลางระหว่างอิสราเอลและกลุ่มฮามาสที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง และถูกซ้าเติมโดยเหตุการณ์กลุ่มกบฏฮูตีในประเทศเยเมนเข้าโจมตีเรือขนส่งสินค้าในทะเลแดงตั้งแต่ช่วงกลางเดือนธันวาคม 2566 เป็นต้นมา ประกอบกับความยืดเยื้อของความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน และการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีนที่อาจยกระดับความรุนแรงจนทาให้เกิดการแบ่งแยกเชิงภูมิรัฐศาสตร์เศรษฐกิจ (Geo-economic fragmentation) มากขึ้นและส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิตโลกจนกระทบต่อแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจและการค้าโลก รวมทั้งความผันผวนในตลาดเงินตลาดทุนมากขึ้น (2) ความผันผวนของระดับราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ท่ามกลางความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โดยเฉพาะในภูมิภาคตะวันออกกลางที่ยังคงไม่แน่นอน รวมทั้งผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ซึ่งอาจสร้างแรงกดดันต่ออัตราเงินเฟ้อ ให้สูงขึ้นกว่าที่คาดและส่งผลต่อการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางให้ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับสูงต่อเนื่อง (3) การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนที่อาจรุนแรงกว่าที่คาดการณ์ไว้ จากปัญหาหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์และหนี้ภาครัฐที่อยู่ ในระดับสูง การชะลอตัวลงของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศจนมีความเสี่ยงต่อภาวะเงินฝืด รวมทั้งทิศทางการปรับเปลี่ยนแนวนโยบาย ที่มุ่งเน้นการพึ่งพาเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น สะท้อนจากการลดลงของการนาเข้าสินค้าของจีน ซึ่งอาจส่งผลต่อการฟื้นตัวของ 30 มาตรการแก้ปัญหาหนี้สินครัวเรือนอย่างยั่งยืน (Responsible Lending) เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป ประกอบไปด้วย (1) การปรับโครงสร้างหนี้ โดยเจ้าหนี้ต้องเสนอแนวทางปรับโครงสร้างหนี้ที่สอดคล้องกับความสามารถในการชาระหนี้อย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อให้เหลือเงินเพียงพอในการดารงชีพแก่ทั้งลูกหนี้ รายย่อยและ SMEs (2) การแก้ปัญหาหนี้เรื้อรังให้กลุ่มเปราะบาง โดยเจ้าหนี้ต้องช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางให้สามารถปิดจบหนี้ได้ ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 เป็นต้นไป และ (3) การคุ้มครองสิทธิลูกหนี้ให้เป็นธรรม อาทิ การห้ามคิดค่าปรับไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกาหนด (Prepayment Fee) รวมถึงการให้ข้อมูลสาคัญถูกต้องครบถ้วน เป็นต้น ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 41 NESDC Economic Outlook ภาคการส่งออกและภาคการผลิตของกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาและเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่ (4) การลดลงของพื้นที่ทางการคลัง ในหลายประเทศที่เผชิญกับภาระหนี้สินที่อยู่ในระดับสูงภายใต้อัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง ซึ่งอาจส่งผลให้จาเป็นต้องดาเนินการเพิ่ม ศักยภาพทางการคลัง (Fiscal consolidation) มากขึ้นและกลายเป็นข้อจากัดต่อแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในระยะต่อไป และ (5) ทิศทางการดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของหลายประเทศสาคัญที่ยังคงไม่แน่นอนและขึ้นอยู่กับผลการเลือกตั้งรัฐบาลใหม่31 31 การเลือกตั้งของสหรัฐฯ สหภาพยุโรป อินเดีย รัสเซีย และอินโดนีเซีย คาดว่าจะถูกจัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน มิถุนายน เมษายน มีนาคม และกุมภาพันธ์ 2567 ตามลาดับ เช่นเดียวกับการเลือกตั้งทั่วไปของสหราชอาณาจักรที่คาดว่าจะมีในช่วงครึ่งหลังของปี 2567 ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา จีนมีบทบาทสาคัญในการเป็นฐานการผลิตโลกเนื่องจากมีความได้เปรียบด้านต้นทุนการผลิตประกอบกับตลาด ภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่และความพร้อมในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต ส่งผลให้การส่งออกสินค้าของจีนขยายตัวต่อเนื่องและมีสัดส่วน การส่งออกเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.9 ของการส่งออกรวมของโลกในปี 2544 มาอยู่ที่ร้อยละ 9.6 ในปี 25611 ควบคู่ไปกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในเกณฑ์สูงเฉลี่ยร้อยละ 9.0 ในช่วงปี 2544-2561 อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากในช่วงปี 2562 เป็นต้นมา เศรษฐกิจจีนมีทิศทางชะลอลง และคาดว่า ในปี 2567 จะชะลอลงจากปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการชะลอตัวลงของอุปสงค์ภายในประเทศ ซึ่งทาให้กาลังการผลิตของประเทศอยู่ในระดับ ที่สูงกว่าความต้องการบริโภคในประเทศ (Over capacity) และส่งผลให้ระดับราคาสินค้าภายในประเทศปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่สภาวะ เงินฝืด ดังจะเห็นได้จากอัตราเงินเฟ้อในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ (-0.8) นับเป็นระดับต่าสุดในรอบ 14 ปี และเป็นการลดลงติดต่อกันเป็น เดือนที่สี่นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2566 ภาวะเงินฝืดและกาลังการผลิตส่วนเกินของจีนดังกล่าว คาดว่าจะส่งผลต่อแนวโน้มระดับราคาสินค้าโลกเนื่องจากจีนยังเป็นประเทศ ส่งออกสาคัญ ทั้งนี้ ดัชนีราคาสินค้าส่งออกและนาเข้า (Unit price index) ของจีนมีทิศทางลดลงต่อเนื่องตั้งแต่กลางปี 2564 เป็นต้นมา โดยเฉพาะราคาสินค้าส่งออกที่ลดลงอย่างมากและนับเป็นระดับต่าที่สุดนับตั้งแต่ปี 2552 โดยลดลงถึงร้อยละ 21.7 ในเดือนตุลาคม 2566 ซึ่งคาดว่าการลดลงของราคาสินค้าส่งออกของจีนจะส่งผ่านไปยังการลดลงของราคานาเข้าของประเทศคู่ค้า สะท้อนจากราคานาเข้าสินค้าและ ดัชนีราคาผู้ผลิต (Producer Price Index) ในหลายประเทศที่ปรับตัวลดลง ปัจจัยดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะสร้างแรงกดดันต่ออัตราเงินเฟ้อ ในประเทศคู่ค้าสาคัญของจีนให้อยู่ในระดับต่าหรือมีแนวโน้มปรับตัวลดลง (Deflationary Pressure) โดยเฉพาะกลุ่มเศรษฐกิจเกิดใหม่และ กาลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชียรวมทั้งประเทศไทย ที่เศรษฐกิจมีความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจจีนในระดับสูง ภาวะเงินฝืดของจีนกับผลกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อ 1 จีนเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกในปี 2544 และสหรัฐฯ เริ่มดาเนินมาตรการทางการค้ากับจีน (Trade War) ตั้งแต่ช่วงปี 2561 -10 -5 0 5 10 15 20 25 3mma (%) ดัชนีราคาผู้ผลิต จีน ญี่ปุ่น มาเลเซีย ไทย เกาหลีใต้ สหรัฐฯ -40 -20 0 20 40 60 %YoY สหรัฐฯ ญี่ปุ่น ไทย เกาหลีใต้ ราคาส่งออกจีน ดัชนีราคาสินค้าส่งออกของจีนเทียบกับดัชนีราคาสินค้านาเข้า ของประเทศต่าง ๆ ที่มา: CEIC และ U.S. Bureau of Labor Statistics ที่มา: CEIC กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 42 NESDC Economic Outlook แนวโน้มคุณภาพสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2566 ยอดคงค้างสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์มีมูลค่า 18.33 ล้านบาท ประกอบด้วย สินเชื่อปกติ 16.77 ล้านล้านบาท (ร้อยละ 91.5) สินเชื่อกล่าวถึงเป็นพิเศษ 1.07 ล้านล้านบาท (ร้อยละ 5.8) สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ 0.49 ล้านล้านบาท (ร้อยละ 2.7) ในจานวน ดังกล่าว เป็นสินเชื่อ SMEs มูลค่า 3.26 ล้านล้านบาท ซึ่งมีมูลค่าสินเชื่อจัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ 0.39 ล้านล้านบาท (ร้อยละ 12.0) และสินเชื่อ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ 0.24 ล้านล้านบาท (ร้อยละ 7.4) สาหรับสัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loans: NPLs) ต่อสินเชื่อรวมในระบบธนาคารพาณิชย์อยู่ที่ร้อยละ 2.70 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากร้อยละ 2.66 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาในรายสาขาธุรกิจ พบว่า สินเชื่อธุรกิจในสาขาก่อสร้าง สาขาเกษตร และ สาขาบริการ มีแนวโน้มสัดส่วน NPLs ต่อสินเชื่อรวมเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะในสาขาก่อสร้าง ที่สัดส่วน NPLs ต่อสินเชื่อรวมเพิ่มสูงขึ้นจาก ร้อยละ 7.8 ณ สิ้นปี 2564 เป็นร้อยละ 8.3 ณ สิ้นไตรมาส 3 ของปี 2566 นอกจากนี้ สัดส่วนสินเชื่อที่กล่าวถึงเป็นพิเศษ (Special Mention Loans : SMLs) ในสาขาก่อสร้างเร่งตัวสูงขึ้นเช่นกันจากร้อยละ 9.3 ณ สิ้นปี 2564 เป็นร้อยละ 14.2 ต่อสินเชื่อรวม ณ สิ้นไตรมาส 3 ของปี 2566 แสดงให้เห็นว่าคุณภาพสินเชื่อธุรกิจในสาขาก่อสร้างมีแนวโน้มว่าจะปรับลดลงต่อเนื่องในระยะต่อไป ข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องกับเครื่องชี้ภาวะ เศรษฐกิจในสาขาก่อสร้างที่ชะลอตัวลง อาทิ ดัชนีปริมาณการจาหน่ายวัสดุก่อสร้างในประเทศ จานวนที่อยู่อาศัยเหลือขายสะสมที่เพิ่มขึ้น เป็นต้น 16.77 1.07 0.49 8.00 10.00 12.00 14.00 16.00 18.00 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ สินเชื่อจัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ สินเชื่อจัดชั้นปกติ ล้านล้านบาท สินเชื่อภาคเอกชนคงค้างในระบบธนาคารพาณิชย์ จาแนกตามการจัดชั้น ที่มา: ธปท. 2.63 0.39 0.24 0.00 1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ สินเชื่อจัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ สินเชื่อจัดชั้นปกติ ล้านล้านบาท สินเชื่อคงค้างของธุรกิจ SMEs ในระบบธนาคารพาณิชย์ จาแนกตามการจัดชั้น ที่มา: ธทป. 1,061.60 1.4 12.9 205.9 48.5 193.1 19.3 57.9 0 44.6 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 เกษตร เหมืองแร่ การผลิต ก่อสร้าง ขายส่งและขายปลีก การเงิน อสังหาริมทรัพย์ ขนส่ง บริการ พันล้านบาท มูลค่าคงค้างสินเชื่อ SMLs จาแนกตามสาขาธุรกิจ ที่มา: ธปท. 13.7 1.9 9.6 14.2 9.2 0.4 7.8 4.1 11.4 0 5 10 15 20 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 เกษตร เหมืองแร่ การผลิต ก่อสร้าง ขายส่งและขายปลีก การเงิน อสังหาริมทรัพย์ ขนส่ง บริการ % ต่อสินเชื่อรวม สัดส่วนสินเชื่อ SMLs ต่อสินเชื่อรวมของสาขาก่อสร้างมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ที่มา: ธปท. 9.4 0.9 93.0 28.2 116.1 8.6 20.7 21.1 44.7 0 20 40 60 80 100 120 140 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 เกษตร เหมืองแร่ การผลิต ก่อสร้าง ขายส่งและขายปลีก การเงิน อสังหาริมทรัพย์ ขนส่ง บริการ พันล้านบาท มูลค่าคงค้างสินเชื่อ NPLs จาแนกตามสาขาธุรกิจ ที่มา: ธปท. 10.0 1.2 4.3 8.3 5.5 0.2 2.8 1.9 4.4 0 5 10 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 เกษตร เหมืองแร่ การผลิต ก่อสร้าง ขายส่งและขายปลีก การเงิน อสังหาริมทรัพย์ ขนส่ง บริการ % ต่อสินเชื่อรวม สัดส่วนสินเชื่อ NPLs ต่อสินเชื่อรวมของธุรกิจสาขาเกษตร ก่อสร้าง และบริการ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ที่มา: ธปท. กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 43 NESDC Economic Outlook แนวโน้มคุณภาพสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ (ต่อ) ขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาสินเชื่อภาคครัวเรือนที่จาแนกตามวัตถุประสงค์ พบว่า สัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ( NPLs) ต่อสินเชื่อภาคครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในสินเชื่อเกือบทุกวัตถุประสงค์ ประกอบด้วย สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อบัตรเครดิต และสินเชื่อ เพื่อเช่าซื้อรถยนต์ อย่างไรก็ดี สัดส่วนสินเชื่อที่กล่าวถึงเป็นพิเศษ (Special Mention Loan : SML) พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเฉพาะในสาขา รถยนต์ สอดคล้องกับสถาบันการเงินที่เพิ่มความเข้มงวดในการพิจารณาสินเชื่อในภาคครัวเรือนมากขึ้น โดยจากข้อมูลรายงานผลการสารวจภาวะ และแนวโน้มสินเชื่อ (Credit Conditions Report) ของธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุว่ามาตรฐานการให้สินเชื่อภาคครัวเรือนในไตรมาสที่ 4 ปี 2566 มีความเข้มงวดขึ้นในเกือบทุกประเภทสินเชื่อ และในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 สถาบันการเงินมีแนวโน้มว่าจะมีเพิ่มความเข้มงวดในการให้สินเชื่อ โดยเฉพาะสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์และสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย เนื่องจากมีความกังวลต่อความเสี่ยงด้านเครดิตของผู้กู้และหลักทรัพย์ค้าประกัน ในช่วงที่ผ่านมา รัฐบาลได้มีมาตรการต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือด้านต้นทุนให้แก่ผู้ประกอบการ อาทิ การลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียน สิทธิสาหรับที่อยู่อาศัย มาตรการลดราคาน้ามันขายปลีก เป็นต้น ขณะเดียวกัน ในภาคครัวเรือน ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกมาตรการ แก้ไขหนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืนในปี 2566 โดยให้ความสาคัญกับการยกระดับวงจรการก่อหนี้ทั้งหนี้ในและนอกระบบ ตั้งแต่ก่อนเป็นหนี้ กาลังจะเป็นหนี้ ระหว่างเป็นหนี้ เมื่อหนี้มีปัญหา และเมื่อมีการขาย/ฟ้องหนี้ และในปี 2567 จะดาเนินการปรับโครงสร้างหนี้ให้กับลูก หนี้ ที่เริ่มประสบปัญหาเพื่อบรรเทาสถานการณ์การเพิ่มขึ้นของ NPL รวมทั้งช่วยเหลือลูกหนี้เรื้อรังกลุ่มเปราะบางให้สามารถปิดจบหนี้ได้เร็วขึ้น ตลอดจนคุ้มครองสิทธิของลูกหนี้ให้ได้รับความเป็นธรรมยิ่งขึ้น อาทิ การห้ามคิดค่าปรับไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกาหนด ( Prepayment fee) การห้ามคิดดอกเบี้ยบนดอกเบี้ยสาหรับสินเชื่อที่ให้แก่ลูกค้ารายย่อย เป็นต้น 121.4 172.8 10.0 58.3 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 200 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 SMLs ที่อยู่อาศัย SMLs รถยนต์ SMLs บัตรเครดิต SMLs ส่วนบุคคลอื่น ๆ พันล้านบาท มูลค่าคงค้างสินเชื่อ SMLs ของภาคครัวเรือน จาแนกตามวัตถุประสงค์ ที่มา: ธปท. 4.5 14.6 4.5 4.5 0 5 10 15 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2561 2562 2563 2564 2565 2566 SMLs ที่อยู่อาศัย SMLs รถยนต์ SMLs บัตรเครดิต SML ส่วนบุคคลอื่น ๆ % ต่อสินเชื่อรวม สัดส่วนสินเชื่อ SMLs ต่อสินเชื่อรวมของรถยนต์เร่งตัวขึ้นตั้งแต่ปี 2563 ที่มา: ธปท. 17.9 5.0 1.5 6.3 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 %NPLs ที่อยู่อาศัย %NPLs รถยนต์ %NPLs บัตรเครดิต %NPLs บริโภคอื่นๆ พันล้านบาท มูลค่าคงค้างสินเชื่อ NPLs ของภาคครัวเรือน จาแนกตามวัตถุประสงค์ ที่มา: ธปท. 3.2 2.1 3.3 2.4 1.4 1.8 2.2 2.6 3.0 3.4 3.8 4.2 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 %NPLs ที่อยู่อาศัย %NPLs รถยนต์ %NPLs บัตรเครดิต %NPLs บริโภคอื่นๆ % ต่อสินเชื่อรวม สัดส่วนสินเชื่อ NPLs ต่อสินเชื่อรวมของสินเชื่อครัวเรือน ส่วนใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเกือบทุกสาขา ที่มา: ธปท. กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 44 NESDC Economic Outlook ข้อสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2567 1) เศรษฐกิจโลกในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.7 เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา และชะลอลงจากร้อยละ 3.0 ในปี 2566 ขณะที่ปริมาณการค้าโลกคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.0 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.5 ในปี 2566 ตามแนวโน้มการฟื้นตัวของ ภาคการค้าระหว่างประเทศ สอดคล้องกับการกลับมาขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของหลายประเทศในเดือนมกราคม 2567 และการเพิ่มขึ้นของ คาสั่งซื้อในประเทศอุตสาหกรรมหลักและสินคงคลังภาคอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม เป็นการปรับลดจากสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.2 เนื่องจากการฟื้นตัวของภาคอุตสาหกรรมการผลิตมีแนวโน้มล่าช้ากว่าในสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา 2) ค่าเงินบาทเฉลี่ยในปี 2567 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 34.3 - 35.3 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ปรับจากสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อน ที่ 34.0 - 35.0 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. โดย ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 ค่าเงินบาทอยู่ที่ 36.1 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ส่งผลให้ค่าเฉลี่ยในช่วงวันที่ 1 - 16 กุมภาพันธ์ 2567 อยู่ที่ 35.8 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าเมื่อเทียบกับ 35.2 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในเดือนมกราคม 2567 สอดคล้องกับการส่งสัญญาณของธนาคารกลางสหรัฐฯ ที่จะยังไม่ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระยะอันใกล้ จนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะมีแนวโน้มปรับลดลงสู่เป้าหมายนโยบายการเงินอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ในช่วงครึ่งหลังของปี 2567 คาดว่าค่าเงินบาทมีแนวโน้มที่จะแข็งค่าขึ้น ตามการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยวและแนวโน้มการลงทุนภาคเอกชนที่คาดว่าจะขยายตัวต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลให้การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยปรับเพิ่มขึ้น รวมถึงแนวโน้มการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในช่วงครึ่งหลังของปีที่จะส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์ สรอ. มีแนวโน้มที่จะอ่อนค่าลง อย่างไรก็ตาม ค่าเงินบาทและค่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคยังมีแนวโน้มที่จะผันผวนหากสถานการณ์ ในตะวันออกกลางมีความยืดเยื้อและทวีความรุนแรงมากขึ้นและสร้างแรงกดดันต่อเงินเฟ้อให้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนทาให้ธนาคารกลางหลักต้องดาเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัวอย่างต่อเนื่อง 3) ราคาน้ามันดิบดูไบในปี 2567 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 80.0 - 90.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เท่ากับสมมติฐานในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา และเพิ่มขึ้นจากเฉลี่ย 82.