เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2567 และแนวโน้มปี 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Monday August 19, 2024 09:40 —สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

NESDCECONOMICREPORTQ2/2024ภาวะเศรษฐกิ กิจไทยไตรมาสที่ ที่สองของปี 2567และแนวโน้ น้มปี 2567สำ สำ นั นักงานสภาพั พัฒนาการเศรษฐกิ กิจและสั สังคมแห่ ห่งชาติ ติ
แถลงข่ ข่าว
:19 สิ สิงหาคม 2567 เวลา 09.30 น.www.nesdc.go.thกองยุ ยุทธศาสตร์ ร์และการวางแผนเศรษฐกิ กิจมหภาค
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 2.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.6 ในไตรมาสแรกของปี 2567 (%YoY) และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยใน ไตรมาสที่สองของปี 2567 ขยายตัวจากไตรมาสแรกของปี 2567 ร้อยละ 0.8 (QoQ_SA) รวมครึ่งแรกของปี 2567 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 1.9
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2567 และแนวโน้มปี 2567
การรักษาบรรยากาศทางเศรษฐกิจและการเมืองภายในประเทศการขับเคลื่อนการลงทุนภาคเอกชน โดย (1) เร่งสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนต่างชาติ (2) พัฒนาระบบนิเวศที่เหมาะสม เพื่อดึงดูดอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมายให้เข้ามาลงทุน ในประเทศไทย (3) เร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ (4) เพิ่มผลิตภาพการผลิตผ่านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง
การปกป้องภาคการผลิตจากการทุ่มตลาดและการใช้นโยบายการค้าที่ไม่เป็นธรรม โดย (1) ตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุ่มตลาด รวมทั้งการใช้มาตรการและวิธีการทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมจากประเทศผู้ส่งออกสาคัญ (2) ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้านาเข้า (3) ดาเนินการอย่างเคร่งครัดกับผู้กระทาความผิดลักลอบนาเข้าสินค้าที่ผิดกฎหมาย
การดูแลสภาพคล่องให้เพียงพอสาหรับภาคธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจ SMEs ที่มีศักยภาพแต่ประสบปัญหาการเข้าถึงสภาพคล่อง ควบคู่ไปกับการยกระดับศักยภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs
การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในช่วงที่เหลือของปี 2567 ควรให้ความสาคัญกับ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อให้เม็ดเงินรายจ่ายภาครัฐ เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็ว และเร่งรัดกระบวนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี 2568 ไม่ให้เกิดความล่าช้า
การเตรียมการรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะปรากฎการณ์ลานีญาและเอลนีโญ
การเร่งรัดแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ (PM2.5) และการเตรียมความพร้อมของปัจจัยแวดล้อมด้านการท่องเที่ยวสาคัญ
การเตรียมมาตรการเพื่อรองรับผลกระทบและใช้ประโยชน์ จากความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและการค้าโลก อาทิ ความรุนแรงของความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ การกีดกันทางการค้า การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และความผันผวน ในตลาดการเงินโลก
1
2
3
5
8
ปัจจัยสนับสนุน
? การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว
? การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ
? การเพิ่มขึ้นของแรงขับเคลื่อนจากการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ
? การกลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ ของภาคการส่งออก
ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง
? หนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในเกณฑ์สูง และมาตรฐานสินเชื่อที่มีความเข้มงวด
? การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
? ความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและการเงินโลก
ด้านการใช้จ่าย มีปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวดีขึ้นของ การอุปโภคภาครัฐบาล การส่งออกสินค้าและบริการ และการขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่องของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนและภาครัฐปรับตัวลดลง
ด้านการผลิต สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมกลับมาขยายตัว สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขายส่งและ การขายปลีก สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่สาขาการก่อสร้าง และสาขาเกษตรกรรม ปรับตัวลดลง
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2567
คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.3 - 2.8 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 2.5) โดยคาดว่าการอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 4.5 และร้อยละ 0.3 ตามลาดับ มูลค่าการส่งออกในรูปดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 2.0 อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ย อยู่ในช่วงร้อยละ 0.4 - 0.9 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 2.3 ของ GDP
4
6
7
เศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/67 และแนวโน้มปี 2567
(%YoY)
2566
2567
ทั้งปี
Q1
Q2
H1
ทั้งปี (f)
GDP (CVM)
1.9
1.6
2.3
1.9
2.3 - 2.8
การลงทุนรวม1/
1.2
-4.2
-6.2
-5.1
0.1
ภาคเอกชน
3.2
4.6
-6.8
-0.9
0.3
ภาครัฐ
-4.6
-27.7
-4.3
-16.7
-0.7
การบริโภคภาคเอกชน
7.1
6.9
4.0
5.4
4.5
การอุปโภคภาครัฐบาล
-4.6
-2.1
0.3
-0.9
1.7
มูลค่าการส่งออกสินค้า2/
-1.5
-1.1
4.5
1.7
2.0
ปริมาณ2/
-2.7
-2.4
2.7
0.2
1.2
มูลค่าการนาเข้าสินค้า2/
-3.8
3.3
1.2
2.3
3.6
ปริมาณ2/
-4.1
4.6
-0.9
1.8
2.6
ดุลบัญชีเดินสะพัด
1.9
2.0
2.1
2.0
2.3
ต่อ GDP (%)
เงินเฟ้อ
1.2
-0.8
0.8
0.0
0.4 - 0.9
หมายเหตุ: 1/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น 2/ ฐานข้อมูลดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย
การลงทุนรวม ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่สามร้อยละ 6.2 โดย การลงทุนภาคเอกชนลดลงร้อยละ 6.8 ตามการลดลงของการลงทุน ในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือร้อยละ 8.1 สอดคล้องกับการลดลงของการลงทุน ในหมวดยานพาหนะร้อยละ 22.5 และการชะลอตัวของปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน ส่วนการลงทุนหมวดก่อสร้างลดลงร้อยละ 2.2 ตามการลดลงของ การก่อสร้างที่อยู่อาศัย และการก่อสร้างอาคารพาณิชย์เป็นสาคัญ ขณะที่การก่อสร้างโรงงานขยายตัวต่อเนื่อง การลงทุนภาครัฐ ลดลงร้อยละ 4.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 27.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนของรัฐบาลลดลงร้อยละ 12.8 ขณะที่การลงทุนของรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 10.1 สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 24.0 (สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 5.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 19.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การลงทุนรวมลดลงร้อยละ 5.1 โดยการลงทุนภาคเอกชนลดลงร้อยละ 0.9 และการลงทุนภาครัฐลดลงร้อยละ 16.7
การส่งออกสินค้า มีมูลค่า 73,315 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 ตามการขยายตัวของปริมาณ การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตร ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เช่น ข้าว (ร้อยละ 53.0) ยางพารา (ร้อยละ 37.3) คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 147.9) อุปกรณ์สื่อสาร
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2567
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 4.0 ชะลอลงจากร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อน โดยการใช้จ่ายหมวดบริการขยายตัวร้อยละ 6.0 ชะลอลงจากร้อยละ 13.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร กลุ่มบริการทางการเงิน การบริการด้านการศึกษา และกลุ่มสถานบันเทิงอื่น ๆ การใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 3.6 ชะลอลงจากร้อยละ 4.7 ตามการชะลอลงของการใช้จ่ายกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์และการใช้จ่ายกลุ่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ส่วนการใช้จ่ายหมวดสินค้าคงทนลดลงร้อยละ 6.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 6.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการใช้จ่าย เพื่อซื้อยานพาหนะซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการตัดสินใจชะลอการซื้อรถยนต์ไฟฟ้า
ในช่วงที่การแข่งขันด้านราคามีความรุนแรงมากขึ้น การใช้จ่ายในหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 4.3 ตามการขยายตัวของการใช้จ่าย เพื่อซื้อเฟอร์นิเจอร์ และการใช้จ่ายกลุ่มเสื้อผ้าและรองเท้า สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี้ อยู่ที่ระดับ 54.3 ลดลงจากระดับ 57.2 ในไตรมาสก่อนหน้า การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 0.3 ปรับตัวดีขึ้นจาก การลดลงร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยรายจ่ายการโอนเพื่อสวัสดิการสังคมที่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 10.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และค่าตอบแทนแรงงาน (เงินเดือน ค่าบาเหน็จบานาญ) ขยายตัวร้อยละ 0.8 ขณะที่ค่าซื้อสินค้าและบริการลดลงร้อยละ 3.8 สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 27.7 (สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 19.2 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 24.3 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 5.4 ขณะที่การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาลลดลงร้อยละ 0.9
โทรคมนาคม (ร้อยละ 58.5) ยานยนต์ (ร้อยละ 3.3) และชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 22.5) เป็นต้น กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกลดลง เช่น ทุเรียน (ลดลงร้อยละ 1.0) น้าตาล (ลดลงร้อยละ 26.3) ผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลงร้อยละ 10.5) แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน (ลดลงร้อยละ 14.5) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 0.6) และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ลดลงร้อยละ 12.8) เป็นต้น
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 142,908 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 โดยปริมาณและราคาส่งออกเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.2 และร้อยละ 1.5 ตามลาดับ
สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ลดลงร้อยละ 1.1 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผลผลิตสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 1.7 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของผลผลิตสินค้าสาคัญ ๆ อาทิ ข้าวเปลือก (ลดลงร้อยละ 13.0) กลุ่มไม้ผล (ลดลงร้อยละ 8.0) มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 8.4) กุ้งขาวแวนนาไม (ลดลงร้อยละ 17.6) และยางพารา
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2567
(ลดลงร้อยละ 0.6) ตามลาดับ ในขณะที่ผลผลิตสินค้าเกษตรที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น อาทิ อ้อย (ร้อยละ 41.9) ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 40.8) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ร้อยละ 11.1) โคเนื้อ (ร้อยละ 4.8) และไก่เนื้อ (ร้อยละ 1.1) ตามลาดับ ส่วนราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 5.5 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ เช่น ยางพารา (ร้อยละ 68.6) กลุ่มผลไม้ (ร้อยละ 22.6) ข้าวเปลือก (ร้อยละ 8.4) อ้อย (ร้อยละ 28.6) และไข่ไก่คละ (ร้อยละ 3.5) ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัวลดลง เช่น สุกร (ลดลงร้อยละ 16.9) มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 21.9) และปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 18.4) ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้รายได้เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 8.9
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงลดลงร้อยละ 1.9
สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 0.2 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของกลุ่มการผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศขยายตัวร้อยละ 2.5 ในขณะที่ กลุ่มการผลิตเพื่อการส่งออกและกลุ่มการผลิต ที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30-60 ลดลงร้อยละ 1.5 และร้อยละ 4.5 ตามลาดับ การผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตน้ามันปาล์ม (ร้อยละ 25.5) การผลิตอาหารสัตว์สาเร็จรูป (ร้อยละ 13.5) การผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ร้อยละ 8.7) การผลิตสตาร์ช และผลิตภัณฑ์จากสตาร์ช (ร้อยละ 30.1) และการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 1.9) เป็นต้น ส่วนการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 13.4) การผลิตชิ้นส่วนและแผงวงจรฯ (ลดลงร้อยละ 18.3) การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และปูนปลาสเตอร์ (ลดลงร้อยละ 9.7) การผลิตจักรยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 14.9) และการผลิตยางนอกและยางใน การหล่อดอกยางและการซ่อมสร้างยาง (ลดลงร้อยละ 7.2) เป็นต้น สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 57.79 ต่ากว่า ร้อยละ 60.43 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 58.56 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาการผลิตอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 1.4
สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวร้อยละ 7.8 ต่อเนื่องจากร้อยละ 11.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสนี้มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในประเทศไทยจานวน 8.131 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 93.67 ของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) ส่งผลให้มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสนี้อยู่ที่ 3.32 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 12 ร้อยละ 38.6 ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศ ของนักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 13.0 สร้างรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย จานวน 2.45 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.9 ส่งผลให้ในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยว 5.77 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.5 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ย ในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 69.92 ต่ากว่าร้อยละ 75.27 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 66.93 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารขยายตัวร้อยละ 9.8
สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ขยายตัวร้อยละ 3.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการชะลอตัวของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ประกอบกับการขยายตัวต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาการขายส่งและการขายปลีกขยายตัวร้อยละ 3.7
สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า ขยายตัวร้อยละ 8.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 9.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยบริการขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 ตามการเพิ่มขึ้นของบริการขนส่งทางอากาศ (ร้อยละ 22.3) บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง (ร้อยละ 5.2) และบริการขนส่งทางน้า (ร้อยละ 2.6)
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาการขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้าขยายตัวร้อยละ 9.0
สาขาการก่อสร้าง ลดลงร้อยละ 5.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 17.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 7.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 30.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการก่อสร้างของรัฐบาลร้อยละ 17.2 และการก่อสร้างภาคเอกชนลดลงร้อยละ 2.2 สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างลดลงร้อยละ 0.4 ตามการลดลงของราคาหมวดเหล็ก (ลดลงร้อยละ 2.0) ราคาหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ (ลดลงร้อยละ 1.6) และราคาสุขภัณฑ์ (ลดลงร้อยละ 3.8) เป็นสาคัญ
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาการก่อสร้างลดลงร้อยละ 11.2
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 4
Economic Outlook NESDC
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน: ขยายตัวร้อยละ 4.0 ชะลอลงจากร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการใช้จ่าย
หมวดบริการขยายตัวร้อยละ 6.0 ชะลอลงจากร้อยละ 13.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของการใช้จ่าย
ในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร กลุ่มบริการทางการเงิน การบริการด้านการศึกษา และกลุ่มสถานบันเทิงอื่น ๆ
การใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 3.6 ชะลอลงจากร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลง
ของการใช้จ่ายกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์และการใช้จ่ายกลุ่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ส่วนการใช้จ่าย
หมวดสินค้าคงทนลดลงร้อยละ 6.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 6.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของ
การใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปโดยให้ความสาคัญกับ
รถยนต์พลังงานทางเลือกมากขึ้น ประกอบกับการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้น ส่งผลให้ผู้บริโภคชะลอการตัดสินใจ
ซื้อรถยนต์ใหม่ อย่างไรก็ตาม การใช้จ่ายในหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 4.3 ตามการขยายตัวของการใช้
จ่ายเพื่อซื้อเฟอร์นิเจอร์ และการใช้จ่ายกลุ่มเสื้อผ้าและรองเท้า สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเกี่ยวกับ
ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี้อยู่ที่ระดับ 54.3 ลดลงจากระดับ 57.2 ในไตรมาสก่อนหน้า
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 5.4 ต่อเนื่องจากร้อยละ 7.6 ในช่วง
ครึ่งหลังของปี 2566
การลงทุนภาคเอกชน: ลดลงครั้งแรกในรอบ 10 ไตรมาส ร้อยละ 6.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.6
ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือร้อยละ 8.1 เทียบกับการขยายตัว
ร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการลดลงของการลงทุนในหมวดยานพาหนะร้อยละ 22.5 ต่อเนื่อง
จากการลดลงร้อยละ 19.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และสอดคล้องกับปริมาณการนาเข้าสินค้าทุนที่ขยายตัวร้อยละ
0.4 ชะลอลงจากการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 24.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และการลงทุนในหมวดการก่อสร้าง
ลดลงครั้งแรกในรอบ 8 ไตรมาส ร้อยละ 2.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 5.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจาก
การลดลงของการก่อสร้างที่อยู่อาศัยร้อยละ 7.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้อง
กับการชะลอตัวของสินเชื่อครัวเรือน และมาตรฐานสินเชื่อที่เข้มงวดมากขึ้น ประกอบกับราคาที่อยู่อาศัยใหม่
ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ส่วนการก่อสร้างอาคารพาณิชย์ลดลงร้อยละ 10.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ขณะที่การก่อสร้างโรงงานขยายตัวร้อยละ 20.8 ชะลอลงจากร้อยละ 35.1 ในไตรมาสก่อนหน้า
การปรับตัวลดลงของการลงทุนภาคเอกชนในไตรมาสนี้สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ
ที่ระดับ 48.0 จากระดับ 48.8 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าระดับ 50 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 4
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การลงทุนภาคเอกชนลดลงร้อยละ 0.9 ตามการลดลงของการลงทุนในหมวดเครื่องจักร
เครื่องมือร้อยละ 1.3 ขณะที่การลงทุนในหมวดการก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 1.2
1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สองของปี 2567
ด้านการใช้จ่าย
การอุปโภคบริโภค
ภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ
4.0 ต่อเนื่องจากร้อยละ
6.9 ในไตรมาสก่อน
ตามการชะลอตัวลง
ของการใช้จ่ายหมวด
บริการ สินค้าไม่คงทน
และการลดลงของ
การใช้จ่ายหมวดสินค้า
คงทน
ในไตรมาสที่สองของ
ปี 2567 การอุปโภค
บริโภคภาคเอกชน
ขยายตัวต่อเนื่อง
การลงทุนภาคเอกชน
ลดลงครั้งแรกในรอบ 10
ไตรมาส ขณะที่การส่งออก
สินค้ากลับมาขยายตัว
การลงทุนภาคเอกชน
ลดลงครั้งแรกในรอบ
10 ไตรมาส ร้อยละ 6.8
ตามการลดลงของ
ทั้งการลงทุนหมวด
เครื่องจักรเครื่องมือ
และหมวดการก่อสร้าง
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
70.0
80.0
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
%YoY
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่อง
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน แกนซ้าย
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ แกนขวา
ดัชนี
ที่มา สศช และ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ที่มา สศช และ ธนาคารแห่งประเทศไทย
-70.0
-35.0
0.0
35.0
70.0
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
%YoY
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและเครื่องชี้ที่สาคัญ
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน แกนซ้าย
ดัชนีปริมาณการจาหน่ายน้ามันเบนซิน แก สโซฮอล์ และน้ามันดีเซล
ดัชนีปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน
ดัชนีปริมาณการนาเข้าสินค้าหมวดสิ่งทอเครื่องนุ่งห่ม
ยอดขายรถยนต์นั่งส่วนบุคคล
%YoY
ที่มา สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
-20.0
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
%YoY
การลงทุนภาคเอกชนปรับตัวลดลง
การลงทุนภาคเอกชน ก่อสร้าง เครื่องจักรเครื่องมือ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 5
Economic Outlook NESDC
การสง่ ออก: มลู ค่าการสง่ ออกในรปู เงนิ ดอลลาร สรอ. ในไตรมาสทสี่ องของปี 2567 มมี ลู คา 73,315 ลา นดอลลาร สรอ.
เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและราคาส่งออก
โดยดัชนีปริมาณการส่งออก กลับมาขยายตัวร้อยละ 2.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.4 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ตามการฟื้นตัวของปริมาณการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตร ขณะที่ดัชนีราคาสินค้า
ส่งออก เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 15 ร้อยละ 1.7 โดยดัชนีราคาส่งออกสินค้าเกษตรยังขยายตัวในเกณฑ์สูง
ร้อยละ 7.7 เมื่อหักการส่งออกทองคาออกแล้ว มูลค่าการส่งออกขยายตัวร้อยละ 4.3 ส่วนการส่งออกในรูปของ
เงินบาท มีมูลค่า 2,691 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่สาม ร้อยละ 11.2
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 142,908 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
ร้อยละ 1.7 จากการขยายตัวร้อยละ 1.9 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยปริมาณส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2
ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 การส่งออกในรูปเงินบาทมีมูลค่า 5,174 พันล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ
7.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.9 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา
มูลค่าการส่งออกสินค้า
ในรูปเงินดอลลาร์ สรอ.
กลับมาขยายตัวร้อยละ
4.5 ตามการขยายตัว
เร่งขึ้นของการส่งออก
สินค้าอุตสาหกรรมและ
สินค้าเกษตร
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
%YoY
ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคาส่งออก
ราคา มูลค่า ปริมาณ
ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ที่ร้อยละ 8.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.5 ในไตรมาส
ก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการขยายตัวของดัชนีปริมาณส่งออก ร้อยละ 0.8 ขณะที่ดัชนีราคาการส่งออกยังขยายตัว
ในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.7 สอดคล้องกับความต้องการในตลาดโลกที่ยังอยู่ในเกณฑ์สูง โดยมูลค่าการส่งออกสินค้า
เกษตรที่สาคัญ ได้แก่ ข้าว เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 53.0 ซึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของทั้งราคา
และปริมาณการส่งออก ร้อยละ 16.5 และร้อยละ 31.4 ตามลาดับ ตามการส่งออกไปยังตลาดอินโดนีเซีย อิรัก
สหรัฐฯ และแอฟริกาใต้ เป็นสาคัญ ยางพารา เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 37.3 เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณ
และราคาส่งออก ร้อยละ 26.2 และร้อยละ 8.9 ตามลาดับ ตามการส่งออกไปยังตลาดจีน มาเลเซีย และสหรัฐฯ
เป็นสาคัญ ขณะที่ทุเรียน ลดลงเล็กน้อยร้อยละ 1.0 โดยปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 8.3 ตามปริมาณ
การส่งออกไปยังตลาดจีนที่ยังชะลอตัว ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 มูลค่าการส่งออกสินค้า
อุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 3.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า
ตามการกลับมาขยายตัวของปริมาณการส่งออก ขณะที่ดัชนีราคาส่งออกเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง มูลค่าการส่งออกสินค้า
อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว เช่น คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 147.9) อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม (ร้อยละ 58.5)
ยานยนต์ (ร้อยละ 3.3) และชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 22.5) เป็นต้น ขณะที่มูลค่าการส่งออก
สินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่ลดลง เช่น น้าตาล (ลดลงร้อยละ 26.3) แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน (ลดลงร้อยละ
14.5) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 0.6) ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ลดลงร้อยละ 12.8) และผลิตภัณฑ์
ยาง (ลดลงร้อยละ 10.5) เป็นต้น มูลค่าการส่งออกสินค้าประมง ปรับตัวลดลงร้อยละ 14.2 สินค้าที่มีมูลค่า
การส่งออกลดลง อาทิ กุ้ง ปู กั้งและล็อบสเตอร์ (ลดลงร้อยละ 27.2) ขณะที่สินค้าส่งออกอื่น ๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ
15.7 โดยการส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปขยายตัวร้อยละ 11.8
สินค้าส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2566 2567 สัดส่วน
ทั้งปี H1 H2 Q1 Q2 Q3 Q4 H1 Q1 Q2 Q2/67 (%)
สินค้าเกษตร 3.9 0.4 8.2 6.0 -3.0 10.8 5.3 6.9 4.5 8.5 9.6
ข้าว 29.4 21.3 36.4 24.4 18.3 27.3 43.8 48.1 43.2 53.0 2.3
ยาง -29.2 -38.9 -17.1 -37.7 -40.2 -33.8 6.5 30.6 24.9 37.3 1.5
ทุเรียน 28.1 29.0 25.7 218.9 19.6 87.8 -51.7 -7.1 -53.2 -1.0 3.5
ผลไม้อื่น ๆ 15.8 -0.4 31.6 12.7 -7.3 42.3 18.6 -3.1 11.6 -12.7 0.9
สินค้าอุตสาหกรรม -0.9 -4.1 2.5 -2.0 -6.1 -0.1 5.3 2.0 0.4 3.7 86.7
อาหาร -2.6 -3.0 -2.2 3.4 -8.8 -5.7 1.7 -3.0 -7.2 1.5 7.5
น้าตาล 21.8 33.9 5.4 32.4 35.4 -0.4 16.1 -27.7 -29.1 -26.3 1.4
ปลากระป๋องและปลาแปรรูป -7.2 -6.6 -7.7 -2.3 -10.8 -11.6 -3.7 8.6 9.0 8.2 1.0
เป็ด-ไก่กระป๋องและแปรรูป -6.3 -5.9 -6.8 -5.6 -6.2 -11.2 -1.7 5.5 2.2 9.0 1.0
เครื่องดื่ม 1.9 1.3 2.7 -1.5 3.9 -1.2 6.9 7.7 11.5 4.3 1.1
-50.0
-40.0
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
62 63 64 65 66 67
%YoY
สินค้าส่งออกจาแนกตามกิจกรรมการผลิต
สินค้าเกษตร สินค้าประมง
สินค้าป่าไม้ สินค้าเหมืองแร่
สินค้าอุตสาหกรรม
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
6
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักส่วนใหญ่ยังคงขยายตัวในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะตลาดสหรัฐฯ กลุ่มประเทศ CLMV และ สหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK ขณะที่ตลาดจีน และอาเซียน (9) กลับมาขยายตัว
สินค้าส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2566
2567
สัดส่วน Q2/67 (%)
ทั้งปี
H1
H2
Q1
Q2
Q3
Q4
H1
Q1
Q2
ผลิตภัณฑ์ยาง
-13.1
-6.1
-20.6
0.3
-12.3
-22.4
-18.9
-15.1
-19.2
-10.5
1.9
อาหารสัตว์
-13.6
-22.7
-3.6
-20.9
-24.6
-10.3
4.0
26.9
20.3
33.8
1.0
อิเล็กทรอนิกส์
-3.6
-7.1
-0.2
-8.1
-6.1
-5.1
5.0
17.1
6.6
27.4
13.7
- คอมพิวเตอร์
97.6
88.0
105.3
19.2
205.5
51.6
184.0
157.7
172.5
147.9
1.5
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
-24.2
-27.2
-20.6
-24.9
-29.6
-32.7
-5.0
7.1
-6.9
22.5
4.4
- แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน
4.3
1.3
7.2
-0.2
2.9
16.4
-2.0
-13.0
-11.3
-14.5
2.8
- อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม
12.9
15.7
10.7
17.6
14.0
11.7
9.9
42.1
24.3
58.5
4.6
เครื่องใช้ไฟฟ้า
4.0
6.8
1.0
4.6
9.3
2.0
-0.0
-4.8
-4.4
-5.3
8.9
- เครื่องปรับอากาศ
-11.9
4.5
-31.0
12.5
-5.1
-33.0
-28.8
-8.4
-15.4
1.4
2.0
- ตู้เย็น
-6.7
-19.0
9.7
-18.8
-19.1
-0.4
23.3
5.0
7.0
3.0
0.7
- ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า
31.4
35.9
27.4
27.2
44.8
40.3
16.3
-7.1
-0.7
-12.8
2.7
ผลิตภัณฑ์โลหะ
-7.1
-16.8
4.5
-14.4
-19.1
-4.2
14.6
13.1
21.8
4.6
5.1
ยานยนต์
10.4
8.8
12.0
10.5
7.0
19.4
4.9
-1.2
-5.3
3.3
14.3
- รถยนต์นั่ง
26.2
37.4
17.8
52.7
21.4
41.9
1.0
8.1
-3.8
23.7
2.7
- รถกระบะและรถบรรทุก
25.4
32.6
19.4
37.1
27.8
29.3
10.5
-1.4
-15.8
15.2
3.3
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์
0.9
-6.0
8.3
-8.3
-3.4
6.2
10.6
1.8
4.1
-0.6
6.1
เครื่องจักรและอุปกรณ์
-0.8
-1.1
-0.5
-0.6
-1.5
0.8
-1.9
3.0
-1.4
7.5
8.3
อากาศยาน, เรือ, แท่น, และรถไฟ
4.4
-17.2
41.2
9.8
-29.8
2.3
91.0
-8.9
25.8
-34.3
1.1
เครื่องประดับ
10.8
12.6
9.2
22.0
3.7
11.5
6.4
9.1
13.6
4.0
2.7
เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี
-15.1
-20.9
-8.3
-21.8
-19.9
-13.6
-2.0
-3.1
-4.8
-1.4
7.1
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
0.1
-17.0
20.2
3.1
-29.4
-3.0
51.6
-5.5
-3.9
-6.9
3.1
สินค้าประมง
-8.4
-6.6
-10.2
-13.2
-0.4
-16.4
-3.3
-0.4
16.8
-14.2
0.5
กุ้ง, ปู, กั้ง และล็อบสเตอร์
-7.7
-0.4
-13.8
-11.2
8.7
-19.6
-7.4
-9.1
17.3
-27.2
0.2
ปลา
-12.8
-20.3
-5.1
-24.3
-16.1
-13.6
4.8
18.0
27.8
8.5
0.1
สินค้าส่งออกอื่น ๆ
-11.5
-28.9
27.0
-37.3
-8.0
-8.6
95.0
-10.1
-25.2
15.7
2.1
ทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูป
-15.6
-34.9
26.7
-46.9
-1.3
-9.9
98.0
-4.9
-16.0
11.8
1.9
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร
-0.8
-4.6
3.2
-3.3
-5.8
0.3
6.4
2.0
-0.3
4.3
100.0
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติดุลการชาระเงิน
-1.5
-4.8
1.9
-3.8
-5.7
-1.3
5.4
1.7
-1.1
4.5
98.7
มูลค่าสินค้าส่งออกไม่รวมทองคา
-1.2
-3.7
1.5
-1.6
-5.8
-1.1
4.3
1.9
-0.6
4.3
96.8
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ตลาดส่งออก: การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักส่วนใหญ่ยังคงขยายตัวในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะตลาดสหรัฐฯ กลุ่มประเทศ CLMV และ สหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK ขณะที่ตลาดจีน และอาเซียน (9) กลับมาขยายตัว โดยการส่งออกไปยัง ตลาดสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 12.5 ตามการส่งออกคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องโทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ ตลาดจีน กลับมาขยายตัวร้อยละ 1.9 ตามการส่งออกคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ สินค้าอุตสาหกรรมอื่น ๆ และสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรอื่น ๆ ตลาดอาเซียน (9) กลับมาขยายตัวร้อยละ 3.1 ตามการส่งออกไปยังตลาดมาเลเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ และกัมพูชา เป็นสาคัญ และตลาดสหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 6.5 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ และผลิตภัณฑ์ยางเป็นสาคัญ สาหรับตลาดที่มีมูลค่าการส่งออกลดลง อาทิ ตลาดญี่ปุ่น ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ที่ร้อยละ 5.9 ตามการลดลงของ การส่งออกเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ และเม็ดพลาสติก เป็นสาคัญ ตลาดสหราชอาณาจักร ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 19.9 ตามการลดลงของการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ และรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ ตลาดเกาหลีใต้ ลดลงต่อเนื่องร้อยละ 5.4 ตามการลดลงของการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง น้ามันสาเร็จรูป และแผงวงจรไฟฟ้า เป็นสาคัญ และตลาดไต้หวัน ลดลงต่อเนื่องร้อยละ 1.4 ตามการลดลงของการส่งออกแผงวงจรไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และอากาศยานและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 7
Economic Outlook NESDC
ตลาดส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YOY 2566 2567 สัดส่วน
ทั้งปี H1 H2 Q1 Q2 Q3 Q4 H1 Q1 Q2 Q2/67 (%)
มูลค่าการส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร
(ล้านดอลลาร์ สรอ.) 285,074 142,384 142,690 71,182 71,202 72,476 70,214 145,290 70,995 74,295 100.0
(%YoY) -0.8 -4.6 3.2 -3.3 -5.8 0.3 6.4 2.0 -0.3 4.3
สหรัฐอเมริกา 1.7 -3.4 6.9 -3.7 -3.1 3.9 10.3 11.2 9.9 12.5 17.7
จีน -0.7 -3.5 2.5 -7.2 -0.5 4.4 0.4 -1.2 -5.1 1.9 13.8
ญี่ปุ่น -0.3 -1.3 0.9 -0.3 -2.4 1.8 -0.15 -7.5 -9.0 -5.9 7.7
อาเซียน (9) -6.8 -9.2 -4.1 -2.9 -15.0 -12.0 5.0 1.2 -0.6 3.1 22.9
- อาเซียน (5)* -1.1 -6.6 5.1 -1.0 -11.9 -4.2 16.1 -2.7 -5.3 0.0 13.1
- CLMV** -14.3 -12.8 -15.7 -5.6 -19.2 -21.8 -8.8 7.0 6.5 7.5 9.7
สหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK -3.7 -1.7 -5.7 -1.2 -2.2 -8.0 -3.2 4.4 2.4 6.5 7.8
สหราชอาณาจักร 1.0 11.1 -8.7 2.8 20.4 -0.4 -16.8 -15.3 -10.5 -19.9 1.2
ตะวันออกกลาง (15) -0.4 3.2 -3.8 14.5 -7.3 -5.2 -2.5 2.0 -3.7 8.4 3.7
- ซาอุดีอาระเบีย 32.4 36.3 29.2 47.8 25.2 40.7 19.3 11.6 4.3 19.9 1.0