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในปีก่อน โดยข้อมูลล่าสุดในเดือนมกราคม 2567 ราคาน้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยู่ที่ 78.9 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในช่วงที่เหลือของปีราคาน้ามันดิบในตลาดโลกยังมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นตามสถานการณ์ความขัดแย้งในตะวันออกกลางที่ยังมีความไม่แน่นอนและมีความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบเป็นวงกว้างมากขึ้น นอกจากนี้ การปรับลดกาลังการผลิตของกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ามันและพันธมิตร (OPEC+) ยังเป็นข้อจากัดทางด้านอุปทานที่จะส่งผลต่อการเพิ่มของราคาน้ามันดิบในปี 2567 อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัย ที่อาจส่งผลให้ราคาน้ามันดิบยังไม่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามแนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจีน การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของปริมาณการผลิตน้ามันดิบและก๊าซของสหรัฐฯ32 รวมถึงการลาออกจากการเป็นสมาชิก OPEC ของ ประเทศแองโกลาที่สะท้อนว่ากลุ่มประเทศสมาชิกบางส่วนไม่ต้องการที่จะปรับลดกาลังการผลิตเท่าที่มีการตกลงในการประชุม 4) ราคาสินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์ สรอ. ในปี 2567 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.0 - 1.0 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 1.2 แต่เป็น การคงสมมติฐานจากการประมาณการครั้งก่อน ขณะที่ราคาสินค้านาเข้ามีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 0.7 - 1.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.6 ในปี 2566 และเป็นการปรับเพิ่มจากร้อยละ 0.5 - 1.5 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามแนวโน้มค่าขนส่งทางทะเลที่เพิ่มขึ้นจากสถานการณ์ความไม่สงบในตะวันออกกลาง รวมถึงปัญหาภาวะขาดแคลนน้าในการบริหารจัดการการขนส่งในคลองปานามา ในขณะที่ราคานาเข้ายังมีแรงกดดันด้านต่าจากระดับราคาสินค้าส่งออกของประเทศจีนที่ยังปรับลดลงต่อเนื่องจากภาวะเงินฝืดและกาลังการผลิตส่วนเกินของจีน ซึ่งจะเป็นแรงกดดันต่อระดับราคาสินค้านาเข้าและดัชนีราคาผู้ผลิตให้ปรับตัวลดลง 32 สานักงานสารสนเทศด้านการพลังงานของสหรัฐฯ (U.S. Energy Information Administration: EIA) คาดการณ์ว่าปริมาณน้ามันดิบที่ผลิตได้ในสหรัฐฯในปี 2567 จะอยู่ที่เฉลี่ย 13.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก 12.9 ล้านบาร์เรลต่อวันในปี 2566 ตารางสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2567 ข้อมูลจริง ประมาณการ 2567 2564 2565 2566 ณ 20 พ.ย. 2566 ณ 19 ก.พ. 2567 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก (%)1/ 5.8 3.5 3.0 2.7 2.7 สหรัฐอเมริกา 5.8 1.9 2.5 1.4 1.8 ยูโรโซน 5.9 3.4 0.5 0.9 0.6 ญี่ปุ่น 2.6 1.0 1.9 0.8 0.8 จีน 8.4 3.0 5.2 4.3 4.3 อัตราการขยายตัวปริมาณการค้าโลก (%) 10.9 5.1 0.5 3.2 3.0 อัตราแลกเปลี่ยน 32.0 35.1 34.8 34.0 - 35.0 34.3 - 35.3 ราคาน้ามัน (ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล) 68.8 97.0 82.0 80.0 - 90.0 80.0 - 90.0 ราคาส่งออก (%) 3.3 4.2 1.2 0.0 - 1.0 0.0 - 1.0 ราคานาเข้า (%) 8.3 12.7 0.6 0.5 - 1.5 0.7 - 1.7 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ล้านคน) 0.4 11.2 28.2 35.0 35.0 รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ล้านล้านบาท)2/ 0.09 0.46 1.03 1.30 1.22 หมายเหตุ: 1/ เศรษฐกิจโลกคานวณ Trade weight เฉพาะ 15 เศรษฐกิจคู่ค้าสาคัญ ในปี 2559-2561 2/ ธปท. ปรับปรุงการคานวณรายได้ภาคการท่องเที่ยว ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 45 NESDC Economic Outlook 5) รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2567 คาดว่าจะอยู่ที่ 1.22 ล้านล้านบาท ปรับลดลงจาก 1.30 ล้านล้านบาทในการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับลดสมมติฐานค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยว และเพิ่มขึ้นจาก 1.03 ล้านล้านบาทในปี 2566 ขณะที่นักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2567 คาดว่าจะเดินทางเข้ามาจานวนทั้งสิ้น 35 ล้านคน เท่ากับประมาณการครั้งก่อน เพิ่มขึ้นจาก 28 ล้านคนในปี 2566 สอดคล้องกับนักท่องเที่ยวในหลายประเทศที่มีแนวโน้มเข้าสู่ระดับเดียวกับช่วงก่อนการแพร่ระบาดมากขึ้น อาทิ มาเลเซีย สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และรัสเซีย รวมทั้งปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการยกเว้นการตรวจลงตราให้แก่นักท่องเที่ยว33 อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวยังมีข้อจากัด จากจานวนเที่ยวบินที่เดินทางเข้าสู่ประเทศไทยที่ยังฟื้นตัวได้อย่างล่าช้าเมื่อเทียบกับช่วงก่อนหน้าการแพร่ระบาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเที่ยวบินจากจีนและญี่ปุ่นส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวจากสองประเทศต้นทางดังกล่าวยังฟื้นตัวได้ล่าช้ากว่าประเทศต้นทางอื่น 6) การเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย (1) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2567 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 90.5 เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 97.0 ในปีงบประมาณ 2566 แบ่งเป็น อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาร้อยละ 97.0 เทียบกับร้อยละ 101.6 ในปีงบประมาณ 2566 ขณะที่รายจ่ายลงทุนคาดว่าจะมีอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 65.0 เทียบกับร้อยละ 77.7 ในปีงบประมาณ 2566 และสาหรับปีงบประมาณ 2568 คาดว่าในไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2568 จะมีอัตรา การเบิกจ่ายงบประมาณอยู่ที่ร้อยละ 26.5 โดยแบ่งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาที่ร้อยละ 29.1 และงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 17.1 ตามลาดับ (2) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีในปีงบประมาณ 2567 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 86.7 ของงบประมาณทั้งหมด เทียบกับร้อยละ 91.3 ในปีงบประมาณ 2566 แบ่งเป็น อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนร้อยละ 95.0 และร้อยละ 85.0 ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด ตามลาดับ และ (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปี 2567 (15 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2566 - ธันวาคม 2567) คาดว่าจะมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 75 ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด หรือคิดเป็นวงเงิน 3.27 แสนล้านบาท เทียบกับ 3.719 แสนล้านบาท ในปีก่อนหน้า โดยเป็นการปรับลดสมมติฐานอัตราการเบิกจ่ายจากร้อยละ 80 ในการประมาณการครั้งก่อน ประมาณการเศรษฐกิจปี 2567 เศรษฐกิจไทยในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.2 - 3.2 (ค่ากลางการประมาณการที่ร้อยละ 2.7) เทียบกับร้อยละ 1.9 ในปี 2566 อัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 0.9 - 1.9 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.4 ของ GDP ในการแถลงข่าววันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2567 จะขยายตัวร้อยละ 2.2 - 3.2 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 2.7) ซึ่งเป็นการปรับลดจากการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 2.7 - 3.7 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 3.2) ในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2566 รวมทั้งปรับเปลี่ยนองค์ประกอบ การขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับเงื่อนไขและการปรับเปลี่ยนสมมติฐานประมาณการที่สาคัญ ๆ ดังนี้ 1) การปรับลดสมมติฐานปริมาณการค้าโลกจากการขยายตัวร้อยละ 3.2 ในการประมาณการครั้งก่อน เป็นร้อยละ 3.0 ในการประมาณการครั้งนี้ ตามแนวโน้มความล่าช้าในการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม ในหลายประเทศ สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ ภาคการผลิตที่แม้จะปรับตัวดีขึ้น แต่ยังอยู่ต่ากว่าระดับ 50 ประกอบกับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นจากสถานการณ์ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางนับตั้งแต่ในช่วงเดือนธันวาคม 2566 ซึ่งส่งผลต่อต้นทุนการขนส่งทางทะเลและมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อเนื่องให้ปริมาณการค้าโลกขยายตัวต่ากว่าในสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยในกรณีฐานคาดว่าปริมาณการส่งออกสินค้าในปี 2567 จะขยายตัวร้อยละ 2.4 ลดลงจากร้อยละ 3.3 ในการประมาณการครั้งก่อน แต่เป็นการปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 2.9 ในปี 2566 2) การปรับสมมติฐานรายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ จาก 1.30 ล้านล้านบาทในการประมาณการครั้งก่อน เป็น 1.22 ล้านล้านบาท ในการประมาณการครั้งนี้ ตามการลดลงของรายจ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยว ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากจานวนนักท่องเที่ยวจีนซึ่งมีรายจ่ายต่อหัวสูง มีแนวโน้มการฟื้นตัวที่ล่าช้ากว่าในสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา รวมทั้งการลดลงของระยะเวลาการพานักของนักท่องเที่ยวต่างชาติ ซึ่งส่งผลให้มีการปรับลดประมาณการขยายตัวของการส่งออกบริการจากร้อยละ 15.6 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมาเป็นร้อยละ 11.5 3) การปรับสมมติฐานการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจา ให้สอดคล้องกับการลดลงของเม็ดเงินเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในช่วงสามไตรมาสสุดท้ายของปีงบประมาณ 2567 ภายหลังจากที่ได้เร่งการเบิกจ่ายไปมากในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2567 สะท้อนจากอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 31.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายทั้งหมด สูงกว่าที่คาดไว้ที่ร้อยละ 15.0 ในการประมาณการ ครั้งก่อน โดยคาดว่าการอุปโภคภาครัฐบาลจะขยายตัวร้อยละ 1.5 ปรับลดลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.2 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา 33 มาตรการยกเว้นการตรวจลงตราของนักท่องเที่ยวจีนเป็นการถาวร ซึ่งมีผลตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 เป็นต้นไป มาตรการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับชาวรัสเซีย โดยพานัก ในประเทศไทยได้ไม่เกิน 30 วัน มีผลตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 จนถึง 30 เมษายน 2567 และมาตรการยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับชาวอินเดียและไต้หวัน โดยพานักในประเทศไทยได้ไม่เกิน 30 วัน มีผลตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน 2566 จนถึง 10 พฤษภาคม 2567 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 46 NESDC Economic Outlook 1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค ประกอบด้วย (1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.0 ต่อเนื่องจากการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.1 ในปี 2566 โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง ความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่สูงขึ้น และแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่า อย่างไรก็ตาม เป็นการปรับลดจากร้อยละ 3.2 ในการประมาณการครั้งก่อน เพื่อให้สอดคล้องกับการลดลงของฐานรายได้จากการส่งออกและการผลิตอุตสาหกรรมที่ปรับลดลงจากประมาณการครั้งก่อน และ (2) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคภาครัฐบาล คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.6 ในปี 2566 และเป็นการปรับลดจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา ตามการลดลงของเม็ดเงินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในช่วงสามไตรมาสที่เหลือของปีงบประมาณ 2567 ภายหลังจากการเร่งเบิกจ่ายไปมากในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2567 2) การลงทุนรวม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.2 ในปี 2566 โดย (1) การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัว ร้อยละ 3.5 ต่อเนื่องจากร้อยละ 3.2 ในปี 2566 และเป็นการปรับเพิ่มจากร้อยละ 2.8 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับ การปรับตัวดีขึ้นของมูลค่าโครงการที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุนและออกบัตรส่งเสริมการลงทุน และการกลับมาขยายตัวของการนาเข้า ในหมวดสินค้าทุนและหมวดวัตถุดิบ และสินค้าขั้นกลาง และ (2) การลงทุนภาครัฐ คาดว่าจะปรับตัวลดลงร้อยละ 1.8 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน และเป็นการลดลงต่อเนื่องจากร้อยละ 4.6 ในปี 2566 โดยเป็นผลมาจากความล่าช้าของกระบวนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 และการปรับลดสมมติฐานอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ 3) มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะกลับมาขยายตัวร้อยละ 2.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.7 ในปี 2566 และปรับลดจากร้อยละ 3.8 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยคาดว่าปริมาณการส่งออกจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.9 ในปี 2566 แต่เป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 3.3 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการปรับลดสมมติฐานปริมาณการค้าโลก ขณะที่ราคาส่งออกคาดว่าจะเพิ่มขึ้นในช่วงร้อยละ 0.0 - 1.0 เท่ากับประมาณการครั้งก่อน และชะลอลงจากร้อยละ 1.2 ในปี 2566 เมื่อรวมกับการส่งออกบริการที่มีแนวโน้มที่จะขยายตัวอย่างต่อเนื่องตามการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว ส่งผลให้ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 5.0 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.1 ในปี 2566 และปรับลดลงจากร้อยละ 6.2 ในการประมาณการครั้งก่อน 4) มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.1 ในปี 2566 และปรับลดลงจากร้อยละ 4.7 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยคาดว่าปริมาณการนาเข้าจะขยายตัวร้อยละ 3.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.6 ในปี 2566 แต่เป็นการปรับลดจากร้อยละ 3.7 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการปรับลดการขยายตัวของการส่งออก ในขณะที่ราคานาเข้าคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.7 - 1.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.6 ในปีก่อนหน้า และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.5 - 1.5 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากแนวโน้มการเร่งขึ้นของต้นทุนค่าขนส่งสินค้า เมื่อรวมกับการนาเข้าบริการคาดว่าปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการในปี 2567 จะขยายตัวร้อยละ 3.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.2 ในปี 2566 และเป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 6.3 ในการประมาณการครั้งก่อน 5) ดุลการค้า คาดว่าจะเกินดุล 1.34 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการเกินดุล 1.70 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2566 เมื่อรวมกับดุลบริการ คาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 2567 จะเกินดุล 7.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือคิดเป็นการเกินดุลร้อยละ 1.4 ของ GDP เทียบกับ การเกินดุล 6.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือร้อยละ 1.3 ของ GDP ในปี 2566 6) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยในปี 2567 คาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 0.9 - 1.9 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 1.4) ใกล้เคียงกับร้อยละ 1.3 ในปี 2566 แต่เป็นการปรับลดจากร้อยละ 1.7 - 2.7 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 2.2) ตามแนวโน้ม การลดลงของแรงกดดันจากราคาอาหารสดและผลจากมาตรการภาครัฐ องค์ประกอบของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 47 NESDC Economic Outlook การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในปี 2567 ควรให้ความสาคัญกับ 1) การติดตาม ตรวจสอบ และเฝ้าระวังการทุ่มตลาด รวมทั้งการใช้มาตรการและวิธีการทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมจากประเทศผู้ส่งออกสาคัญ ควบคู่ไปกับการทบทวนมาตรการทางภาษีให้มีความเหมาะสม และการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้านาเข้าให้มีความรัดกุมมากขึ้น รวมทั้งการดาเนินการอย่างเคร่งครัดกับผู้กระทาความผิดลักลอบนาเข้าสินค้าที่ผิดกฎหมาย หลบเลี่ยงภาษี หรือใช้ช่องว่างทางกฎหมายต่าง ๆ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับธุรกิจ 2) การยกระดับศักยภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ผู้ประกอบการภายในประเทศ โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าผ่านการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อเป็นกลไกหลัก ในการสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างเอกลักษณ์ของสินค้า ให้ตรงตามความต้องการของตลาดและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ง ใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจะช่วยสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ควรสร้างการรับรู้และส่งเสริมให้ผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs เตรียมความพร้อมในการเข้าถึงสินเชื่อดิจิทัลแฟ็กเตอริงเพื่อเป็นทางเลือกในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนอีกทาง 3) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าที่มีศักยภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดโลกเพิ่มขึ้น อาทิ สินค้าที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสินค้าที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์อันเนื่องมาจากความไม่แน่นอนจากความขัดแย้งในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ รวมทั้งสินค้าที่มีโอกาสได้รับประโยชน์จากมาตรการกีดกันทางการค้า ขณะเดียวกัน ควรเร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตวัตถุดิบและสินค้า ขั้นกลางในประเทศให้มีความพร้อมในการรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมเป้าหมาย และสามารถเชื่อมโยงสินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศ กับห่วงโซ่การผลิตโลกได้มากขึ้น นอกจากนี้ ควรให้ผู้ประกอบการสินค้าที่มีสัญญาณการลดลงของความต้องการในตลาดโลกและมีอัตราการใช้กาลังการผลิตต่าต่อเนื่องพิจารณาทบทวนและปรับเปลี่ยนแผนการผลิตและการส่งออกสินค้า ควบคู่ไปกับการปรับโครงสร้างการผลิตไปสู่ การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อนาไปสู่การผลิตสินค้ามูลค่าสูงที่สามารถหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้านราคาและมีมาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาดและข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า