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ -3.8 0.7 -7.7 17.2 -14.4 -14.9 0.3 5.3 0.0 11.8 1.1
ออสเตรเลีย 9.2 2.5 15.6 -9.0 15.4 11.8 19.4 11.8 24.8 0.2 4.0
ฮ่องกง 10.0 -6.6 30.4 -3.3 -9.5 34.8 25.8 14.0 23.5 5.1 3.8
อินเดีย -4.0 -8.7 1.4 3.9 -19.4 1.6 1.3 5.5 -3.4 15.4 3.8
เกาหลีใต้ -5.2 -5.7 -4.6 -0.7 -10.1 -11.4 3.8 -6.4 -7.5 -5.4 2.1
ไต้หวัน 2.0 -5.1 10.2 -2.5 -7.3 5.4 15.1 -1.9 -2.5 -1.4 1.7
หมายเหตุ: * อาเซียน (5) ประกอบด้วย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์
เยเมน ลิเบีย และซีเรีย
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
สินคา อเ ล็กทรอนิกส์และเครอื่ งใช้ไฟฟา เป็นหนงึ่ ในสนิ คา สง่ ออกหลักของไทยมาตลอด 2 ทศวรรษทผี่ นมาโดยมสี ดส่วนการส่งออกอยทู่ รี่ อ้ ยละ
23.9 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงอัตราขยายตัวของการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าพบว่า
ภายหลังจากปี 2564 เป็นต้นมา อัตราการขยายตัวมีแนวโน้มชะลอลงอย่างต่อเนื่อง และในปี 2566 มูลค่าการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และ
เครื่องใช้ไฟฟ้าปรับตัวลดลงร้อยละ 0.3 จากการขยายตัวร้อยละ 3.3 และร้อยละ 19.4 ในช่วงปี 2565 และปี 2564 ตามลาดับ ซึ่งส่งผลให้
การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมในภาพรวมในปี 2566 ลดลงร้อยละ 0.9 จากการขยายตัวร้อยละ 4.8 และร้อยละ 23.5 ในปี 2565 และปี 2564
ตามลาดับ ล่าสุดครึ่งปีแรกของปี 2567 มูลค่าการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้ากลับมาขยายตัวร้อยละ 6.7 ปรับตัวดีขึ้นจาก
การขยายตัวร้อยละ 0.3 ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2566 โดยมูลค่าการส่งออกของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขยายตัวร้อยละ 17.1 จากการขยายตัวของ
สินค้ากลุ่มคอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นสาคัญ ขณะที่มูลค่าการส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าปรับตัวลดลงร้อยละ 4.8 จากการลดลง
ของการส่งออกชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ เป็นสาคัญ
ขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาสัดส่วนการส่งออกสินค้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยเทียบกับโลกพบว่ามีสัดส่วนลดลง ซึ่งสะท้อน
บทบาทของสินค้าทั้งสองชนิดนี้ของไทยที่ลดลงในห่วงโซ่การผลิตของโลก โดยพบว่า สัดส่วนการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องไฟฟ้าของ
ไทยไปตลาดโลกลดลงจากร้อยละ 1.5 ในช่วงปี 2547 - 2550 เหลือเพียงร้อยละ 1.1 ในช่วงปี 2563 - 2566 ขณะที่ประเทศสาคัญใน ASEAN เช่น
มาเลเซียและเวียดนาม มีสัดส่วนของมูลค่าการส่งออกสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 2.7 และร้อยละ 3.3 ตามลาดับ
ในช่วงปี 2563 - 2566 โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัดส่วนของเวียดนามนั้นเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจากร้อยละ 0.1 ในช่วงปี 2547 - 2550
การมีส่วนร่วมกับห่วงโซ่การผลิตโลกของสินค้าไทย ในกรณีของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า
-4.0
0.0
4.0
8.0
12.0
16.0
แผนฯ 8
40 44
แผนฯ 9
45 49
แผนฯ 10
50 54
แผนฯ 11
55 59
แผนฯ 12
60 65
2566*
%
อัตราการขยายตัวของการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้า
อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2539 2566
สินค้าอุตสาหกรรม ส่งออกสินค้าเครื่องไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ที่มา: สศช. หมายเหตุ: *ปี 2566 เป็นปีแรกของแผนฯ 13
สัดส่วนการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของประเทศสาคัญ ๆ ของโลก
ในช่วงปี 2547 - 2565
ประเทศ 2547 - 2550 2551 - 2552 2553 - 2559 2560 - 2562 2563 - 2566
จีน 15.3 19.6 24.3 25.0 27.2
สหรัฐฯ 6.9 6.4 6.0 5.5 4.9
ญี่ปุ่น 6.4 5.7 4.4 3.6 3.1
เกาหลีใต้ 4.5 4.6 4.9 5.3 4.8
ไต้หวัน 4.0 3.7 4.1 4.5 5.8
เยอรมนี 9.4 8.1 7.5 7.1 6.6
มาเลเซีย 3.3 2.5 2.5 2.5 2.7
เวียดนาม 0.1 0.2 1.1 2.5 3.3
ไทย 1.5 1.5 1.4 1.3 1.1
รวม 9 ประเทศ 51.4 52.2 56.2 57.3 59.6
ประเทศอื่น ๆ 48.6 47.8 43.8 42.7 40.4
รวมทั้งสิ้น 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
ที่มา: Trade Map คานวณโดยสศช.
8
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
1 ประเภทสินค้าที่อยู่ในตาแหน่งในห่วงโซ่การผลิตอ้างอิงและประมวลจากศูนย์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (E&E Intelligence Unit: EIU) สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (EEI)
การมีส่วนร่วมกับห่วงโซ่การผลิตโลกของสินค้าไทย ในกรณีของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า (ต่อ)
เมื่อพิจารณาบทบาทของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยจาแนกตามประเภทสินค้าที่อยู่ในตาแหน่งในห่วงโซ่การผลิตโลก ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า1 โดยพิจารณาจากสัดส่วนการส่งออกในแต่ละกลุ่มสินค้าเทียบกับประเทศสาคัญอื่น ๆ ระหว่างปี 2547 (ค.ศ. 2004) กับปี 2566 (ค.ศ.2023) พบว่า
? สินค้ากลุ่มต้นน้า (Upstream) สินค้าไทยมีส่วนร่วมของเพิ่มขึ้นเล็กน้อย โดยสัดส่วนการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ของไทยในกลุ่มต้นน้าเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.8 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 1.9 ในปี 2566 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนการส่งออกสินค้า เซมิคอนดักเตอร์ขั้นปลายของไทยไปตลาดโลกจากร้อยละ 2.2 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 3.2 ในปี 2566 อย่างไรก็ตาม บทบาทของผู้ส่งออกคู่แข่งอย่างเวียดนามนั้นได้พัฒนาอย่างมาก โดยสัดส่วนการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของเวียดนามในกลุ่มต้นน้าเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.2 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 3.5 ในปี 2566 และสัดส่วนการส่งออกสินค้าเซมิคอนดักเตอร์ขั้นปลายของเวียดนามไปตลาดโลกเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.0 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 4.7 ในปี 2566
? สินค้าในกลุ่มกลางน้า (Mid-Stream) การมีส่วนร่วมของสินค้าไทยกลุ่มนี้โดยรวมลดลง โดยสัดส่วนการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยในกลุ่มกลางน้าลดลงจากร้อยละ 1.6 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 1.1 ในปี 2566 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการลดลงของบทบาท การส่งออกสินค้า Printed Circuit Board (PCB) ของไทยไปตลาดโลกลดลงจากร้อยละ 5.0 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 2.5 ในปี 2566 ขณะที่ บทบาทของผู้ส่งออกคู่แข่งอย่างเวียดนามในห่วงโซ่การผลิตโลกเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของเวียดนาม ในกลุ่มกลางน้าเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.1 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 3.1 ในปี 2566 และสัดส่วนการส่งออกสินค้าในกลุ่มนี้ของเวียดนามไปตลาดโลกเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.3 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 3.1 ในปี 2566
? สินค้าในกลุ่มปลายน้า (Downstream) การมีส่วนร่วมของสินค้าไทยกลุ่มนี้โดยรวมลดลง โดยสัดส่วนการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยในกลุ่มปลายน้าลดลงจากร้อยละ 2.4 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 2.2 ในปี 2566 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการลดลงของสัดส่วน การส่งออกสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ (Electronic Devices) ของไทยไปตลาดโลกลดลงจากร้อยละ 2.5 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 2.3 ในปี 2566 ส่วนบทบาทของผู้ส่งออกคู่แข่งอย่างเวียดนามในห่วงโซ่การผลิตโลกเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญ โดยสัดส่วนการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของเวียดนามในกลุ่มปลายน้าเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.1 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 7.5 ในปี 2566 และสัดส่วนการส่งออกสินค้าในกลุ่มนี้ของเวียดนามไปตลาดโลกเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.1 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 7.7 ในปี 2566
0.020.040.0Upstream 2004Upstream 2023%0.020.040.0Semiconductors 2004Semiconductors 2023%UpstreamSemiconductor0.020.040.0Mid-Stream 2004Mid-Stream 2023%0.020.040.0PCB 2004PCB 2023%MidstreamPrinted Circuit Board0.020.040.0Downstream 2004Downstream 2023%0.020.040.0Electronic Devices 2004Electronic Devices 2023%DownstreamElectronic Devicesสัดส่วนการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ/กลุ่มประเทศต่าง ๆ จาแนกตามประเภทสินค้าที่อยู่ในตาแหน่งในห่วงโซ่การผลิตโลกของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า และตัวอย่างของสินค้าสาคัญของแต่ละตาแหน่ง (ร้อยละ)ที่มา: Trade Map คานวณโดย สศช.หมายเหตุ: NICs ในบทความนี้ประกอบด้วย เกาหลีใต้ ฮ่องกง ไต้หวัน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 9
Economic Outlook NESDC
การมีส่วนร่วมกับห่วงโซ่การผลิตโลกของสินค้าไทย ในกรณีของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า (ต่อ)
ปัจจุบัน ภาครัฐมีความพยายามในการเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยเนื่องจากเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรม
เป้าหมายของประเทศ ผ่านการดาเนินนโยบายส่งเสริมการลงทุนที่มุ่งเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ต่างชาติเข้ามาลงทุน
ในอุตสาหกรรมทั้งสองอย่างต่อเนื่อง เห็นได้จากยอดการขอรับการส่งเสริมการลงทุนในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2567 ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
และเครื่องใช้ไฟฟ้าตลอดจนอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอยู่ในระดับสูง เช่น 1) กิจการผลิตอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูง ได้แก่ การผลิตเวเฟอร์ ( Wafer),
การออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์, การประกอบและทดสอบเซมิคอนดักเตอร์และวงจรรวม 10 โครงการ เงินลงทุนรวม 19,543 ล้านบาท 2) กิจการ
ผลิตแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (Printed Circuit Board: PCB) 31 โครงการ เงินลงทุนรวม 39,732 ล้านบาท 3) กิจการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
อัจฉริยะ และเครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ 8 โครงการ เงินลงทุนรวม 38,182 ล้านบาท 4) กิจการ Data Center 3 โครงการ เงินลงทุนรวม 24,289
ล้านบาท และ 5) กิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ แพลตฟอร์มเพื่อให้บริการดิจิทัล หรือดิจิทัลคอนเทนต์ 59 โครงการ เงินลงทุนรวม 812 ล้านบาท เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม ประเด็นสาคัญที่ไทยยังคงต้องเตรียมความพร้อมและให้ความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และ
เครื่องใช้ไฟฟ้านั้น คือ การเตรียมพร้อมด้านแรงงานที่รองรับต่อความต้องการของการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยเฉพาะแรงงานที่มีทักษะสูงทั้งที่มี
ความรู้ด้านวิศวกรรม Software Development ตลอดจนการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อความต้องการของบริษัทชั้นนาของตลาดโลก
รวมไปถึงปัจจัยพื้นฐานด้านอื่น เช่น การเตรียมความพร้อมของทรัพยากรแหล่งน้า จานวนห้องปฏิบัติการทั้งที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัยและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัย รวมถึงเพื่อการทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยังมีจานวนน้อย รวมถึงระบบในการกาจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีประสิทธิภาพ
ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมทั้งห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้าของการผลิตอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และ
เครื่องใช้ไฟฟ้าของไทย
มูลค่าการนาเข้าในรูป
เงินดอลลาร์ สรอ.