รวมถึงการช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนผ่านของเทคโนโลยีการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอุตสาหกรรมให้สามารถปรับตัวสู่ภาคการผลิตในอนาคต 4) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2564 - 2566 ควบคู่ไปกับการเร่งรัดอนุมัติโครงการที่ได้เสนอขอรับการส่งเสริมการลงทุนในช่วงก่อนหน้า รวมทั้งการเร่งรัดให้ผู้ประกอบการโรงงานที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานสามารถเริ่มประกอบกิจการให้เร็วขึ้น โดยเฉพาะโรงงานขนาดกลางและขนาดใหญ่ เพื่อให้เกิดการเพิ่มกาลังการผลิต การจ้างงาน และการลงทุนใหม่ นอกจากนี้ ยังควรมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาที่นักลงทุนและผู้ประกอบการต่างประเทศเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและการประกอบธุรกิจ ที่สาคัญ โดยเฉพาะขั้นตอนกระบวนการ และข้อบังคับ/กฎหมาย รวมทั้งปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต ควบคู่ไปกับการพัฒนากาลังแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย 5) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ โดยจัดทาปฏิทินการท่องเที่ยวตลอดทั้งปี และการสร้างการรับรู้ต่อมาตรการ Long-term resident visa (LTR) เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและมีกาลังซื้อสูงโดยเฉพาะกลุ่มที่ต้องการเข้ามาพานักระยะยาว นอกจากนี้ ควรเร่งรัดการส่งเสริมการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวให้มากขึ้นโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากประเทศในเอเชีย ยุโรปและอเมริกาเหนือ รวมทั้ง การเตรียมความพร้อมของปัจจัยแวดล้อมทางกายภาพที่สาคัญ อาทิ สนามบิน/เที่ยวบิน กระบวนการตรวจคนเข้าเมือง โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก การบริหารจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการรักษามาตรฐาน ความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว เพื่อรองรับการกลับมาของนักท่องเที่ยวและยกระดับศักยภาพและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืน 6) การดาเนินมาตรการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกรผ่านการส่งเสริมรูปแบบและพัฒนาระบบประกันภัยพืชผลจากความเสี่ยงของ สภาพอากาศให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการเพิ่มส่วนแบ่งให้เกษตรกรมีรายได้จากการจาหน่ายผลผลิตขั้นสุดท้ายมากขึ้น ควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชและใช้วิธีการผลิตที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และปรับเปลี่ยนไปสู่การผลิตที่มีมูลค่าสูง ขณะเดียวกัน ควรมุ่งเน้นการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเพื่อยกระดับมูลค่าเพิ่มและผลิตภาพในการผลิต การกระจายความเสี่ยงในการผลิตอย่างเหมาะสม และสนับสนุนความสามารถในการแข่งขันของสินค้าในภาคเกษตร 7) การรักษาแรงขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ โดยให้ความสาคัญกับ (1) การเร่งรัดเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายเหลื่อมปีและงบลงทุนรัฐวิสาหกิจในช่วงที่พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 ยังไม่มีผลบังคับใช้ (2) การเร่งรัดกระบวนการงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2567 ไม่ให้ล่าช้าไปกว่าแผนที่กาหนดไว้ ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมของโครงการ ให้มีความพร้อมสาหรับการจัดซื้อจัดจ้างและการเบิกจ่ายได้โดยเร็วหลังจากพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 มีผลใช้บังคับ และ (3) การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐ เพื่อให้งบประมาณประจาปี 2567 สามารถเบิกจ่ายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90.4 ของงบประมาณรายจ่ายทั้งหมด โดยแบ่งเป็น อัตราเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาร้อยละ 97.0 และงบประมาณรายจ่ายลงทุนร้อยละ 65.0 ตามลาดับ 6. ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาค กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 48 NESDC Economic Outlook บทบาทด้านการค้าระหว่างประเทศของจีนและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: นัยยะต่อการค้าระหว่างประเทศของไทย ในปี 2566 จีนมีมูลค่าการส่งออก 3,380,024 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงจาก 3,544,434 ล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2565 คิดเป็นการลดลงร้อยละ 4.6 ขณะที่มีมูลค่าการนาเข้า 2,556,802 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงจาก 2,706,507 ดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นการลดลงร้อยละ 5.5 จากในปี 2565 การลดลงของการนาเข้าที่เร็วกว่าการส่งออกของจีนส่งผลให้จีนมีดุลการค้าเกินดุล 823,223 ดอลลาร์ สรอ. โดยจีนมีการเกินดุลการค้าต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 1994 ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาโครงสร้างการส่งออกในตลาดโลกพบว่า จีนมีสัดส่วนการส่งออกที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉลี่ยในช่วงปี 2564-2566 (ในช่วงหลังโควิด-19) มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 22.3 ของการส่งออกรวมในตลาดโลก เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนจากร้อยละ 17.6 ในช่วงปี 2553-2559 (ในช่วงก่อนสงครามการค้า) ในขณะที่กลุ่มประเทศ ASEAN มีสัดส่วนการส่งออกเฉลี่ยในช่วงปี 2564-2566 อยู่ที่ร้อยละ 4.8 ลดลงจากเฉลี่ยร้อยละ 6.2 ในช่วงปี 2553 - 2559 ขณะที่หากพิจารณาด้านการนาเข้า พบว่า จีนมีสัดส่วนการนาเข้าลดลง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากแนวนโยบายในการปรับโครงสร้างของเศรษฐกิจจีนที่มุ่งเน้นการพึ่งพาการผลิตภายในประเทศมากขึ้น ทาให้สัดส่วนของมูลค่าการนาเข้าสินค้าของจีนในช่วงหลังโควิด-19 อยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 14.3 ของการนาเข้ารวมทั่วโลก ลดลงจากช่วงที่มีการแพร่ระบาด (2562 - 2563) ที่มีสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 14.7 ส่วนกลุ่มประเทศ ASEAN มีสัดส่วนการนาเข้าสินค้าเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 9.1 ในช่วงหลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยร้อยละ 8.8 ในช่วงก่อนการแพร่ระบาด และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าจีนมีแนวโน้มลดขนาดของการพึ่งพาสินค้าจากตลาดโลก ขณะที่ประเทศในกลุ่ม ASEAN กลับมีแนวโน้มการพึ่งพาสินค้าจากตลาดโลกเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการนาเข้าสินค้าจากประเทศจีนซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 23.0 ของการนาเข้ารวมของ ASEAN เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 18.1 ในช่วงก่อนสงครามการค้า ในขณะที่สัดส่วนการนาเข้าจากประเทศสมาชิก ASEAN ด้วยกันลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 19.9 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการส่งออกของประเทศในกลุ่ม ASEAN ด้วยกันเอง มีแนวโน้มที่จะต้องแข่งขันกับสินค้าจากจีนมากขึ้น และเมื่อพิจารณาในรายละเอียดโครงสร้างการนาเข้าของกลุ่ม ASEAN พบว่า ประเทศ ASEAN ที่พึ่งพาสินค้าจากจีนมากขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญ ได้แก่ เวียดนามที่มีสัดส่วนการนาเข้าจากจีนในช่วงหลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 28.9 ของการนาเข้าจากจีนรวมของประเทศในกลุ่ม ASEAN เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 22.1 ในช่วงก่อนการเกิดสงครามการค้า ส่วนอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีสัดส่วนการนาเข้าจากจีนในช่วงหลังโควิด-19 เพิ่มขึ้นเล็กน้อย สาหรับประเทศไทยนั้น มีสัดส่วนการนาเข้าจากจีนในช่วงหลังโควิด-19 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 17.9 ลดลงจากร้อยละ 19.6 ในช่วงก่อนการเกิดสงครามการค้า โดยมีทิศทางเช่นเดียวกับประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ที่มีสัดส่วนการพึ่งพาสินค้าจากจีนลดลงเช่นกัน ในขณะเดียวกัน การนาเข้าสินค้าของจีนจากกลุ่ม ASEAN มีทิศทางเพิ่มขึ้น หรืออีกนัยยะหนึ่งสะท้อนความสามารถในการส่งออกของกลุ่ม ASEAN ไปจีนที่สูงขึ้น โดยสัดส่วนการนาเข้าสินค้าของจีนจากกลุ่ม ASEAN อยู่ที่ร้อยละ 16.1 เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยร้อยละ 11.1 ในช่วงสงครามการค้า ประเทศที่จีนนาเข้าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญ ได้แก่ เวียดนาม โดยมีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 22.9 เมื่อเทียบกับการนาเข้าจาก ASEAN ทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยร้อยละ 9.8 ในช่วงสงครามการค้า และอินโดนีเซียมีสัดส่วนร้อยละ 18.1 เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยร้อยละ 13.6 ในช่วงสงครามการค้า อย่างไรก็ดี ในส่วนของไทยนั้นกลับพบว่า สัดส่วนการนาเข้าของจีนจากไทยลดลง โดยมีสัดส่วนร้อยละ 14.2 ลดลงจากร้อยละ 19.8 ในช่วงสงครามการค้า ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ จากข้อมูลข้างต้นชี้ให้เห็นว่าแม้ว่าสัดส่วนของการนาเข้าจาก ASEAN ของจีนจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ความต้องการสินค้าจากจีนของ กลุ่มประเทศ ASEAN เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญเช่นกัน ซึ่งส่งผลให้ ASEAN ยังคงขาดดุลการค้ากับจีน1 อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2566 ASEAN ขาดดุลการค้ากับจีน 147,518 ล้านดอลลาร์ สรอ. แม้จะเป็นการขาดดุลที่ลดลงจากปีก่อนที่ขาดดุลอยู่ที่ 162,885 ล้านดอลลาร์ สรอ. แต่ก็เป็นการขาดดุลต่อเนื่องกันเป็นปีที่ 12 นับจากปี 2555 เป็นต้นมา สาหรับประเทศ ASEAN ที่ขาดดุลการค้ากับจีนมากที่สุดคือเวียดนาม โดยในปี 2566 เวียดนาม ขาดดุลการค้ากับจีนอยู่ที่ 49,038 ล้านดอลลาร์ สรอ. รองลงมาเป็นสิงคโปร์นั้นขาดดุลการค้ากับจีนอยู่ที่ 48,091 ล้านดอลลาร์ สรอ. สาหรับประเทศ ในกลุ่ม ASEAN ที่เกินดุลการค้ากับจีนมีเพียง บรูไน อินโดนีเซีย และมาเลเซียเท่านั้น สัดส่วนมูลค่าการนาเข้าสินค้าของกลุ่มประเทศ ASEAN จากจีน (ร้อยละ) ก่อน Trade War Trade War Covid-19 หลัง Covid-19 2556-2559 2560-2561 2562-2563 2564-2566 อินโดนีเซีย 14.9 15.7 14.8 15.9 มาเลเซีย 16.8 15.9 14.6 14.9 ฟิลิปปินส์ 5.5 7.6 8.1 7.2 สิงคโปร์ 21.1 18.5 16.9 15.1 ไทย 19.6 18.3 17.5 17.9 เวียดนาม 22.1 24.1 28.0 28.9 รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช. สัดส่วนมูลค่าการนาเข้าสินค้าของจีนจากกลุ่มประเทศ ASEAN (ร้อยละ) ก่อน Trade War Trade War Covid-19 หลัง Covid-19 2556-2559 2560-2561 2562-2563 2564-2566 บรูไน 0.2 0.1 0.3 0.5 อินโดนีเซีย 13.6 12.4 12.2 18.1 มาเลเซีย 29.3 23.3 25.1 26.1 ฟิลิปปินส์ 9.7 7.9 6.8 5.7 สิงคโปร์ 14.7 13.5 11.5 8.7 ไทย 19.8 17.2 16.2 14.2 เวียดนาม 9.8 22.6 24.5 22.9 ประเทศอื่น ๆ 3.1 3.0 3.4 3.8 รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช. 1 ข้อมูลดุลการค้าระหว่างจีนกับกลุ่มประเทศ/ประเทศต่าง ๆ นั้น เป็นข้อมูลที่คิดจากฝั่งการค้าระหว่างประเทศของจีนกับกลุ่มประเทศ/ประเทศต่าง ๆ โดยเป็นการนามูลค่าการส่งออกของจีนซึ่งใช้ราคา Free on Board (F.O.B) - กับมูลค่าการนาเข้าของจีนซึ่งใช้ราคา Custom, Insurance, Freight (C.I.F) เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบดุลการค้าของจีนกับประเทศต่าง ๆ ได้ ซึ่งอาจจะทาให้ข้อมูลการดุลการค้าจะไม่ตรงกับดุลการค้าที่คิดจากกลุ่มประเทศ/ประเทศต่าง ๆ กับจีน เช่น การดุลการค้าระหว่างไทยกับจีน หากคิดจากฝั่งจีน ไทยจะขาดดุลการค้ากับจีนอยู่ที่ 25,803 ล้านดอลลาร์ สรอ. ในขณะที่หากคิดจากฝั่งไทยโดยใช้ข้อมูลจากกระทรวงพาณิชย์และกรมศุลกากร ไทยจะขาดดุลการค้ากับจีนอยู่ที่ 36,635 ล้านดอลลาร์ สรอ. เป็นต้น กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 49 NESDC Economic Outlook สาหรับประเทศไทยขาดดุลการค้ากับจีนในปี 2566 อยู่ที่ 25,803 ล้านดอลลาร์ สรอ. เป็นการขาดดุลเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากปี 2565 ที่ขาดดุลอยู่ที่ 22,276 ล้านดอลลาร์ สรอ. และคาดว่ามีแนวโน้มที่ไทยจะขาดดุลการค้ากับจีนต่อเนื่องในระยะต่อไป โดยสินค้าที่ไทยมีการขาดดุลกับจีนค่อนข้างมาก อาทิ สินค้าในกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ ยานยนต์ สินค้าเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์เหล็ก เครื่องจักรและอุปกรณ์ เฟอร์นิเจอร์ เคมีภัณฑ์ เบ็ดเตล็ด ของเล่น เครื่องเกม เป็นต้น ส่วนสินค้าไทยที่มีการเกินดุลการค้ากับจีนค่อนข้างมาก อาทิ ผลไม้ ยางและผลิตภัณฑ์ ไม้และผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมโมสีธัญพืช เยื่อไม้ น้าตาล พืชผัก เนื้อสัตว์ ธัญพืช ปลาและสัตว์น้า เป็นต้น จะเห็นได้ว่าสินค้าที่ไทยขาดดุลกับจีนค่อนข้างมากจะเป็นสินค้า อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าสูง ในขณะที่สินค้าที่ไทยเกินดุลการค้ากับจีนส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าเกษตรที่มีมูลค่าไม่สูงมากนัก จึงทาให้ระดับการขาดดุลของไทย กับจีนเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และจากข้อมูลข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่าความสามารถในการแข่งขันของการส่งออกสินค้าของไทยไปยัง ตลาดจีนมีแนวโน้มลดลง ขณะเดียวกัน หากสินค้าอุตสาหกรรมจากจีนโดยเฉพาะสินค้าขั้นกลางที่จะนามาใช้ในห่วงโซ่การผลิตและสินค้าอุปโภคที่มีราคา ถูกจากต้นทุนการผลิตของจีนที่ต่ากว่า สามารถเข้ามาในไทยเพิ่มมากขึ้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลกระทบต่อดุลการค้าของไทย แต่จะส่งผลต่อผู้ประกอบการ ของไทยที่จะแข่งขันกับสินค้าที่นาเข้าจากจีนได้ยากมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพของห่วงโซ่การผลิตสินค้าของไทยในระยะยาว บทบาทด้านการค้าระหว่างประเทศของจีนและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: นัยยะต่อการค้าระหว่างประเทศของไทย (ต่อ) -200,000 -150,000 -100,000 -50,000 0 50,000 -80,000 -60,000 -40,000 -20,000 0 20,000 40,000 2540 2542 2544 2546 2548 2550 2552 2554 2556 2558 2560 2562 2564 2566 บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม ประเทศอื่น ๆ ใน ASEAN ดุลการค้าของประเทศ ASEAN กับจีน (แกนขวา) ดุลการค้าของประเทศใน ASEAN กับจีน ที่มา: CEIC คานวณโดย สศช. (ล้านดอลลาร์ สรอ.) (ล้านดอลลาร์ สรอ.) -8,000 -6,000 -4,000 -2,000 0 2,000 4,000 6,000 8,000 (ล้านดอลลาร์ สรอ.) กลุ่มสินค้าที่ไทยขาดดุล เกินดุลกับจีนที่สาคัญ ในปี 2566 -30,000 -20,000 -10,000 0 10,000 20,000 -30,000 -10,000 10,000 30,000 50,000 70,000 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 การส่งออก นาเข้า และดุลการค้า ระหว่างจีนกับไทย การส่งออกจีนมายังไทย การนาเข้าของจีนจากไทย ดุลการค้าระหว่างจีนกับไทย (แกนขวา) (ล้านดอลลาร์ สรอ.) (ล้านดอลลาร์ สรอ.) ที่มา: CEIC คานวณโดย สศช. กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 50 NESDC Economic Outlook การใช้สิทธิพิเศษทางการค้า (FTA) และมาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTB): นัยยะต่อเศรษฐกิจไทย ข้อตกลงทางการค้าเสรี (Free trade agreement) ถือเป็นหนึ่งในนโยบายสาคัญด้านการค้าระหว่างประเทศ ในปัจจุบันFTA ของไทยที่มีผลบังคับใช้แล้วมีจานวน 15 ฉบับ (ครอบคลุม 19 ประเทศ) โดยล่าสุดเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2567 ไทยได้ลงนามในข้อตกลงการค้าเสรีฉบับที่ 15 ร่วมกับศรีลังกา (SLTFTA) สาหรับ FTA ที่กาลังอยู่ในช่วงเจรจานั้น พบว่า มีอยู่ 7 ฉบับ โดยข้อตกลงที่น่าจะเจรจาเสร็จสิ้นในปี 2567 ได้แก่ CEPA (ไทย-สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์), และ TH-EFTA FTA (ไทย-สมาคมการค้าเสรียุโรป) นอกจากนี้ข้อตกลงที่คาดว่าจะเจรจาสาเร็จในช่วงปี 2568 ได้แก่ TH-EU FTA (ไทย-สหภาพยุโรป), และ ACAFTA (อาเซียน-แคนาดา) ขณะที่ข้อตกลงที่มีแนวโน้มการเจรจาเสร็จสิ้นหลังปี 2568 ได้แก่ PATHFTA (ไทย-ปากีสถาน), และ TRTHFTA (ไทย-ตุรกี) เป็นต้น ซึ่งพบว่า ความสาคัญของการใช้สิทธิ FTA ของไทยนั้นเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นลาดับ สะท้อนจากสัดส่วนของมูลค่าการส่งออกที่ใช้สิทธิ FTA เทียบกับมูลค่าการส่งออกรวมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เฉลี่ยร้อยละ 43.3 ในช่วงการเกิดสงครามการค้า (2558 - 2560) เพิ่มขึ้นเป็นเฉลี่ยร้อยละ 52.4 ในช่วงหลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (2565 - 2566) ตามลาดับ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการใช้สิทธิ FTA ของผู้ส่งออกในประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อพิจารณาการใช้สิทธิ FTA โดยแบ่งตามข้อตกลง 12 ข้อตกลง1 พบว่า ข้อตกลง AFTA (อาเซียน) และ ACFTA (อาเซียน-จีน) มีแนวโน้มสัดส่วนการส่งออกโดยใช้สิทธิ FTA เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องอยู่ที่ร้อยละ 46.10 และร้อยละ 74.87 ตามลาดับ อย่างไรก็ตามข้อตกลงที่มีการทับซ้อนกันในบางประเทศ มีสัญญาณของการสลับการใช้สิทธิของผู้ส่งออก เช่น 1) อินเดีย (TIFTA (ไทย - อินเดีย) และ AIFTA (อาเซียน - อินเดีย)) โดยสัดส่วนการใช้สิทธิของ TIFTA ลดลง ขณะที่สัดส่วนการใช้สิทธิ AIFTA เพิ่มขึ้น และ 2) ออสเตรเลีย (TAFTA (ไทย-ออสเตรเลีย) และ AANZFTA (อาเซียน -ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์)) โดยสัดส่วนการใช้สิทธิของ TAFTA ลดลง ขณะที่สัดส่วนการใช้สิทธิ AANZFTA (ออสเตรเลีย) เพิ่มขึ้น สาหรับการใช้สิทธิของ FTA ในส่วนของข้อตกลง RCEP ที่พึ่งลงนามไปเมื่อปี 2565 นั้น ไทยมีสัดส่วนมูลค้าการส่งออกสินค้าที่ใช้สิทธิดังกล่าวอยู่ที่ร้อยละ 0.66 และร้อยละ 0.98 ในปี 2565 และปี 2566 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี มีข้อสังเกตว่าทุกประเทศที่อยู่ในข้อตกลงเขตการค้าเสรี RCEP ล้วนมี FTA กับประเทศไทยอยู่แล้วทั้งสิ้น แม้ว่ามูลค่าการส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิของ FTA จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนมีสัดส่วนของมูลค่าการส่งออกที่ใช้สิทธิ FTA อยู่ที่เกินร้อยละ 50 ของมูลค่าการส่งออกรวม แต่ก็มีการส่งออกสินค้าของไทยบางส่วนที่ไม่ได้อยู่ในการทาข้อตกลง FTA ซึ่งสินค้าส่งออกในส่วนนี้กาลังเผชิญหน้ากับความท้าทายในเรื่องของมาตรการการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่การตั้งกาแพงภาษี (Non-Tariff Barrier: NTB) ซึ่งมีแนวโน้มรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะมาตรการที่เกี่ยวข้องกับด้านสิ่งแวดล้อม หลังจากที่สหภาพยุโรปเริ่มมีการบังคับใช้กฎระเบียบด้านการไม่ตัดไม้ทาลายป่า (EUDR) กฎระเบียบสอบทานธุรกิจด้านสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม (CSDDD) และมาตรการปรับราคาคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน (CBAM) ขณะที่สหรัฐฯ เตรียมบังคับใช้ Clean Competition Act (CCA) และ Foreign Pollution Fee Act (FPFA) โดยกาลังอยู่ในขั้นตอนพิจารณา ทั้งนี้ จากข้อมูลขององค์การการค้าโลก (WTO) พบว่า มาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่การตั้งกาแพงภาษีนั้น มีจานวนมาตรการรวมทั้งสิ้นตั้งแต่ปี 2552 - 2564 อยู่ที่ 61,551 มาตรการ โดยมีมาตรการทางการค้าที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอยู่ที่ 18,206 มาตรการ คิดเป็นร้อยละ 29.6 ของมาตรการการค้า ที่ไม่ใช่กาแพงภาษีทั้งหมด และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 829 มาตรการในปี 2552 มาอยู่ที่ 1,349 มาตรการในปี 2565 โดยประเภทมาตรการ NTB ที่มีจานวนมากที่สุด คือ มาตรการที่เกี่ยวข้องกับมาตรการด้านเทคนิค (Technical barrier to Trade :TBT) ที่ออกมาบังคับใช้แล้วจานวน 5,343 มาตรการ รองลงมาคือมาตรการการอุดหนุนและตอบโต้การอุดหนุน (Subsidies and Countervailing Measures) มีจานวน 4,661 มาตรการ และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการผลิตภาคเกษตรอื่น ๆ จานวน 3,414 มาตรการ โดยประเทศที่มีการออกมาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่กาแพงภาษีส่วนใหญ่จะเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ที่มีระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ค่อนข้างสูงและเป็นคู่ค้าสาคัญกับไทยทั้งสิ้น โดยประเทศ 3 อันดับแรกที่ออกมาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่กาแพงภาษี มากที่สุด ได้แก่ สหภาพยุโรป (2,842 มาตรการ) สหรัฐฯ (2,717 มาตรการ) และ ออสเตรเลีย (1,149 มาตรการ) และสาขาที่ได้รับผลกระทบจากการใช้มาตรการทางการค้าประเภท NTB มากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ เกษตรกรรม (มีจานวนมาตรการ NTB ที่เกี่ยวข้องจานวน 5,870 มาตรการ) อุตสาหกรรม การผลิต (มีจานวนมาตรการ NTB ที่เกี่ยวข้องจานวน 4,586 มาตรการ) และเคมีภัณฑ์ (มีจานวนมาตรการ NTB ที่เกี่ยวข้องจานวน 3,173 มาตรการ) 1 ยกเว้น ไทย-นิวซีแลนด์ (TNZCEP) ที่ใช้ ระบบการรับรองตนเองของผู้ส่งออก (Self-Declaration) และอาเซียน-ฮ่องกง (AHKFTA) เนื่องจากฮ่องกงเป็น Free Port อัตราภาษีนาเข้าของฮ่องกงเป็นร้อยละ 0 ทุกรายการ ทาให้ในทางปฏิบัติผู้ส่งออกจึงไม่ประสงค์จะขอใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี สัดส่วนมูลค่าการส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิ FTA ในช่วงปี 2558 - 2566 สงครามการค้า ก่อนโควิด-19 โควิด-19 หลังโควิด-19 2558-2560 2561-2562 2563-2564 2565-2566 (11 เดือน) สัดส่วนมูลค่าการส่งออกไทยที่ใช้สิทธิ FTA 43.3 46.4 46.9 52.4 สัดส่วนมูลค่าการส่งออกไทยที่ 56.7 53.6 53.1 47.6 ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ สัดส่วนมูลค่าการส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิ FTA ในช่วงปี 2558 - 2566 (ร้อยละ) สงครามการค้า ก่อนโควิด-19 โควิด-19 หลังโควิด-19 2558-2560 2561-2562 2563-2564 2565-2566 (11 เดือน) AFTA (อาเซียน) 38.2 39.2 37.8 45.7 ACFTA (อาเซียน - จีน) 47.6 59.9 66.0 74.8 TIFTA (ไทย - อินเดีย) 10.4 8.0 6.8 4.9 AIFTA (อาเซียน - อินเดีย) 47.1 50.3 51.4 56.0 TAFTA (ไทย-ออสเตรเลีย) 75.9 69.8 53.7 56.1 AANZFTA (ออสเตรเลีย) 3.9 10.5 20.7 27.3 AANZFTA (นิวซีแลนด์) 6.6 7.5 9.7 10.2 JTEPA (ไทย-ญี่ปุ่น) 30.7 28.9 26.9 28.7 AJCEP (อาเซียน-ญี่ปุ่น) 0.9 1.4 1.4 1.7 AKFTA (อาเซียน-เกาหลีใต้) 51.0 60.9 59.3 59.9 TPCEP (ไทย-เปรู) 2.7 5.2 9.1 12.1 TCFTA (ไทย-ชิลี) 64.8 97.3 91.2 105.5 RCEP 0.8 ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 51 NESDC Economic Outlook เมื่อพิจารณาจานวนมาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีที่ประเทศ ไทยได้รับผลกระทบ (รวมมาตรการทางการค้าที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ด้วย) ถึงปี 2564 พบว่า ในภาพรวม สินค้าไทยจะได้รับผลกระทบจาก มาตรการในกลุ่ม TBT และมาตรการกลุ่ม SPS เป็นสาคัญ (สัดส่วน มาตรการที่ TBT ที่กระทบกับสินค้าไทยอยู่ที่ร้อยละ 55.1 เมื่อเทียบกับ มาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีที่กระทบกับไทยทั้งหมด และสัดส่วน มาตรการที่ SPS ที่กระทบกับสินค้าไทยอยู่ที่ร้อยละ 34.0) โดยกลุ่ม ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าด้านเกษตร (สัตว์และพืชผัก) ได้รับผลกระทบจาก มาตรการ SPS เป็นส่วนใหญ่ ส่วนในกลุ่มของสินค้าอุตสาหกรรม (อาหาร เคมีภัณฑ์ ยางและผลิตภัณฑ์ เหล็กและผลิตภัณฑ์ และ เครื่องจักรเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น) จะได้รับผลกระทบ จากมาตรการ TBT เป็นสาคัญ ซึ่งมาตรการส่วนใหญ่ถูกบังคับใช้จาก 3 ประเทศสาคัญ ได้แก่ สหรัฐฯ จีน และสหภาพยุโรป สาหรับแนวทางการดาเนินนโยบายการค้าระหว่างประเทศของ ไทยในระยะถัดไปนั้น เพื่อให้เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางการค้า จาเป็นต้องมีการดาเนินการควบคู่กันใน 2 มิติ ทั้งในมิติของ การสร้างโอกาสทางการค้า โดยให้ความสาคัญในส่วนของการส่งเสริม การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีผ่านข้อตกลงการค้าเสรีที่ได้มีผลบังคับใช้ แล้วและการเร่งเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี และมิติของการเร่งยกระดับ การพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพห่วงโซ่การผลิตสินค้าให้สามารถที่จะแข่งขันด้านคุณภาพของสินค้าเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมไปกับ ความต้องการห่วงโซ่อุปทานในตลาดโลก และตอบสนองต่อมาตรฐานและข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า ซึ่งเริ่มมีการดาเนินมาตรการกีดกัน ทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีที่มีแนวโน้มทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะในช่วงที่สถานการณ์เศรษฐกิจและการค้าโลกอยู่ในกระแสของการทวนกลับ ของกระแสโลกาภิวัตน์ (Deglobalization) และสถานการณ์การแยกส่วนระหว่างกันของเศรษฐกิจโลก (Fragmentation) ในปัจจุบัน FTA and non tariff barrier (ต่อ) 829 680 1143 945 1196 1276 1349 1176 1492 1363 1758 1391 2250 1349 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 จานวนมาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่กาแพงภาษีด้านสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี ที่มา: WTO-EDB ประเภทและจานวนมาตรการการกีดกันทางการค้าด้านสิ่งแวดล้อมที่มีการบังคับใช้ ตั้งแต่ปี 2552 - 2565 แบ่งตามประเภทของมาตรการ ประเภทมาตรการ จานวนมาตรการ Technical Barriers to Trade 5,343 Subsidies and Countervailing Measures 4,661 Agriculture 3,414 Import Licensing Procedures 1,644 Quantitative Restrictions 1,405 Sanitary and Phytosanitary Measures 1,187 Others 552 รวมทั้งสิ้น 18,206 ที่มา: WTO-EDB ประเภทและจานวนมาตรการการกีดกันทางการค้าด้านสิ่งแวดล้อมที่มีการบังคับใช้ ตั้งแต่ปี 2552 - 2565 รายประเทศ เขตเศรษฐกิจ ประเภทมาตรการ จานวนมาตรการ สหภาพยุโรป 2,842 สหรัฐฯ 2,717 ออสเตรเลีย 1,149 จีน 868 แคนาดา 601 บราซิล 467 ญี่ปุ่น 447 เกาหลีใต้ 405 ไต้หวัน 382 นิวซีแลนด์ 349 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจอื่น ๆ 7,979 รวมทั้งสิ้น 18,206 ที่มา: WTO-EDB ประเภทและจานวนมาตรการการกีดกันทางการค้าด้านสิ่งแวดล้อมที่มีการบังคับใช้ ตั้งแต่ปี 2552 - 2565 รายสาขาการผลิต ประเภทมาตรการ จานวนมาตรการ เกษตรกรรม 5,870 อุตสาหกรรมการผลิต 4,586 เคมีภัณฑ์ 3,173 พลังงาน 1,950 ประมง 1,070 ป่าไม้ 917 อื่น ๆ 640 รวมทั้งสิ้น 18,206 ที่มา: WTO-EDB สัดส่วนมาตรการการกีดกันทางการค้าที่มีการบังคับใช้กับไทยจนถึงปี 2564 รายสาขาการผลิต ประเภทมาตรการ สุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช (SPS) มาตรการทาง เทคนิค (TBT) มาตรการ อื่น ๆ รวม สัตว์มีชีวิต 60.7 26.2 13.1 100.0 ผัก 55.0 32.6 12.4 100.0 ไขมันจากสัตว์ 41.5 49.2 9.3 100.0 อาหาร 35.3 53.5 11.3 100.0 เหมืองแร่ 3.8 82.3 14.0 100.0 เคมีภัณฑ์ 19.9 68.9 11.2 100.0 ยางและพลาสติก 7.3 86.6 6.2 100.0 หนังสัตว์ 17.3 47.6 35.1 100.0 ไม้และผลิตภัณฑ์ 25.4 58.9 15.7 100.0 กระดาษ 4.9 75.2 19.9 100.0 เสื้อผ้าสิ่งทอ 11.4 70.4 18.2 100.0 รองเท้า 2.6 80.2 17.2 100.0 เหล็กและผลิตภัณฑ์ 4.1 86.9 9.0 100.0 เครื่องจักรและ เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ 6.3 89.2 4.5 100.0 รวม 34.0 55.1 10.8 100.0 ที่มา: WTO กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 52 NESDC Economic Outlook FTA and non tariff barrier (ต่อ) มาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTB) ด้านสิ่งแวดล้อมของ EU (เริ่มใช้) และ USA (เตรียมการ) มาตรการ รายละเอียด สินค้า มีผลบังคับใช้ ผลกระทบไทย สหภาพยุโรป 1. กฎระเบียบด้านการไม่ตัดไม้ทาลายป่า (EU Deforestation Regulation: EUDR) ต้องผ่านการตรวจสอบว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดไม้ทาลายป่าหรือทาให้ป่าเสื่อมโทรม - ยางพารา ปาล์มน้ามัน วัว ไม้ กาแฟ โกโก้ และถั่วเหลือง รวมถึงผลิตภัณฑ์แปรรูป - ครอบคลุมสินค้ามากขึ้นใน อนาคต - เริ่มใช้ มิ.ย. 66 - บังคับใช้เต็มรูปแบบ 30 ธ.