ขยายตัวร้อยละ 1.2
ชะลอลงจากไตรมาส
ก่อนหน้า
การนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มีมูลค่า 67,777 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 ชะลอลงจาก
ร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจากปริมาณนาเข้าที่กลับมาลดลงร้อยละ 0.9 เทียบกับการขยายตัว
ร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของปริมาณนาเข้าในหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
และปริมาณนาเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค ร้อยละ 1.9 และร้อยละ 3.1 ตามลาดับ ขณะที่ปริมาณนาเข้าสินค้าทุน
ขยายตัวร้อยละ 0.4 ชะลอลงจากการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 24.6 ส่วนราคานาเข้ากลับมาขยายตัวร้อยละ 2.1
เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ หากไม่รวมการนาเข้าทองคา มูลค่าการนาเข้าลดลง
ร้อยละ 1.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 1.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ในรูปของเงินบาท การนาเข้าสินค้ามีมูลค่ารวม
2,488 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 7.8 เทียบกับร้อยละ 8.7 ในไตรมาสก่อนหน้า
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การนาเข้าสินค้าคิดเป็นมูลค่า 135,759 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 2.3
เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.3 ในช่วงครึ่งหลังของปีก่อนหน้า โดยปริมาณและราคานาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8
และร้อยละ 0.4 ตามลาดับ ส่วนการนาเข้าในรูปของเงินบาทมีมูลค่า 4,912 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.2
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
62 63 64 65 66 67
%YoY ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคานาเข้า
ราคา มูลค่า ปริมาณ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
62 63 64 65 66 67
%YoY
สินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
สินค้าอุปโภคบริโภค
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
สินค้าทุน
รวม
ในรายหมวด มูลค่าการนาเข้าสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง และสินค้าอุปโภคบริโภคปรับตัวลดลงติดต่อกัน
เป็นไตรมาสที่ 2 ขณะที่การนาเข้าสินค้าทุนขยายตัวชะลอลง โดยมูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้า
ขั้นกลางลดลงร้อยละ 0.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าลดลงร้อยละ
1.9 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคานาเข้ากลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 5
ไตรมาส ร้อยละ 1.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าลดลง
เช่น น้ามันดิบ วัสดุที่ทาด้วยโลหะ และกาซธรรมชาติ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอุปโภคบริโภคลดลง
ร้อยละ 1.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของปริมาณการนาเข้าที่ร้อยละ 3.1
ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าลดลง เช่น ยาและเวชภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์
และประมง และยานพาหนะ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 ชะลอลงจากร้อยละ
24.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 ชะลอลงจากร้อยละ 24.6 ในไตรมาสก่อนหน้า
10
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
สินค้านาเข้าสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2566
สัดส่วน Q2/67 (%)
2567
ทั้งปี
H1
H2
Q1
Q2
Q3
Q4
H1
Q1
Q2
สินค้าอุปโภคบริโภค
8.5
9.0
8.0
11.6
6.4
6.3
9.6
-2.4
-3.6
-1.1
12.5
- ไม่รวมยานพาหนะ
1.1
0.9
1.2
3.8
-1.9
-0.8
3.2
1.9
-0.4
4.3
11.5
อาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์นม
2.0
0.9
3.0
0.9
0.8
0.2
5.9
4.6
3.7
5.6
2.5
โทรศัพท์มือถือ
-5.1
-14.3
3.8
-4.8
-25.0
-3.6
11.7
9.9
-0.0
24.2
1.3
ยาและเวชภัณฑ์
-10.0
-14.7
-4.0
-19.2
-9.7
0.8
-8.1
-11.3
-7.5
-15.1
1.1
ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และประมง
-7.4
0.6
-14.8
1.8
-0.6
-12.9
-16.7
-10.5
-13.6
-7.4
1.1
สิ่งทอ
2.8
1.4
4.2
6.5
-3.6
0.3
8.3
6.0
5.7
6.3
1.0
ยานพาหนะ
132.1
177.8
101.9
179.1
176.6
117.9
88.7
-34.7
-28.6
-40.6
1.0
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
-7.8
-8.3
-7.2
-2.6
-13.3
-14.7
1.8
-1.3
-2.1
-0.5
62.4
- ไม่รวมกลุ่มเชื้อเพลิง
-5.7
-8.0
-3.3
-4.1
-11.6
-8.8
3.2
0.4
-1.4
2.1
45.7
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ฯ
4.5
-2.2
11.4
-0.8
-3.5
3.3
20.3
13.7
11.0
16.5
16.9
น้ามันดิบ
-10.6
-12.1
-9.0
3.8
-23.9
-21.8
6.7
1.5
3.5
-0.4
11.2
เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ฯ
-15.5
-16.3
-14.5
-10.5
-21.5
-20.6
-7.0
-2.0
-4.1
0.1
8.7
วัสดุที่ทาด้วยโลหะ
-16.6
-21.0
-11.1
-14.5
-26.7
-18.1
-2.5
-6.5
-11.5
-1.3
7.5
กาซธรรมชาติ
-9.1
10.0
-25.1
-1.1
21.9
-41.0
7.4
-24.9
-15.9
-32.8
2.9
สินค้าทุน
6.7
4.2
9.4
0.8
7.5
7.0
11.8
12.1
24.0
1.2
19.8
- ไม่รวมคอมพิวเตอร์
3.9
2.1
5.7
1.8
2.3
6.3
5.2
2.1
2.5
1.8
16.7
เครื่องจักรกลอื่นๆ และชิ้นส่วน
-1.2
-1.4
-1.0
-4.1
1.3
-1.3
-0.7
-4.6
-5.3
-3.9
7.1
คอมพิวเตอร์
56.1
41.8
70.1
-16.3
111.9
17.3
142.1
140.3
444.5
-4.6
3.1
อากาศยาน เรือ และแท่นฯ
19.1
3.8
39.9
18.5
-5.4
15.2
55.9
62.4
74.4
53.1
2.2
หม้อแปลง เครื่องกาเนิดไฟฟ้าฯ
2.1
4.5
-0.3
6.0
3.0
-0.2
-0.5
4.4
-0.4
9.3
1.9
เครื่องชั่ง ตวง วัด
1.3
3.1
-0.4
6.2
0.2
-1.6
0.7
-8.8
-8.4
-9.2
1.2
สินค้านาเข้าอื่น ๆ
-22.5
-13.3
-28.8
-13.2
-13.3
-47.7
3.8
54.6
45.4
62.5
5.4
ทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ)
-29.4
-19.2
-35.7
-24.2
-15.2
-55.5
2.5
92.4
95.5
90.2
4.4
สินค้านาเข้าเบ็ดเตล็ด
-1.4
0.5
-3.2
8.6
-8.2
-12.4
7.5
-15.9
-23.5
-6.4
1.0
มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติศุลกากร
-4.2
-4.4
-3.9
-0.7
-7.8
-11.2
4.7
3.0
3.9
2.2
100.0
มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติดุลการชาระเงิน
-3.8
-3.3
-4.3
0.4
-6.6
-11.8
4.6
2.3
3.3
1.2
90.2
มูลค่าการนาเข้าสินค้าไม่รวมทองคา
-2.7
-2.8
-2.6
1.1
-6.3
-8.8
4.7
-0.1
1.3
-1.6
85.8
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้า
%YoY
2566
2567
ทั้งปี
H1
H2
Q1
Q2
Q3
Q4
H1
Q1
Q2
สินค้าอุปโภคบริโภค
5.7
5.5
5.9
7.0
4.0
4.1
7.6
-3.9
-4.7
-3.1
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
-5.2
-5.7
-3.2
-3.7
-8.0
-11.4
3.9
-0.7
0.6
-1.9
สินค้าทุน
6.3
3.5
9.2
-0.2
7.0
7.0
11.6
11.9
24.6
0.4
ดัชนีปริมาณนาเข้ารวม
-4.1
-4.0
-3.1
-3.6
-4.9
-10.9
4.2
1.8
4.6
-0.9
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดัชนีราคาสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ
ดัชนีราคาสินค้านาเข้า
%YoY
2566
2567
ทั้งปี
H1
H2
Q1
Q2
Q3
Q4
H1
Q1
Q2
สินค้าอุปโภคบริโภค
2.6
3.3
2.0
4.3
2.3
2.1
1.9
1.6
1.2
2.1
วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง
-2.6
-2.4
-2.9
1.2
-5.8
-3.7
-2.1
-0.6
-2.7
1.5
สินค้าทุน
0.4
0.7
0.1
1.0
0.4
0.0
0.2
0.2
-0.5
0.8
ดัชนีราคานาเข้ารวม
0.4
1.0
0.2
4.1
-1.8
-1.0
0.4
0.4
-1.2
2.1
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้า สินค้าสาคัญที่มีมูลค่า การนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น อากาศยาน เรือ และแท่นฯ และหม้อแปลงและเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฯ เป็นต้น ส่วนสินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าลดลง เช่น เครื่องจักรกลและชิ้นส่วน (ลดลงร้อยละ 3.9) และคอมพิวเตอร์ (ลดลงครั้งแรก ในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 4.6 เทียบกับการขยายตัวในเกณฑ์สูงถึงร้อยละ 444.5 ในไตรมาสก่อนหน้า) มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอื่น ๆ เพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงร้อยละ 62.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 45.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการนาเข้าสินค้ากลุ่มทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ) ขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องร้อยละ 90.2 เทียบกับ การขยายตัวร้อยละ 95.5
11
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
อัตราการค้าลดลง เป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส
อัตราการค้า (Term of Trade) ปรับตัวลดลงครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 0.4 โดยเป็นผลจากราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 ส่งผลให้อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 97.6 ลดลงจากระดับ 98.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และระดับ 99.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และ ยังเป็นอัตราการค้าที่ต่ากว่าระดับ 100 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 10
รวมครึ่งแรกของปี 2567 อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 98.3 เทียบกับระดับ 98.0 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคานาเข้าร้อยละ 0.4
ดุลการค้าเกินดุล ในไตรมาสที่สองของปี 2567 ดุลการค้าเกินดุล 5.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. สูงกว่าการเกินดุล 1.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าการเกินดุล 3.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตามการกลับมาขยายตัวของการส่งออก เมื่อคิดในรูปเงินบาท ดุลการค้าเกินดุล 203.1 พันล้านบาท สูงกว่าการเกินดุล 58.6 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าการเกินดุล 111.5 พันล้านบาท ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
รวมครึ่งแรกของปี 2567 ดุลการค้าเกินดุล 7.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการเกินดุล 11.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา และการเกินดุล 7.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในช่วงเดียวกันของ ปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาท ดุลการค้าเกินดุล 261.7 พันล้านบาท เทียบกับการเกินดุล 412.4 พันล้านบาท ในช่วงครึ่งหลังของปีทีผ่านมา
อัตราการค้า
%YoY
2566
2567
ทั้งปี
H1
H2
Q1
Q2
Q3
Q4
H1
Q1
Q2
อัตราการค้า*
97.6
97.2
98.0
96.5
98.0
98.0
98.0
98.3
99.0
97.6
%YOY
0.8
0.0
1.6
-2.0
2.1
2.1
1.0
1.1
2.6
-0.4
หมายเหตุ : * อัตราการค้า (Terms of Trade : TOT) คือ ราคาสินค้าส่งออกเทียบกับราคาสินค้านาเข้าของแต่ละประเทศ หาก TOT ปรับดีขึ้น หมายถึงประเทศนั้น ๆ ได้ประโยชน์มากขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากสินค้าที่ส่งออกได้ราคาสูงขึ้นเทียบกับราคาที่นาเข้า ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดุลการค้าเกินดุล 5.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. สูงกว่าการเกินดุล ในไตรมาสก่อนหน้า และไตรมาสเดียวกัน ของปีก่อน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 12
Economic Outlook NESDC
ด้านการผลิต
สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง: ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 1.1 เทียบกับการลดลง
ร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีสาเหตุสาคัญมาจากสภาพภูมิอากาศที่ไม่เอื้ออานวย เนื่องจากอยู่
ในช่วงปลายของภาวะเอลนีโญ (El Ni?o) และทาให้ผลผลิตหมวดพืชผลสาคัญลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5
โดยเฉพาะข้าวเปลือก กลุ่มไม้ผล มันสาปะหลัง และยางพารา ในขณะที่ผลผลิตหมวดปศุสัตว์ขยายตัวต่อเนื่อง
เป็นไตรมาสที่ 8 ตามการเพิ่มขึ้นของโคเนื้อ ไก่เนื้อ และสุกร เป็นสาคัญ ส่วนหมวดประมงลดลงครั้งแรกในรอบ
2 ไตรมาส การลดลงของผลผลิตสินค้าเกษตรในไตรมาสนี้สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร
ร้อยละ 1.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งมีสาเหตุสาคัญมาจากภัยแล้งและฝนทิ้งช่วง
อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับปริมาณน้าในเขื่อนและน้าในแหล่งน้าตามธรรมชาติลดลง และการแพร่ระบาดของ
โรคและศัตรูพืช โดยผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ (1) ข้าวเปลือก ลดลงร้อยละ 13.0
(2) กลุ่มไม้ผล ลดลงร้อยละ 8.0 ตามการลดลงของไม้ผลสาคัญ ๆ โดยเฉพาะทุเรียนหมอนทอง (ลดลงร้อยละ
14.4) (3) กลุ่มพืชน้ามันและพืชอาหาร ประกอบด้วย มันสาปะหลัง ลดลงร้อยละ 8.4 และยางพารา ลดลง
ร้อยละ 0.6 และ (4) กุ้งขาวแวนนาไม ลดลงร้อยละ 17.6 อย่างไรก็ตาม ผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ
บางรายการปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ อ้อย (ร้อยละ 41.9) ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 40.8) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ร้อยละ
11.1) โคเนื้อ (ร้อยละ 4.8) และไก่เนื้อ (ร้อยละ 1.1) ตามลาดับ ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 10.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนี
ราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ ได้แก่ (1) ยางพารา เพิ่มขึ้นร้อยละ 68.6 (2) กลุ่มผลไม้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.6
(3) ข้าวเปลือก เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.4 (4) อ้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.6 และ (5) ไข่ไก่คละ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5
ตามลาดับ ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ หลายรายการปรับตัวลดลง ได้แก่ สุกร (ลดลงร้อยละ 16.9)
มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 21.9) และปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 18.4) ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของดัชนีราคา
สินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 8.9
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การผลิตสาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงลดลงร้อยละ 1.9 เทียบกับ
การเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 2.4 ดัชนีราคา
สินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.1 และดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2
สาขาการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรมกลับมา
ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 7
ไตรมาส สาขาที่พักแรมและ
บริการด้านอาหาร
สาขาการขายส่งและ
การขายปลีก การซ่อม
ยานยนต์และจักรยานยนต์
และสาขาการขนส่งและ
สถานที่เก็บสินค้าขยายตัว
ต่อเนื่อง ขณะที่ สาขา
การก่อสร้าง และสาขา
เกษตรกรรม ปรับตัวลดลง
สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้
และการประมงลดลง
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3
ร้อยละ 1.1 ตามการลดลง
ของผลผลิตหมวดพืชผล
สาคัญ และหมวดประมง
เป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่
ดัชนีราคาสินค้าเกษตร
เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น
ไตรมาส 3
การเพิ่มขึ้นของดัชนีราคา
สินค้าเกษตรส่งผลให้
ดัชนีรายได้เกษตรกร
โดยรวมขยายตัวต่อเนื่อง
สาขาอุตสาหกรรม: กลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ ร้อยละ 0.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.9 ในไตรมาส
ก่อนหน้า สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของการส่งออกและอุปสงค์ภาครัฐ และการขยายตัวต่อเนื่องของ
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน โดยในไตรมาสนี้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภค
ภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) กลับมาขยายตัวร้อยละ 2.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ
0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า การผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ การผลิตน้ามันปาล์ม (ร้อยละ 25.5)
ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ามันที่เข้าสู่โรงงาน และการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ทั้งตลาดในประเทศ
และตลาดต่างประเทศ และการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 1.9) อย่างไรก็ตาม การผลิต
ผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และปูนปลาสเตอร์ และการผลิตของที่ทาจากลวด โซ่ สปริง สลักเกลียว และ
ตะปูควงลดลงร้อยละ 9.7 และร้อยละ 9.4 ตามลาดับ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก
(สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 1.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 5.2
ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ
พ่วง (ร้อยละ 0.3) และการผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ร้อยละ 8.7) ส่วนการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ
ที่ปรับตัวลดลงเช่น การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ลดลงร้อยละ 18.3) และการผลิตผลิตภัณฑ์
สาขาอุตสาหกรรมกลับมา
ขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ
7 ไตรมาส ร้อยละ 0.2
ตามการกลับมาขยายตัว
ของกลุ่มการผลิต
เพื่อบริโภคภายในประเทศ
เป็นสาคัญ
กลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วน
การส่งออกในช่วงร้อยละ
30-60 และกลุ่มการผลิต
เพื่อการส่งออกยังคง
ลดลงต่อเนื่อง
อัตราการใช้กาลังการผลิต
เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 57.79
ต่ากว่าร้อยละ 60.43
ในไตรมาสก่อนหน้า
และต่ากว่าร้อยละ 58.56
ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
-20
-10
0
10
20
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
(%YoY)
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาสินค้าเกษตร ดัชนีรายได้เกษตรกร
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ผลผลิตสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 1 7 ขณะที่ราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 7
ส่งผลให้รายได้เกษตรกรโดยรวมขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ ร้อยละ
ราคาสินค้าเกษตรที่ปรับเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางพารา ข้าวเปลือก และอ้อย
ในขณะที่ราคามันสาปะหลัง และราคาปาล์มน้ามันปรับตัวลดลง
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
-100
-50
0
50
100
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
65 66 67
(%YoY) ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ยางแผ่นดิบชั้น 3
ปาล์มน้ามัน อ้อย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 13
Economic Outlook NESDC
ยางอื่น ๆ (ลดลง ร้อยละ 2.5) และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60
ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 4.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 7.5 ในไตรมาสก่อนหน้า
โดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ลดลง ได้แก่ การผลิตยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 13.4) และการผลิตจักรยานยนต์
(ลดลงร้อยละ 14.9) ขณะที่ การผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ การผลิตอาหารสัตว์สาเร็จรูป
(ร้อยละ 13.5) และผลิตภัณฑ์จากสตาร์ช (ร้อยละ 30.1)
สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตในไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 57.79 ต่ากว่าร้อยละ 60.43 ในไตรมาสก่อนหน้า
และต่ากว่าร้อยละ 58.56 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในอุตสาหกรรมสาคัญ 30 รายการ
มีอุตสาหกรรมที่มีการใช้กาลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 80.00 จานวน 2 รายการ คือ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่น
ปิโตรเลียม (ร้อยละ 87.18) และ การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ร้อยละ 85.35) ขณะที่
อุตสาหกรรมที่มีการใช้กาลังการผลิตต่ากว่าร้อยละ 50.00 มีจานวน 12 รายการ เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์
คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และปูนปลาสเตอร์ (ร้อยละ 48.91) การผลิตเครื่องใช้ในครัวเรือน (ร้อยละ 48.63) และ
การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ร้อยละ 48.57) เป็นต้น
รวมครึ่งแรกของปี 2567 การผลิตสาขาการผลิตอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 1.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.4
ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา และอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 59.11
สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร: ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 7.8 ชะลอลงจากร้อยละ 11.8 ในไตรมาส
ก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวต่อเนื่องของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และการขยายตัว
ในเกณฑ์สูงของการท่องเที่ยวภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) โดยในไตรมาสนี้ มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยจานวน 8.131 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 93.67 ของจานวน
นักท่องเที่ยวต่างประเทศในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.3 ชะลอลงจาก
การขยายตัวร้อยละ 43.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางมาไทยสูงที่สุด 5 อันดับแรก
ประกอบด้วย จีน 1.683 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 20.70) มาเลเซีย 1.267 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 15.59)
อินเดีย 0.567 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 6.97) เกาหลีใต้ 0.376 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 4.63) และ สปป.ลาว
0.311 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 3.82) ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขยายระยะเวลาการดาเนินมาตรการยกเว้น
วีซ่าสาหรับนักท่องเที่ยวในหลายประเทศ มาตรการให้สิทธิ Visa on Arrival การมีวันหยุดช่วงเทศกาลฮารีรายอ
และช่วงอีดิลอัฎฮาในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง อาทิ ซาอุดิอาระเบีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง
การยกเว้นบัตร ตม.6 ในด่านทางบกทั้ง 8 ด่านให้กับนักท่องเที่ยวมาเลเซียและสปป.ลาว สาหรับมูลค่าบริการ
รับด้านการท่องเที่ยว1 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ 3.32 แสนล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 88.10 ของมูลค่าบริการรับ
ด้านการท่องเที่ยวในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 12 ร้อยละ
38.6 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 38.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของ
นักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) มีจานวน 68.194 ล้านคน-ครั้ง ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 13.0
โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากช่วงวันหยุดยาวหลายช่วง ประกอบกับมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวระยะเร่งด่วน
(Quick Win) เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวภายในประเทศ รวมทั้งการดาเนินมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยว
ผ่านงานเทศกาลและงานประจาปีในแต่ละจังหวัด และการจัดงานมหาสงกรานต์ 21 วัน ตั้งแต่วันที่ 1 - 21
เมษายน 2567 ทั่วประเทศ จังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนคนไทยสูงที่สุด 5 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่
ชลบุรี 4.124 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 6.05) กาญจนบุรี 3.716 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 5.45)
ประจวบคีรีขันธ์ 2.806 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 4.12) เพชรบุรี 2.778 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 4.07)
สาขาที่พักแรมและบริการ
ด้านอาหารขยายตัว
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10
ร้อยละ 7.8 โดยมีปัจจัย
สนับสนุนจากการขยายตัว
ต่อเนื่องของจานวน
นักท่องเที่ยวต่างประเทศ
และการขยายตัวในเกณฑ์
สูงการท่องเที่ยว
ภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย)
รายรับรวมจาก
การท่องเที่ยวในไตรมาสนี้
อยู่ที่ 5.77 แสนล้านบาท
เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.5
อัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่
ร้อยละ 69.92 ต่ากว่า
ร้อยละ 75.27 ในไตรมาส
ก่อนหน้า แต่สูงกว่า
ร้อยละ 66.93 ในไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน
1 มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวจากตารางดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ
อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
0.0
20.0
40.0
60.0
80.0
100.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
%Cap U (แกนซ้าย MPI
Export<30% Export 30-60%
Export>60%
ร้อยละ %YoY
มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสที่สองของปี
มีจานวน 3. แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-100
0
100
200
300
400
0.0
0.2
0.4
0.6
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
ล้านล้านบาท มูลค่าบริการรับ %YoY (แกนขวา ร้อยละ
การแพร่ระบาดของโรคโควิด
(การจากัดการเดินทางระหว่างประเทศ)
โครงการ Phuket Sandbox
( ก ค
ยกเลิก Thailand Pass
( ก ค
เป ดประเทศ และเริ่มใช้ Thailand Pass
( พ ย
ขยายเวลาพานักวีซ่าบางประเภท
( ต ค. ? มี ค
มาตรการ VOA
( พ ย. ? เม ย
จีนเป ดประเทศ และอนุญาตให้พลเมือง
เดินทางท่องเที่ยวนอกประเทศ
14
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
และพระนครศรีอยุธยา 2.187 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 3.21) สาหรับรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย2 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ 2.45 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 16.9 เร่งขึ้นจาก การขยายตัวร้อยละ 10.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยจังหวัดที่มีรายรับที่แท้จริงจากผู้เยี่ยมเยือนคนไทยสูงที่สุด 5 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ ชลบุรี (สัดส่วนร้อยละ 11.56) เชียงใหม่ (สัดส่วนร้อยละ 5.90) ประจวบคีรีขันธ์ (สัดส่วนร้อยละ 4.44) กาญจนบุรี (สัดส่วนร้อยละ 3.55) และเชียงราย (สัดส่วนร้อยละ 3.54) ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของทั้งมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวและมูลค่าการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวไทย ส่งผลให้ในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยว3 อยู่ที่ 5.77 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.5 เร่งขึ้นเมื่อเทียบกับการขยายตัวร้อยละ 26.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับอัตราการเข้าพักในไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ ร้อยละ 69.92 ต่ากว่าร้อยละ 75.27 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 66.93 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารขยายตัวร้อยละ 9.8 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.2 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศมีจานวน 17.501 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.0 ทาให้มีมูลค่ารายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ 7.03 แสนล้านบาท ส่งผลให้รายรับรวมจากการท่องเที่ยว มีมูลค่า 1.181 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.2 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 72.60
สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์: เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการชะลอตัวของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ โดย (1) ดัชนีการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 7.5 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 10.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ โดยเฉพาะร้านเครื่องประดับ ร้านเครื่องสาอาง และร้านขายปลีกดอกไม้ต้นไม้และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตามลาดับ และหมวดการขายปลีกในร้านค้าทั่วไป โดยเฉพาะการขายปลีกในร้านดิสเคาท์สโตร์/ซุปเปอร์เซ็นเตอร์/ไฮเปอร์มาร์เก็ต (2) ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ 3.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นในหมวดอาหารเครื่องดื่มและยาสูบและหมวดของใช้ในครัวเรือน ในขณะที่ (3) ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 11.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 16.9 ในไตรมาสก่อนหน้า
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.7 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.3 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา
สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า: ขยายตัวร้อยละ 8.1 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 9.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของบริการขนส่งทางอากาศ และการขยายตัวต่อเนื่องของบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เป็นสาคัญ สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีบริการขนส่ง ประกอบด้วย (1) บริการขนส่งทางอากาศ เพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงร้อยละ 22.3 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 25.8 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว (2) บริการขนส่งทางบกและ ท่อลาเลียง เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 5.7 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับ การเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้น้ามันดีเซล ปริมาณการใช้กาซปิโตรเลียมเหลว ปริมาณผู้โดยสารรถไฟฟ้า ปริมาณผู้ใช้บริการรถสาธารณะ และจานวนรถบรรทุก และ (3) บริการขนส่งทางน้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการชะลอตัวของดัชนีปริมาณ ตู้สินค้าและปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางน้าของไทย สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.5 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 10.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และบริการไปรษณีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.7 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 15.8 ในไตรมาสก่อนหน้า
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.0 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยบริการขนส่งขยายตัวร้อยละ 8.6 ประกอบด้วย บริการขนส่งทางอากาศขยายตัวร้อยละ 24.5 บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียงขยายตัวร้อยละ 5.5 และบริการขนส่งทางน้าขยายตัวร้อยละ 3.9 ตามลาดับ ส่วนบริการสนับสนุนการขนส่งขยายตัวร้อยละ 11.3 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวร้อยละ 12.4
2 รายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย จากตารางสรุปสถานการณ์พักแรม จานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กก.)
3 รายรับรวมจากการท่องเที่ยว คือ ผลรวมของมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวและรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย
สาขาการขายส่งและ
การขายปลีก
การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.0 ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า
สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 11 ร้อยละ 8.1 ตามการขยายตัว ในเกณฑ์สูงของบริการขนส่งทางอากาศ และการขยายตัวต่อเนื่องของบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง
15
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
สาขาการก่อสร้าง: ลดลงร้อยละ 5.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 17.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการก่อสร้างทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยในไตรมาสนี้ การก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 7.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 30.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้างของรัฐบาลลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 17.2 ในขณะที่การก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 9 ร้อยละ 9.2 สอดคล้องกับ การปรับตัวเพิ่มขึ้นของการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ ๆ อาทิ โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูนราษฎร์บูรณะ (รฟม.) และโครงการพัฒนาระบบส่งและจาหน่ายระยะที่ 2 (กฟภ.) ส่วนการก่อสร้างภาคเอกชนลดลงครั้งแรกในรอบ 8 ไตรมาส ร้อยละ 2.2 เทียบกับการขยายตัว ร้อยละ 5.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องของการก่อสร้างที่อยู่อาศัยทุกประเภทและการก่อสร้างอื่น ๆ ส่วนการก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัยชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวลงของการก่อสร้างอาคารโรงงาน และการลดลงของการก่อสร้างอาคารพาณิชย์ สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 0.4 ตามการลดลงของราคาหมวดเหล็ก (ลดลงร้อยละ 2.0) ราคาหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ (ลดลงร้อยละ 1.6) และราคาสุขภัณฑ์ (ลดลงร้อยละ 3.8) เป็นสาคัญ ในขณะที่ราคาวัสดุก่อสร้างสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เช่น หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (ร้อยละ 5.0) หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต (ร้อยละ 0.9) และหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา (ร้อยละ 1.4) เป็นต้น
รวมครึ่งแรกของปี 2567 สาขาการก่อสร้างลดลงร้อยละ 11.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.6 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยการก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 19.4 (การก่อสร้างของรัฐบาลลดลงร้อยละ 32.9 ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6) และการก่อสร้างภาคเอกชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2
ผู้มีงานทา: จานวนผู้มีงานทาปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ตามการลดลงของผู้มีงานทาใน ภาคเกษตร เป็นสาคัญ ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 9 ส่วนอัตรา การว่างงานสูงกว่าไตรมาสก่อนหน้าและสูงกว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในไตรมาสที่สองของปี 2567 ผู้มีงานทามีจานวนทั้งสิ้น 39.50 ล้านคน ลดลงร้อยละ 0.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า จาแนกเป็น ผู้มีงานทาชาวไทยจานวน 36.17 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 91.56) ลดลงร้อยละ 2.6 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และผู้มีงานทาชาวต่างด้าวจานวน 3.33 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 8.44) เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.1 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผู้มีงานทาภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 27.97) ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 5.0 สอดคล้องกับการลดลงของผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการ เช่น ข้าวเปลือก กลุ่มผลไม้ มันสาปะหลัง และยางพารา เป็นต้น ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 72.03) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 9 ร้อยละ 1.5 ตามการเพิ่มขึ้นของ ผู้มีงานทาในสาขาอุตสาหกรรม สาขาพักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาก่อสร้าง เป็นสาคัญ ส่วนสาขาขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และรถจักรยานยนต์กลับมาขยายตัวอีกครั้ง สาหรับอัตราการว่างงาน ในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 1.07 สูงกว่าร้อยละ 1.01 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 1.06 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 4.29 แสนคน สูงกว่าผู้ว่างงานจานวน 4.08 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า และใกล้เคียงกับผู้ว่างงานจานวน 4.29 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า
เฉลี่ยครึ่งแรกของปี 2567 ผู้มีงานทาลดลงร้อยละ 0.3 ตามการลดลงของผู้มีงานทาในภาคเกษตรเป็นสาคัญ และอัตราการว่างงานเฉลี่ยครึ่งปีแรกอยู่ที่ร้อยละ 1.04
สาขาการก่อสร้างลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 5.5 ตามการลดลงของ การก่อสร้างภาครัฐ โดยเฉพาะการก่อสร้างของรัฐบาล และการก่อสร้างภาคเอกชนซึ่งลดลงครั้งแรกในรอบ 8 ไตรมาส
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 0.4 ตามการลดลงของราคาหมวดเหล็ก เป็นสาคัญ
จานวนผู้มีงานทา ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 2 ตามการปรับตัวลดลงต่อเนื่องของผู้มีงานทาในภาคเกษตร เป็นสาคัญ ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 9
อัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 1.07 สูงกว่า ไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
0.00.51.01.52.02.535363738394041Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2 ผู้มีงานทาลดลงร้อยละ ตามการลดลงของผู้มีงานทาภาคเกษตรอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ การจ้างงานอัตราการว่างงาน แกนขวา ล้านคน ร้อยละ ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ สสช
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 16
Economic Outlook NESDC
สถานการณ์ด้านแรงงานในระบบประกันสังคม: จานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
เป็นไตรมาสที่ 13 โดยสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 สูงกว่าไตรมาสก่อนหน้า
แต่ต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสที่สองของปี 2567 ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมรวม
เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 เร่งขึ้นจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ประกอบด้วย ผู้ประกันตนภาคบังคับ
ตามมาตรา 33 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และผู้ประกันตน
ตามความสมัครใจ (มาตรา 40) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.56 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.64 ในไตรมาสก่อนหน้า
ในขณะที่ ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 39) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 5.9 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงาน
ตามมาตรา 33 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 1.92 สูงกว่าร้อยละ 1.84 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 2.13
ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีจานวนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33
เฉลี่ยจานวน 2.31 แสนคน สูงกว่าจานวน 2.18 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าจานวน 2.50 แสนคน
ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
จานวนผู้ประกันตน
ในระบบประกันสังคม
เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 13 ร้อยละ 0.9
ตามการเพิ่มขึ้นของ
ผู้ประกันตนภาคบังคับ
ตามมาตรา 33 และ
ผู้ประกันตนตาม
ความสมัครใจ (มาตรา 40)
ในขณะที่ผู้ประกันตนตาม
ความสมัครใจ (มาตรา 39)
ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง
เป็นไตรมาสที่ 8
สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับ
ประโยชน์กรณีว่างงานตาม
มาตรา 33 ในไตรมาสนี้
อยู่ที่ร้อยละ 1.92 สูงกว่า
ร้อยละ 1.84 ในไตรมาส
ก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ
2.13 ในไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อน
การจ้างงานจาแนกตามสาขาการผลิต
%YOY สัดส่วน
Q2/67
2566 2567
ทั้งปี H11/ H21/ Q1 Q2 Q3 Q4 H11/ Q1 Q2
ผู้มีงานทารวม 100.00 1.8 2.0 1.5 2.4 1.7 1.3 1.7 -0.3 -0.1 -0.4
- ภาคเกษตร 27.97 1.2 0.7 1.5 1.6 -0.2 2.0 1.0 -5.4 -5.7 -5.0
- นอกภาคเกษตร 72.03 2.0 2.6 1.5 2.7 2.5 1.0 2.0 1.8 2.2 1.5
อุตสาหกรรม 16.16 0.1 0.4 -0.9 0.4 0.3 0.6 -2.3 1.5 0.7 2.2
ก่อสร้าง 5.96 2.1 2.0 3.0 -1.8 6.0 2.9 3.1 3.3 5.0 1.5
สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ฯ 17.46 1.8 2.4 1.8 4.4 0.5 -0.2 3.8 -0.1 -0.4 0.2
ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 8.49 9.3 10.0 8.2 8.2 11.7 8.3 8.0 7.7 10.6 4.9
กาลังแรงงานรวม (ล้านคน) 40.45 40.29 40.60 40.28 40.31 40.53 40.67 40.20 40.23 40.18
จานวนผู้มีงานทา (ล้านคน) 39.92 39.65 40.17 39.63 39.68 40.09 40.25 39.54 39.58 39.50
จานวนผู้ว่างงาน (ล้านคน) 0.40 0.43 0.37 0.42 0.43 0.40 0.33 0.42 0.41 0.43
อัตราการว่างงาน (%) 0.98 1.06 0.90 1.05 1.06 0.99 0.81 1.04 1.01 1.07
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)
1/ ประมวลผลโดย สศช.