ค. 67 ยางพารา ไม้และผลิตภัณฑ์ ปาล์มน้ามัน 2. กฎระเบียบสอบทานธุรกิจด้านสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม (EU Corporate Sustainability Due Diligence Directive: CSDDD) บริษัทที่ทาธุรกิจใน EU และเครือข่ายธุรกิจ รวมถึงห่วงโซ่อุปทาน ต้องพิสูจน์ว่ากิจกรรมทางการค้าไม่กระทบต่อทั้งสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม ทุกบริษัทที่เข้าไปลงทุนใน EU และมีคุณสมบัติเข้าข่าย ตลอดจนบริษัทในไทยที่เป็น suppliers ส่งออกสินค้าให้กับบริษัทดังกล่าว - ประกาศใช้ต้นปี 67 (เปลี่ยนผ่าน) - บังคับใช้เต็มรูปแบบ ปี 71-73 เกษตรและอาหาร เสื้อผ้า อัญมณีแล เครื่องประดับ 3. มาตรการปรับราคาคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน (Carbon Border Adjustment Mechanism: CBAM) ผู้นาเข้าต้องรายงานการปล่อย CO2 ซึ่งมีการจัดเก็บภาษีคาร์บอนตามปริมาณการปล่อย - เหล็ก อะลูมิเนียม ซีเมนต์ ปุ๋ย ไฟฟ้า และไฮโดรเจน (นาร่อง) - เคมีภัณฑ์และพอลิเมอร์ (ปี 69-70) - สินค้าทุกประเภท (ปี 73) - รายงานบางส่วน 1 ต.ค. 66 - ใช้เต็มรูปแบบ 1 ม.ค. 69 เหล็กและผลิตภัณฑ์ อะลูมิเนียม สหรัฐฯ 4. Clean Competition Act (CCA) (US-CBAM) ผู้นาเข้าต้องรายงานข้อมูลการปล่อย CO2 ซึ่งจะมีการจัดเก็บภาษีถ้ามีการปล่อยเกินกว่าที่กาหนด - ซีเมนต์ ปุ๋ย เหล็ก อะลูมิเนียม ไฮโดรเจน และเอทานอล - ปิโตรเลียม และกระดาษ - ส่วนประกอบของโทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ และคอมพิวเตอร์ อยู่ในขั้นตอนการพิจารณา เหล็ก อะลูมิเนียม ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ คอมพิวเตอร์ 5. Foreign Pollution Fee Act (FPFA) ผู้นาเข้าต้องรายงานข้อมูลการปล่อย CO2 และเสียภาษีจากกลุ่มสินค้าที่มีการใช้พลังงานเข้มข้นและมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง - ซีเมนต์ เหล็ก อะลูมิเนียม และ ไฮโดรเจน - ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม กระจก กระดาษ เชื้อเพลิงชีวภาพ แบตเตอรี่ น้ามันดิบ แร่ ปิโตรเคมีพลาสติก และก๊าซธรรมชาติ อยู่ในขั้นตอนการพิจารณา เหล็ก อะลูมิเนียม ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิโตรเคมีและพลาสติก กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 53 NESDC Economic Outlook ข้อมูลจากกองงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ชี้ว่ากรอบและวงเงินเบิกจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งนับรวมวงเงินเบิกจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจประเภทบริษัทมหาชนจากัด และบริษัทในเครือ 5 แห่ง ได้แก่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) บริษัท โรงแรมท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ จากัด บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัท อสมท จากัด (มหาชน) ในปี 2567 วงเงินรวมทั้งสิ้น 380,141.92 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 1.9 และต่ากว่ากรอบวงเงินเบิกจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจเฉลี่ยในปี 2563 - 2566 ที่ปีละ 396,137.58 ล้านบาท (ลดลงร้อยละ 4.0) การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจเพื่อรักษาแรงขับเคลื่อนของการลงทุนภาครัฐ เมื่อพิจารณาผลการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2567 ในภาพรวมมีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 94,525.5 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 2.1 โดยเป็นการเบิกจ่ายจากวงเงินเบิกจ่ายลงทุนใน 14 โครงการลงทุนสาคัญ1 จานวน 21,595.47 ล้านบาท และมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 28.6 ของกรอบวงเงินเบิกจ่ายลงทุนในโครงการลงทุนสาคัญของรัฐวิสาหกิจในปี 2567 ดังนั้น การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ โดยเฉพาะในโครงการลงทุนขนาดใหญ่จะช่วยรักษาแรงขับเคลื่อนจากการลงทุนภาครัฐและสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจในช่วงครึ่งแรกของปี 2567 ซึ่งการลงทุนภาครัฐมีข้อจากัดจากการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปีที่อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาอนุมัติและคาดว่าจะประกาศใช้พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ในเดือนพฤษภาคม 2567 ผลการเบิกจ่ายใน 14 โครงการลงทุนสาคัญของรัฐวิสาหกิจในปี 2567 หน่วย : ล้านบาท โครงการลงทุน หน่วยงาน กรอบวงเงินเบิกจ่าย ผลการเบิกจ่าย % อัตราเบิกจ่าย Q1 FY2567 1 โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูนราษฎร์บูรณะ รฟม. 16,720 4,605.57 27.5 2 โครงการพัฒนาระบบส่งและจาหน่ายระยะที่ 2 กฟภ. 9,500 4,409.43 46.4 3 โครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนในการพัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อมโยงภูมิภาค ช่วง รฟท. 8,714 3,288.85 37.7 4 โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก กทพ. 7,555 951.87 12.6 5 โครงการปรับปรุงกิจการการประปาแผนหลักครั้งที่ 9 กปน. 5,186 1,199.84 23.1 6 โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี-ปากน้าโพ รฟท. 4,677 201.11 4.3 7 แผนปรับปรุงและขยายระบบจาหน่ายพลังไฟฟ้าฉบับที่ 12 ปี 2560 - 2564 กฟน. 4,334 1,726.12 39.8 8 โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้า ระยะที่ 12 กฟผ. 3,839 1,395.99 36.4 9 โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และกรุงเทพมหานครเพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า กฟผ. 3,805 694.15 18.2 10 โครงการพัฒนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม ธพส. 3,221 2,266.00 70.4 11 โครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายปี 2557 กปภ. 2,292 25.64 1.1 12 โครงการก่อสร้างสวนสัตว์แห่งใหม่ คลองหก จังหวัดปทุมธานี อสส. 2,218 261.03 11.8 13 โครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3 กทท. 1,846 456.62 24.7 14 โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตยารังสิตระยะที่สอง อภ. 1,637 113.28 6.9 75,544 21,596 28.6 รวมทั้งสิ้น ที่มา: กองงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ สศช. กรอบและวงเงินเบิกจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ หน่วย : ล้านบาท ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 วงเงินเบิกจ่ายลงทุน (รวมรัฐวิสาหกิจประเภทบริษัทมหาชนจากัด และบริษัทในเครือ) 423,232.46 374,649.07 399,065.99 387,602.78 380,141.92 % อัตราการขยายตัว 5.2 -11.5 6.5 -2.9 -1.9 ที่มา: กองงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ สศช. 1 วงเงินเบิกจ่ายลงทุนรวม 75,544 ล้านบาท (ร้อยละ 19.9 ของกรอบวงเงินเบิกจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจปี 2567) กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 กุมภาพันธ์ 2567 54 NESDC Economic Outlook รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ Email : mspo@nesdc.go.th หรือ โทร. 0-2280-4085 ต่อ 6451 www.nesdc.go.th ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 25671 ข้อมูลจริง ประมาณการ 2567 2564 2565 2566 ณ 20 พ.ย. 66 ณ 19 ก.พ. 67 GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านบาท) 16,188.6 17,378.0 17,921.2 19,022.2 18,656.0 รายได้ต่อหัว (บาทต่อคนต่อปี) 232,302.0 248,788.6 255,867.7 270,921.8 265,705.3 GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านดอลลาร์ สรอ.) 506.2 495.5 513.5 551.4 540.8 รายได้ต่อหัว (ดอลลาร์ สรอ. ต่อหัวต่อปี) 7,264.0 7,094.1 7,331.5 7,852.8 7,701.6 อัตราการขยายตัวของ GDP (CVM, %) 1.6 2.5 1.9 2.7 - 3.7 2.2 - 3.2 การลงทุนรวม (CVM, %)2/ 3.1 2.3 1.2 1.6 2.5 ภาคเอกชน (CVM, %) 2.9 4.7 3.2 2.8 3.5 ภาครัฐ (CVM, %) 3.5 -3.9 -4.6 -1.8 -1.8 การบริโภคภาคเอกชน (CVM, %) 0.6 6.2 7.1 3.2 3.0 การอุปโภคภาครัฐบาล (CVM, %) 3.7 0.1 -4.6 2.2 1.5 ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %) 11.1 6.1 2.1 6.2 5.0 มูลค่าการส่งออกสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/ 270.6 285.2 280.2 290.2 288.3 อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/ 19.2 5.4 -1.7 3.8 2.9 อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/ 15.5 1.2 -2.9 3.3 2.4 ปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %) 17.8 3.6 -2.2 6.3 3.0 มูลค่าการนาเข้าสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/ 238.2 271.6 263.2 276.7 274.9 อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/ 27.7 14.0 -3.1 4.7 4.4 อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/ 17.9 1.2 -3.6 3.7 3.2 ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) 32.4 13.5 17.0 13.5 13.4 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) -10.3 -15.7 6.6 8.5 7.4 ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%) -2.0 -3.2 1.3 1.5 1.4 เงินเฟ้อ (%) ดัชนีราคาผู้บริโภค 1.2 6.1 1.2 1.7 - 2.7 0.9 - 1.9 GDP Deflator 1.8 4.8 1.2 1.7 - 2.7 0.9 - 1.9 ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2567 หมายเหตุ: 1/ เป็นข้อมูลที่คานวณบนฐานบัญชีประชาชาติอนุกรมใหม่ ซึ่ง สศช. เผยแพร่ทาง www.nesdc.go.th 2/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น 3/ ตัวเลขการส่งออกและการนาเข้าเป็นไปตามฐานของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