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
4.5
5.0
10,400,000
10,600,000
10,800,000
11,000,000
11,200,000
11,400,000
11,600,000
11,800,000
12,000,000
12,200,000
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ ล้านคน
และสัดส่วนผู้ใช้บริการกรณีว่างงานอยู่ที่ร้อยละ
จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ สัดส่วนผู้ใช้บริการ กรณีว่างงาน แกนขวา
ล้านคน ร้อยละ
ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน
จานวนผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) และผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33
จานวน (พันคน)
2565 2566 2567
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33)1/ 11,638 11,234 11,313 11,462 11,638 11,891 11,689 11,725 11,842 11,891 11,883 12,006
ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.39)2/ 1,880 1,920 1,902 1,899 1,880 1,798 1,866 1,850 1,826 1,798 1,770 1,740
ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.40)3/ 10,881 10,767 10,812 10,855 10,881 10,958 10,911 10,935 10,957 10,958 10,980 10,996
รวมผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) 24,399 23,920 24,027 24,216 24,399 24,647 24,466 24,511 24,625 24,647 24,634 24,742
ผปู้ ระกันตนทไ ดร้ บั ประโยชนก์ รณวี งงานจาก ม.33 197 306 245 228 197 207 227 250 229 207 218 231
สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณี
ว่างงานจาก ม.33 (ร้อยละ) 1.7 2.7 2.2 2.0 1.7 1.7 1.9 2.1 1.9 1.7 1.8 1.9
ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน
หมายเหตุ: 1/ ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33) คือ พนักงานบริษัทเอกชนทั่วไป ซึ่งมีสถานะเป็นลูกจ้างที่ทางานอยู่ในสถานประกอบการที่มีพนักงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป อายุไม่ต่ากว่า
15 ปี และไม่เกิน 60 ปี
2/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.39) คือ บุคคลที่เคยทางานอยู่ในบริษัทเอกชนในมาตรา 33 มาก่อนแล้วลาออกแต่ต้องการรักษาสิทธิประกันสังคมไว้ จึงสมัครเข้าใช้
สิทธิประกันสังคมในมาตรา 39 แทน
3/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.40) คือ ผู้ประกันตนในมาตรา 40 นี้ คือ บุคคลที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างในบริษัทเอกชนตามมาตรา 33 และไม่เคยสมัครเป็นผู้ประกันตนใน
มาตรา 39 ผู้ที่จะสมัครประกันสังคมในมาตรา 40 ได้นั้น ต้องเป็นผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระหรือแรงงานนอกระบบ มีอายุไม่ต่ากว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 60 ปี
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 17
Economic Outlook NESDC
การแจ้งป ดกิจการโรงงานอุตสาหกรรม: นัยทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนผ่านของภาคอุตสาหกรรมไทย
ข้อมูลการแจ้งประกอบกิจการและปิดโรงงานอุตสาหกรรม ถือเป็นเครื่องชี้หนึ่งที่สาคัญในการสะท้อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาคการผลิต
จากสถิติข้อมูลในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2567 สะท้อนให้เห็นว่า จานวนโรงงานที่แจ้งเลิกกิจการอยู่ที่ 757 โรงงาน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ซึ่งมีจานวน 575 โรงงาน คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.7 อย่างไรก็ดี หากพิจารณาจากมูลค่าเงินลงทุนของโรงงานที่แจ้งเลิกกิจการ พบว่า มูลค่า
เงินทุนรวมอยู่ที่ 20,716 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 55.7 ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าโรงงานที่แจ้งเลิกกิจการเป็นโรงงานขนาดเล็ก
ที่มีเงินลงทุนรวมกันไม่สูงมาก แต่มีการจ้างงานรวมจานวนทั้งสิ้น 22,708 คน (เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 66.6) ในขณะที่ข้อมูล
โรงงานที่แจ้งเปิดกิจการใหม่ ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2567 ยังปรับตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้าทั้งจานวนและมูลค่าเงินลงทุน
โดยจานวนโรงงานที่แจ้งเปิดกิจการอยู่ที่ 1,195 โรงงาน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนซึ่งมีจานวน 949 โรงงาน คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.9
มูลค่าเงินลงทุนโรงงานที่แจ้งเปิดกิจการรวม 188,508 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 73,763 ล้านบาท คิดเป็นการเพิ่มขึ้น
ในเกณฑ์สูงถึงร้อยละ 155.6 สอดคล้องกับการจ้างงานที่เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 79.9
หากพิจารณาการแจ้งเปิดปิดโรงงานจาแนกรายหมวดอุตสาหกรรมทั้ง 21 อุตสาหกรรม ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2567 พบว่า หมวด
อุตสาหกรรมที่มีการแจ้งเป ดกิจการใหม่แต่มีมูลค่าเงินลงทุนลดลงมากที่สุด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากพืช (ลดลง 4,569 ล้านบาท) ยางและ
ผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลง 1,599 ล้านบาท) ยานพาหนะและอุปกรณ์ (ลดลง 1,413 ล้านบาท) การพิมพ์ฯ (ลดลง 844 ล้านบาท) และเครื่องแต่งกายฯ
(ลดลง 49 ล้านบาท) ส่วนหมวดอุตสาหกรรมที่แจ้งป ดกิจการแต่มีมูลค่าเงินลงทุนเลิกกิจการเพิ่มขึ้นมากที่สุด ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้าและ
อุปกรณ์ (เพิ่มขึ้น 2,124 ล้านบาท) สิ่งทอ (เพิ่มขึ้น 933 ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์โลหะ (เพิ่มขึ้น 870 ล้านบาท) ยางและผลิตภัณฑ์ยาง (เพิ่มขึ้น
660 ล้านบาท) และเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี (เพิ่มขึ้น 514 ล้านบาท) เป็นต้น
0
500
1,000
1,500
ประกอบกิจการ เลิกกิจการ
จานวนโรงงานที่แจ้งประกอบ
และป ดกิจการโรงงาน
เปรียบเทียบ 7 เดือนแรกของปี
ม.ค. ก.ค. 65 ม.ค. ก.ค. 66 ม.ค. ก.ค. 67
โรงงาน
0
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
ประกอบกิจการ เลิกกิจการ
จานวนแรงงานที่แจ้งประกอบ
และป ดกิจการโรงงาน
เปรียบเทียบ 7 เดือนแรกของปี
ม.ค. ก.ค. 65 ม.ค. ก.ค. 66 ม.ค. ก.ค. 67
แรงงาน (คน)
0
50,000
100,000
150,000
200,000
ประกอบกิจการ เลิกกิจการ
จานวนเงินทุนที่แจ้งประกอบ
และป ดกิจการโรงงาน
เปรียบเทียบ 7 เดือนแรกของปี
ม.ค. ก.ค. 65 ม.ค. ก.ค. 66 ม.ค. ก.ค. 67
เงินทุน (ล้านบาท)
ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม คานวณโดย สศช.
สถิติโรงงานแจ้งประกอบและป ดกิจการ ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2565 2567
5 อันดับอุตสาหกรรมแรกที่แจ้งเป ดกิจการใหม่ซึ่งมูลค่าเงินลงทุนลดลงมากที่สุด 5 อันดับอุตสาหกรรมแรกที่แจ้งป ดกิจการซึ่งมูลค่าเงินลงทุนเพิ่มขึ้นมากที่สุด
อุตสาหกรรม
เงินลงทุน ลงทุน จานวนโรงงาน ลดลง
อุตสาหกรรม
เงนิ ลงทุน เลิก จานวนโรงงาน เพมิ่ ขนึ้
(ล้านบาท) ลดลง (โรง) (โรงงาน) (ล้านบาท) เพมิ่ ขนึ้ (โรง) (โรงงาน)
7M/2566 7M/2567 (ล้านบาท) 7M/2566 7M/2567 7M/2566 7M/2567 (ล้านบาท) 7M/2566 7M/2567
1 ผลติ ภณั ฑ์จากพชื 6,507 1,938 4,569 52 42 10 1 เครอื่ งใชไ ฟฟา และอุปกรณ  347 2,417 2,124 8 20 12
2 ยางและผลิตภัณฑ์ยาง 3,205 1,606 1,599 14 11 3 2 สิ่งทอ 204 1,137 933 7 15 8
3 ยานพาหนะและอุปกรณ์ 4,944 3,530 1,413 42 42 0 3 ผลิตภัณฑ์โลหะ 949 1,819 870 42 62 20
4 การพิมพ์ฯ 1,163 319 844 13 12 1 4 ยางและผลิตภัณฑ์ยาง 264 925 660 18 22 4
5 เครอื่ งแตง่ กาย 196 147 49 10 6 4 5 เคมภี ณั ฑ์และผลติ ภณั ฑ์ 155 669 514 10 21 11
ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม คานวณโดย สศช.
18
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
การแจ้งป ดกิจการโรงงานอุตสาหกรรม: นัยทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนผ่านของภาคอุตสาหกรรมไทย (ต่อ)
ในภาพรวมมีจานวนโรงงานที่แจ้งประกอบกิจการสุทธิ (เปิด-ปิด) ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2567 รวมอยู่ที่ 438 โรงงาน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 17.1 ขณะที่เงินลงทุนรวมสุทธิเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 167,791 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 27,002 ล้านบาท ร้อยละ 521.4 และการจ้างงานเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 20,998 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 96.9 ทั้งนี้ สามารถจาแนกอุตสาหกรรมออกได้เป็น 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ (1) หมวดอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวัง ซึ่งเป็นหมวดอุตสาหกรรมที่มีการปรับตัวลดลงของทั้งจานวนและมูลค่าเงินทุนโรงงานที่แจ้งเปิดกิจการสุทธิ จานวน 7 อุตสาหกรรม ได้แก่ 1) ผลิตภัณฑ์จากพืช 2) สิ่งทอ 3) เครื่องแต่งกายฯ 4) การพิมพ์ฯ 5) ยางและผลิตภัณฑ์ยาง 6) ผลิตภัณฑ์โลหะ และ 7) การผลิตยานพาหนะและอุปกรณ์ ซึ่งกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะแข่งขันได้ยากขึ้นกับสินค้าจากต่างประเทศและสินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านเทคโนโลยีเกิดขึ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตยานพาหนะและอุปกรณ์ที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนผ่านมาสู่ยานยนต์พลังงานทางเลือกมากขึ้น (2) หมวดอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนผ่านและปรับตัว ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่จานวนโรงงานแจ้งเปิดกิจการสุทธิปรับตัวลดลงแต่เงินลงทุนสุทธิเพิ่มขึ้น สะท้อนว่าเป็นกิจการโรงงานขนาดเล็กที่มีเงินลงทุนรวมกันไม่สูงมากที่ปิดกิจการไป มี 5 อุตสาหกรรม ได้แก่ 1) เครื่องดื่ม 2) ผลิตภัณฑ์โลหะ 3) เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ 4) ผลิตภัณฑ์พลาสติก และ 5) หนังสัตว์และผลิตภัณฑ์ และ (3) กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ ซึ่งเป็นหมวดอุตสาหกรรม ที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นของทั้งจานวนและมูลค่าเงินทุนโรงงานที่แจ้งเปิดกิจการสุทธิ จานวน 8 อุตสาหกรรม ได้แก่ 1) อาหาร 2) เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ 3) ผลิตภัณฑ์อโลหะ 4) เครื่องจักรเครื่องกล 5) กระดาษและผลิตภัณฑ์ 6) ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม 7) แปรรูปไม้และผลิตภัณฑ์ และ 8) โลหะขั้นมูลฐาน
ภายใต้การดาเนินธุรกิจในสภาวะปัจจุบันที่ยังคงมีความเสี่ยงและความไม่แน่นอนสูง ทั้งจากการเปลี่ยนผ่านทางด้านเทคโนโลยี ความเข้มงวดที่เพิ่มมากขึ้นด้านกฎระเบียบและมาตรฐานการค้าการผลิตระหว่างประเทศโดยเฉพาะประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สภาวะหนี้ภาคธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูงที่ส่งผลให้ข้อจากัดในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการยากมากขึ้น รวมถึงการเข้ามาแข่งขันของสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศซึ่งกระทบต่อ ภาคการผลิตภายในประเทศ แม้การเปิดโรงงานใหม่ยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่การปิดโรงงานก็เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญเช่นกัน โดยเฉพาะการปิดตัวเพิ่มขึ้นของโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็กที่มีภูมิคุ้มกันที่ไม่สูงนักในการเผชิญหน้ากับปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ในการดาเนินธุรกิจ ด้วยเงื่อนไขดังกล่าว ภาครัฐมีความจาเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีมาตรการช่วยเหลือสนับสนุนผู้ประกอบการไทยกลุ่มดังกล่าว โดยมุ่งเน้นและให้ความสาคัญในส่วนของ 1) การยกระดับการผลิตและการดาเนินธุรกิจ เช่น การให้ความช่วยเหลือการเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อเพิ่มสภาพคล่อง การสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ในเรื่องของการจัดการ การดาเนินธุรกิจและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึงการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจทั้งในระดับแนวราบหรือเครือข่ายธุรกิจที่มีขนาดใกล้เคียงกัน และการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจทั้งในระดับแนวลึกหรือเครือข่ายธุรกิจที่มีความสัมพันธ์กับธุรกิจหรือผู้ประกอบการขนาดใหญ่ เพื่อให้ธุรกิจขนาดเล็กสามารถนาพาตนเองให้เข้าไปสู่ระบบห่วงโซ่การผลิตขนาดใหญ่ของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้ เป็นต้น 2) การส่งเสริมให้ธุรกิจเข้าถึงช่องทางการตลาดสมัยใหม่ โดยเฉพาะช่องทางการตลาดที่ใช้เทคโนโลยีออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่เน้นการกระตุ้นอุปสงค์ผ่านเทคนิคการใช้ Influencer ในการทาตลาดและเทคนิคการเล่าเรื่องเพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับสินค้า และ 3) การติดตามดูแลปัจจัยเสี่ยงที่อาจเข้ามากระทบกับ การดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ SMEs ทั้งในส่วนของการเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจสอบคุณภาพสินค้านาเข้าจากต่างประเทศที่ไม่ได้มาตรฐาน ที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมภายในประเทศควบคู่กับการดูแลและบริหารจัดการกลไกราคาสินค้าที่เป็นธรรมกับทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค ตลอดจนพัฒนา/ปรับปรุงกลไกหรือกฎระเบียบที่เหมาะสมกับการดาเนินธุรกิจภายใต้สภาวะการเปลี่ยนผ่านที่สาคัญทั้งในส่วนของเทคโนโลยีและประเด็น ด้านสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการยกระดับศักยภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs ผ่านการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างเอกลักษณ์ของสินค้า ให้ตรงตามความต้องการของตลาดและพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs สามารถอยู่รอดและสามารถพัฒนาต่อยอดธุรกิจได้ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านสาคัญครั้งนี้ได้อย่างมั่นคง
0200400600800ประกอบกิจการสุทธิจานวนโรงงานที่แจ้งประกอบสุทธิ (เป ด ป ด)เปรียบเทียบ 7 เดือนแรกของปีม.ค. ก.ค. 65ม.ค. ก.ค. 66ม.ค. ก.ค. 67โรงงาน05,00010,00015,00020,00025,000ประกอบกิจการสุทธิจานวนแรงงานที่แจ้งประกอบสุทธิ (เป ด ป ด)เปรียบเทียบ 7 เดือนแรกของปีม.ค. ก.ค. 65ม.ค. ก.ค. 66ม.ค. ก.ค. 67แรงงาน (คน)050,000100,000150,000200,000ประกอบกิจการสุทธิจานวนเงินทุนที่แจ้งประกอบสุทธิ (เป ด ป ด)เปรียบเทียบ 7 เดือนแรกของปีม.ค. ก.ค. 65ม.ค. ก.ค. 66ม.ค. ก.ค. 67เงินทุน (ล้านบาท)ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม คานวณโดย สศช.สถิติโรงงานแจ้งประกอบกิจการสุทธิ (เป ด ป ด) ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2565 2567
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 19
Economic Outlook NESDC
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล ในไตรมาสที่สามของปีงบประมาณ 2567 (เมษายน - มิถุนายน 2567) รัฐบาลจัดเก็บ
รายได้สุทธิ 838,283.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.4 โดยเป็นผลมาจาก (1) การนาส่ง
รายได้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 71.6 เนื่องจากการนาส่งรายได้ของบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และกองทุน
วายุภักษ์ (2) การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามันเพิ่มขึ้นร้อยละ 107.0 โดยเป็นผล
มาจากการดาเนินมาตรการลดอัตราภาษีสรรพสามิตสาหรับน้ามันดีเซลลิตรละ 5 บาท ในช่วงเดียวกันของปีก่อน
(3) การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4 ตามการขยายตัวของการบริโภคภายในประเทศ
และ (4) การจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 และร้อยละ 5.1
ตามการขยายตัวต่อเนื่องของเศรษฐกิจไทย อย่างไรก็ตาม การนาส่งรายได้ของส่วนราชการอื่นลดลงร้อยละ 34.6
เนื่องจากการนาส่งทุนหรือผลกาไรส่วนเกินของทุนหมุนเวียนเป็นรายได้แผ่นดินและเงินเหลือจ่ายส่งคืนของ
บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อมในช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่การจัดเก็บภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
ลดลงร้อยละ 44.0 เนื่องจากการเปลี่ยนระบบสัมปทานในกิจการปิโตรเลียมเป็นระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิต
(ระบบ Production Sharing Contract หรือ PSC)
รวม 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 2,007,462.8 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ
ตามเอกสารงบประมาณร้อยละ 1.4 โดยเป็นผลจากการดาเนินการมาตรการปรับลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล
และน้ามันเบนซิน4 เพื่อลดภาระค่าครองชีพและต้นทุนการผลิตให้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการ และมาตรการ
สนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคไปสู่การใช้ยานยนต์ไฟฟ้า
ที่เร็วกว่าที่คาดการณ์ไว้ และอัตราการปฏิเสธสินเชื่อรถยนต์ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2566
อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 2.6 ทั้งนี้ หากไม่นับรวมรายได้พิเศษ
ของส่วนราชการอื่น (ทุนหรือผลกาไรส่วนเกินของทุนหมุนเวียน การนาส่งรายได้จากการสัมปทานโทรศัพท์เคลื่อนที่
คลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ของบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน) และรายได้จากการประมูล
ใบอนุญาตคลื่นความถี่วิทยุระบบ FM) การจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.8
การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสที่สามของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลมีการใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 1,074,196.5 ล้านบาท5
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 27.7 ประกอบด้วย การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2567 จานวน 937,849.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ
26.3 จาแนกเป็น (1) รายจ่ายประจา จานวน 764,811.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ร้อยละ 22.3 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 27.7 เทียบกับร้อยละ 24.3 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
และ (2) รายจ่ายลงทุน จานวน 173,037.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 48.1
โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 24.0 เทียบกับร้อยละ 19.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจาก
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณภายหลังพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2567
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล
สุทธิในไตรมาสที่สามของ
ปีงบประมาณ 2567
เพิ่มขึ้นจากไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน
ร้อยละ 5.4
4 มาตรการปรับลดอัตราภาษีน้ามันดีเซลสิ้นสุดเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2567 และมาตรการปรับลดอัตราภาษีน้ามันเบนซินสิ้นสุดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2567
5 การใช้จ่ายของรัฐบาลจาก (1) งบประมาณรายจ่ายประจาปี (2) งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี และ (3) งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)
และบริษทั ในเครือทลี่ งทนุ ในประเทศ) ไมน่ บั รวมรายจ่ายลงทนุ รัฐวสิ หกิจทไ ดรั้บการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปแ ละงบประมาณกันไวเบกิ เหลอื่ มปี
การจัดเก็บรายได้รัฐบาล
ในช่วง 9 เดือนแรกของ
ปีงบประมาณ 2567
ต่ากว่าประมาณการ
ร้อยละ 1.4
การใช้จ่ายของรัฐบาล
ในไตรมาสที่สาม
ปีงบประมาณ 2567
เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.7
เนื่องจากการเร่งรัด
การเบิกจ่ายภายหลัง
พระราชบัญญัติ
งบประมาณฯ
มีผลบังคับใช้
ด้านการคลัง
-40
-20
0
20
40
60
80
100
-400,000
-200,000
0
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3
ล้านบาท ร้อยละ
ที่มา: ระบบ GFMIS ณ วันที่ กรกฎาคม
การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี
รายจ่ายลงทุน แกนซ้าย
รายจ่ายประจา แกนซ้าย
อัตราการขยายตัวของการเบิกจ่ายรวม แกนขวา
0
10
20
30
40
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3
ร้อยละ
ที่มา: ระบบ GFMIS ณ วันที่ กรกฎาคม
อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี
อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 20
Economic Outlook NESDC
การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 22,174.7 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ร้อยละ 20.6 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 13.8 สาหรับการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (รวมบริษัท ปตท.
จากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือที่ลงทุนในประเทศ) จานวน 122,659.3 ล้านบาท6 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน
ของปีก่อนหน้าร้อยละ 53.9 โดยเป็นผลมาจากการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้นของบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัท
ในเครือที่ลงทุนในประเทศ และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นสาคัญ ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจที่มี
มูลค่าการเบิกจ่ายสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การรถไฟแห่งประเทศไทย และการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
รวม 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 มีการใช้จ่ายของรัฐบาลรวมทั้งสิ้น 2,797,183.4 ล้านบาท ลดลง
จากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 1.4 ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2567 จานวน 2,418,708.9 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 69.5 ต่ากว่าร้อยละ 76.4
ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) แบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา 2,153,379.7 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ
78.1 ต่ากว่าร้อยละ 81.1 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) และการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน 265,329.1 ล้านบาท
(อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 36.7 ต่ากว่าร้อยละ 56.8 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) (2) การเบิกจ่ายงบประมาณ
กันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 112,227.0 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 70.1) และ (3) การเบิกจ่าย
งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือที่ลงทุนในประเทศ
จานวน 292,133.7 ล้านบาท7 ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจที่มีการเบิกจ่ายงบลงทุนสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ บริษัท ปตท.
จากัด (มหาชน) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การรถไฟแห่งประเทศไทย และ
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2567 มีมูลค่าทั้งสิ้น 11,541,664.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 63.5
ของ GDP ลดลงจากร้อยละ 63.7 ณ สิ้นไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2567 โดยหนี้สาธารณะ ประกอบด้วย
เงินกู้ภายในประเทศ 11,403,872.8 ล้านบาท (ร้อยละ 98.8 ของหนี้สาธารณะ) และเงินกู้จากต่างประเทศ
137,791.6 ล้านบาท (ร้อยละ 1.2 ของหนี้สาธารณะ) แบ่งเป็นหนี้ของรัฐบาล 10,161,261.0 ล้านบาท
หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,078,550.7 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาล
ค้าประกัน) 189,269.1 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 112,583.7 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 88.0
ร้อยละ 9.3 ร้อยละ 1.6 และร้อยละ 1.0 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลาดับ
ฐานะการคลัง ในไตรมาสที่สามของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 122,806.2 ล้านบาท
เมื่อรวมกับการเกินดุลเงินนอกงบประมาณ 30,223.2 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 167,820
ล้านบาท ทาให้รัฐบาลเกินดุลเงินสดสุทธิ 75,237 ล้านบาท และเมื่อรวมกับเงินคงคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่สองของ
ปีงบประมาณ 2567 จานวน 374,743 ล้านบาท ส่งผลให้ฐานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2567
รวมทั้งสิ้น 449,980 ล้านบาท
รวม 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 526,265.2 ล้านบาท เมื่อรวมกับ
การเกินดุลเงินนอกงบประมาณ 9,019.2 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 428,170 ล้านบาท
ส่งผลให้รัฐบาลยังคงขาดดุลเงินสดหลังกู้สุทธิ 89,076 ล้านบาท
เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน
มิถุนายน 2567 อยู่ที่
449,980 ล้านบาท
หนี้สาธารณะคงค้าง
ณ สิ้นเดือนมิถุนายน
2567 อยู่ที่ร้อยละ 63.5
ของ GDP เทียบกับ
ร้อยละ 63.7
ณ สิ้นไตรมาสที่สอง
รวม 9 เดือนแรกของ
ปีงบประมาณ 2567
การใช้จ่ายของรัฐบาล
ลดลงร้อยละ 1.4
6 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 8,486.6 ล้านบาท
7 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 26,075.4 ล้านบาท
0
10
20
30
40
50
60
70
0
2,000
4,000
6,000
8,000
10,000
12,000
14,000
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3
พันล้านบาท ร้อยละ
ที่มา: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะคงค้าง
หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ หนี้สาธารณะคงค้าง ต่อ GDP (แกนขวา
0
50,000
100,000
150,000
200,000
250,000
300,000
350,000
400,000
0
100,000
200,000
300,000
400,000
500,000
600,000
700,000
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3
ที่มา: กระทรวงการคลัง
สถานะเงินคงคลัง
สถานะเงินคงคลัง ณ สิ้นงวด แกนซ้าย
กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล แกนขวา
ล้านบาท ล้านบาท
21
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยทรงตัวที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี
ในไตรมาสที่สองของปี 2567 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในการประชุมครั้งที่ 2/2567 วันที่ 10 เมษายน 2567 และการประชุมครั้งที่ 3/2567 วันที่ 12 มิถุนายน 2567 มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี เนื่องจากเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายในปัจจุบันสอดคล้องกับการขยายตัวของเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มเข้าสู่ศักยภาพและเอื้อต่อการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและการเงิน ขณะที่อัตราเงินเฟ้อ มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นและคาดว่าจะกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในไตรมาสที่ 4 ของปี 2567 การดาเนินนโยบายการเงินของไทยสอดคล้องกับธนาคารกลางของประเทศในภูมิภาค8 ขณะที่ธนาคารกลางอินโดนีเซียปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 เพื่อลดแรงกดดันจากการอ่อนค่าของเงินรูเปียห์ ส่วนธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลักส่วนใหญ่คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับเดิม แต่มีแนวโน้มว่าจะดาเนินนโยบายการเงินที่แตกต่างกัน โดยธนาคารกลางญี่ปุ่นส่งสัญญาณว่าจะดาเนินนโยบายที่เข้มงวดขึ้นในระยะเวลาอันใกล้เพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อ ขณะที่ธนาคารกลางยุโรปและธนาคารกลางแคนาดาเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 หลังอัตราเงินเฟ้อเริ่มเคลื่อนไหวเข้าสู่กรอบเป้าหมาย
ในเดือนกรกฎาคม 2567 ธนาคารกลางญี่ปุ่นปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายสู่ระดับร้อยละ 0.25 และลดปริมาณ การซื้อพันธบัตรรัฐบาลรายเดือน พร้อมกับคาดการณ์ว่าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน ณ สิ้นปีงบประมาณ 2567 จะอยู่ในระดับสูงกว่ากรอบเป้าหมาย ด้านธนาคารกลางจีนปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดีลงร้อยละ 0.10 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ รวมทั้งปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะกลาง (MLF) และปรับลดอัตราดอกเบี้ย Reverse Repo เพื่อเพิ่มสภาพคล่องระยะสั้นให้กับธนาคารพาณิชย์
ธนาคารแห่งประเทศไทยคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับเดิม สอดคล้องกับประเทศส่วนใหญ่ ทั้งในภูมิภาค และประเทศเศรษฐกิจหลัก
ภาวะการเงิน
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
(ร้อยละ)
2565
2566
2567
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
เม.ย.
พ.ค.
Q1
มิ.ย.
ก.ค.
Q2
สหรัฐฯ
4.25-4.50
0.25-0.50
1.50-1.75
3.00-3.25
4.25-4.50
5.25-5.50
4.75-5.00
5.00-5.25
5.25-5.50
5.25-5.50
5.25-5.50
5.25-5.50
5.25-5.50
5.25-5.50
5.25-5.50
5.25-5.50
สหภาพยุโรป
2.50
0.00
0.00
1.25
2.50
4.50
3.50
4.00
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.25
4.25
4.25
อังกฤษ
3.50
0.75
1.25
2.25
3.50
5.25
4.25
5.00
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
แคนาดา
4.25
0.50
1.50
3.25
4.25
5.00
4.50
4.75
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
4.75
4.50
4.75
ไทย
1.25
0.50
0.50
1.00
1.25
2.50
1.75
2.00
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
รัสเซีย
7.50
20.00
9.50
7.50
7.50
16.00
7.50
7.50
13.00
16.00
16.00
16.00
16.00
16.00
18.00
18.00
อินโดนีเซีย
5.50
3.50
3.50
4.25
5.50
6.00
5.75
5.75
5.75
6.00
6.25
6.25
6.00
6.25
6.25
6.25
จีน
3.65
3.70
3.70
3.65
3.65
3.45
3.65
3.55
3.45
3.45
3.45
3.45
3.45
3.45
3.35
3.45
บราซิล
13.75
11.75
13.25
13.75
13.75
11.75
13.75
13.75
12.75
11.75
10.75
10.50
10.75
10.50
10.50
10.50
ญี่ปุ่น
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
-0.10
0.10
0.10
0.10
0.10
0.25
0.10
ฟิลิปปินส์
5.50
2.00
2.50
4.25
5.50
6.50
6.25
6.25
6.25
6.50
6.5
6.5
6.5
6.5
6.5
6.5
เกาหลีใต้
3.25
1.25
1.75
2.50
3.25
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
อินเดีย
6.25
4.00
4.90
5.90
6.25
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
ออสเตรเลีย
3.10
0.10
0.85
2.35
3.10
4.35
3.60
4.10
4.10
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
นิวซีแลนด์
4.25
1.00
2.00
3.00
4.25
5.50
4.75
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
เวียดนาม
4.50
2.50
2.50
3.50
4.50
3.00
3.50
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
มาเลเซีย
2.75
1.75
2.00
2.50
2.75
3.00
2.75
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
ที่มา: รวบรวมโดย สศช. ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2567
8 อาทิ เกาหลีใต้และอินเดียคงอัตราดอกเบี้ยเพื่อควบคุมเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ส่วนเวียดนาม มาเลเซีย และฟิลิปปินส์คงอัตราดอกเบี้ยเพื่อรักษาเสถียรภาพของ อัตราแลกเปลี่ยน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 22
Economic Outlook NESDC
ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่และขนาดกลางคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ ส่วนสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
(SFIs) คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แต่มีการปรับลดดอกเบี้ยเงินฝาก ในไตรมาสที่สองของปี 2567 ธนาคารพาณิชย์
ขนาดใหญ่และขนาดกลางคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือน ไว้ที่ร้อยละ 1.65 และร้อยละ 1.58 ตามลาดับ
และคงอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ไว้ที่ร้อยละ 7.25 และร้อยละ 8.30 ตามลาดับ
ส่วนสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) คงอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ไว้ที่ร้อยละ
6.59 แต่มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนจากร้อยละ 1.77 เป็นร้อยละ 1.73 อย่างไรก็ดี
ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจบางแห่งปรับลดอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมแก่ลูกค้ารายย่อยชั้นดี (MRR)
เพื่อเป็นการช่วยเหลือลูกหนี้ที่มีความเปราะบาง ทั้งนี้ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ที่แท้จริงเฉลี่ยทุกธนาคาร
ปรับลดลง จากร้อยละ 2.45 และร้อยละ 8.04 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นร้อยละ 0.88 และ 6.48 ตามลาดับ
ตามอัตราเงินเฟ้อที่กลับมาขยายตัว
ในเดือนกรกฎาคม 2567 ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 12 เดือน
และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ไว้ที่ระดับเดิม
ณ สิ้นไตรมาสที่สองของปี 2567 สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวร้อยละ 1.00
ชะลอลงเล็กน้อยจากการขยายตัวร้อยละ 1.46 ในไตรมาสที่แล้ว ตามการชะลอตัวของสินเชื่อครัวเรือน
สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนในระบบธนาคารพาณิชย์ลดลงร้อยละ 0.48 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.09
ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อภาคครัวเรือนในระบบธนาคารพาณิชย์ลดลงร้อยละ 1.08 เทียบกับการเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 0.15 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของสินเชื่อเพื่อการซื้อหรือเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์
เป็นสาคัญ ในขณะที่สินเชื่อเพื่อการจัดหาที่อยู่อาศัยขยายตัวเล็กน้อย ส่วนสินเชื่อเพื่อการบริโภคส่วนบุคคลอื่น ๆ
ชะลอตัว ซึ่งเป็นผลจากภาระหนี้สินภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ประกอบกับคุณภาพสินเชื่อที่ปรับลดลง
ส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์เพิ่มความเข้มงวดในการให้สินเชื่อทุกประเภท สาหรับสินเชื่อภาคธุรกิจขยายตัวร้อยละ
0.08 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.32 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นการขยายตัวครั้งแรกนับตั้งแต่ไตรมาสแรก
ของปี 2566 และเมื่อพิจารณาตามขนาดธุรกิจ พบว่า สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่กลับมาขยายตัวร้อยละ 0.60
เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.97 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของสินเชื่อในสาขาที่พักแรมและบริการ
ด้านอาหาร สาขาข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และ
จักรยานยนต์ ขณะที่สินเชื่อธุรกิจ SMEs ลดลงร้อยละ 4.21 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 4.77 ในไตรมาส
ที่แล้ว ตามการลดลงของสินเชื่อสาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์
สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร และสาขาการผลิต เป็นสาคัญ ทั้งนี้ ในไตรมาสที่สองของปี 2567
มาตรฐานการให้สินเชื่อแก่ธุรกิจขนาดใหญ่ผ่อนคลายลงเล็กน้อย ในขณะที่มาตรฐานการให้สินเชื่อแก่ธุรกิจ
SMEs ทรงตัว อย่างไรก็ดี สถาบันการเงินบางแห่งยังคงเข้มงวดในเงื่อนไขประกอบสัญญาเงินกู้และ
เพิ่มหลักทรัพย์ค้าประกันในกลุ่มธุรกิจ SMEs
สินเชื่อภาคเอกชนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในไตรมาสที่สองของปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 3.57 ชะลอตัว
จากการขยายตัวร้อยละ 4.47 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของทั้งสินเชื่อภาคธุรกิจและสินเชื่อครัวเรือน
โดยเฉพาะสินเชื่อภาคครัวเรือนที่มีการชะลอตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากภาระหนี้ของ
ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูงและคุณภาพสินเชื่อที่ลดลงต่อเนื่อง
ผลการดาเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทยเฉลี่ย ในไตรมาสที่สองของปี 2567 ธนาคารพาณิชย์มีรายได้เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10.44 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.75 ในไตรมาสก่อนหน้า และมีรายจ่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.73
เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.38 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่รายได้ดอกเบี้ยสุทธิต่อสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้
ดอกเบี้ยเฉลี่ย (NIM) อยู่ที่ร้อยละ 3.28 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.23 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 3.10
ในช่วงเดียวกันของปีก่อน
สินเชื่อคงค้างภาคเอกชน
ของสถาบันรับฝากเงิน
ชะลอตัว ตามการชะลอ
ตัวของสินเชื่อครัวเรือน
ธนาคารพาณิชย์คงอัตรา
ดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้
ขณะที่ SFIs คงอัตรา
ดอกเบี้ยเงินกู้ แต่ปรับลด
ดอกเบี้ยเงินฝาก
-4
-2
0
2
4
6
8
-2
-1
0
1
2
3
4
5
6
7
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
%YOY %YOY
สินเชื่อภาคเอกชน รวมดอกเบี้ยค้างรับ ของธนาคารพาณิชย์
ลดลง
สินเชื่อภาคเอกชน รวมดอกเบี้ยค้างรับ
สินเชื่อธุรกิจ แกนขวา
สินเชื่อครัวเรือน แกนขวา
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
0
2
4
6
8
10
12
14
16
0
1
2
3
4
5
6
7
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
%YOY %YOY
สินเชื่อภาคเอกชน รวมดอกเบี้ยค้างรับ ของสถาบันการเงิน
เฉพาะกิจ ชะลอตัวจากไตรมาสก่อนหน้า
สินเชื่อภาคเอกชน รวมดอกเบี้ยค้างรับ สินเชื่อธุรกิจ แกนขวา
สินเชื่อครัวเรือน แกนขวา
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
23
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
เมื่อพิจารณาจากข้อมูลสินเชื่อของบริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด พบว่า สินเชื่อนิติบุคคล ไตรมาสแรกของปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 2.1 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า เมื่อจาแนกสินเชื่อตามสาขาธุรกิจ (TSIC) พบว่า สาขาการผลิต กลับมาขยายตัวครั้งแรกนับตั้งแต่ไตรมาสที่ 4 ของปี 2565 ที่ร้อยละ 1.6 ส่วนสาขากิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ มีการขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องจากไตรมาสที่แล้วที่ร้อยละ 16.9 ทั้งนี้ เมื่อจาแนกสินเชื่อนิติบุคคลตามวงเงินสินเชื่อ พบว่า กลุ่มผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่มีวงเงินสินเชื่อสูงมีแนวโน้มการฟื้นตัวของสินเชื่อดีกว่ากลุ่มผู้ประกอบการขนาดเล็กที่มีวงเงินสินเชื่อต่า ขณะที่คุณภาพของสินเชื่อของกลุ่มผู้ประกอบการขนาดเล็กมีแนวโน้มปรับลดลงจากปี 2566 ข้อมูลดังกล่าวจึงชี้ให้เห็นว่าผู้ประกอบการขนาดเล็กยังคงประสบปัญหาด้านการเข้าถึงและคุณภาพสินเชื่อ ดังนั้น ผู้ประกอบการธุรกิจที่มีขนาดเล็ก ยังคงเป็นกลุ่มที่จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านสภาพคล่องและการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อสร้างรายได้ให้สามารถเข้าถึงสินเชื่อได้
ส่วนสินเชื่อบุคคลธรรมดา พบว่า กลุ่มที่มีวงเงินสินเชื่อไม่สูงมากนัก เป็นกลุ่มที่ยังไม่ฟื้นตัวและมีคุณภาพของสินเชื่อด้อยลงมากกว่าสินเชื่อประเภทเดียวกันที่มีวงเงินสูงกว่า โดยเฉพาะในสินเชื่อที่อยู่อาศัย วงเงินต่ากว่า 3 ล้านบาท ที่มีสัดส่วนสินเชื่อผิดนัดชาระเกิน 90 วัน (NPL) ประมาณร้อยละ 2.2 สูงกว่าสินเชื่อที่อยู่อาศัยวงเงิน 3 -5 ล้านบาท และสินเชื่อที่อยู่อาศัยวงเงิน 20 ล้านบาทขึ้นไป ที่มีสัดส่วน NPL ประมาณร้อยละ 1.3 และร้อยละ 0.8 ตามลาดับ เช่นเดียวกันกับ สินเชื่อบุคคล ที่กลุ่มวงเงินระหว่าง 1,000 - 10,000 บาท มีสัดส่วน NPL สูงถึงร้อยละ 44.13 มากกว่ากลุ่มที่มีวงเงินสินเชื่อ 50,000 - 100,000 บาท ที่มีสัดส่วน NPL ประมาณร้อยละ 5.79 ขณะที่สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ แม้ว่า
สถานการณ์และคุณภาพสินเชื่อของนิติบุคคลและบุคคลธรรมดา ข้อมูลของบริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด
อัตราการเปลี่ยนแปลงของยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อและสัดส่วน NPL ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง ของสินเชื่อนิติบุคคล จาแนกตาม TSIC
จาแนกตาม TSIC
Share Q1/67
ยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อ (%YoY)
สัดส่วนสินเชื่อนิติบุคคลที่ผิดนัดชาระเกิน 90 วันต่อยอดสินเชื่อคงค้าง (ร้อยละ)
Q1/66
Q2/66
Q3/66
Q4/66
Q1/67
Q1/66
Q2/66
Q3/66
Q4/66
Q1/67
ไม่ระบุประเภทธุรกิจ
24.5
7.4
2.2
0.6
-4.4
0.8
0.78
0.83
0.65
0.53
0.62
การผลิต
18.9
-5.1
-4.7
-2.6
-2.5
1.6
2.52
2.68
3.05
2.63
2.96
การขายส่งและการขายปลีกฯ
17.4
0.3
-0.8
-2.5
0.6
-0.3
2.23
2.44
2.38
2.48
2.70
กิจกรรมทางการเงิน/ประกันภัย
10.4
18.9
13.7
16.8
0.6
-0.1
0.04
0.07
0.07
0.15
0.26
กิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
7.7
-4.8
-0.2
3.4
16.3
16.9
1.27
1.19
0.76
0.67
0.96
ไฟฟ้า กาซ ไอน้าฯ
4.4
3.4
-6.0
-6.1
-6.3
-5.7
0.08
0.07
0.09
0.08
0.10
การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า
3.6
3.1
10.4
8.9
5.9
4.9
2.09
2.32
2.38
1.75
1.97
การก่อสร้าง
3.5
5.7
-1.6
0.3
8.4
4.4
5.65
6.04
5.76
6.24
6.98
ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร
3.4
-2.3
-2.7
-4.3
-2.9
-2.6
2.11
3.47
1.96
1.24
1.42
อื่น ๆ
6.3
-6.0
-4.0
0.8
5.0
9.7
1.59
1.99
2.24
2.37
2.38
รวม
100.0
2.2
0.6
1.1
0.1
2.1
1.59
1.76
1.69
1.60
1.80
ที่มา: บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด ประมวลผลโดย สศช.
อัตราการเปลี่ยนแปลงของยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อและสัดส่วน NPL ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง ของสินเชื่อนิติบุคคล จาแนกตามวงเงินสินเชื่อ
จาแนกตามวงเงินสินเชื่อ
Share Q1/67
ยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อ (%YoY)
สัดส่วนสินเชื่อบุคคลธรรมดาที่ผิดนัดชาระ เกิน 90 วันต่อยอดสินเชื่อคงค้าง (ร้อยละ)
Q1/66
Q2/66
Q3/66
Q4/66
Q1/67
Q1/66
Q2/66
Q3/66
Q4/66
Q1/67
1. ยอดวงเงินสินเชื่อไม่เกิน 5 ล้านบาท
8.4
1.2
2.7
2.1
2.3
1.4
4.64
5.58
5.47
5.46
6.25
2. ยอดวงเงินสินเชื่อระหว่าง 5 - 20 ล้านบาท
7.4
-1.9
-0.1
0.2
0.4
-0.3
2.91
3.22
3.28
3.29
3.83
3. ยอดวงเงินสินเชื่อระหว่าง 20 - 100 ล้านบาท
10.5
-0.3
-0.7
-0.6
0.5
0.8
2.43
2.63
2.77
2.69
3.12
4. ยอดวงเงินสินเชื่อระหว่าง 100 - 500 ล้านบาท
16.4
1.4
-0.9
-0.4
0.4
1.1
2.25
2.33
2.11
1.94
2.06
5. ยอดวงเงินสินเชื่อมากกว่า 500 ล้านบาท
57.3
3.6
1.1
1.8
-0.4
3.0
0.62
0.66
0.61
0.49
0.57
รวม
100.0
2.2
0.6
1.1
0.1
2.1
1.59
1.76
1.69
1.60
1.80
ที่มา: บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด ประมวลผลโดย สศช.
24
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
สถานการณ์และคุณภาพสินเชื่อของนิติบุคคลและบุคคลธรรมดา ข้อมูลของบริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด (ต่อ)
สัดส่วน NPL จะเริ่มทรงตัวหลังจากที่ปรับเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมา แต่มูลค่าคงค้างสินเชื่อกลับลดลงร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยเฉพาะในสินเชื่อรถยนต์ที่วงเงินต่ากว่า 500,000 บาท และวงเงินระหว่าง 500,000 - 800,000 บาท ซึ่งเป็นระดับราคาที่ครัวเรือนส่วนใหญ่เข้าถึง พบว่า มีการลดลงของสินเชื่อสูงถึงร้อยละ 9.2 และร้อยละ 5.0 ตามลาดับ ส่วนสินเชื่อบัตรเครดิต ที่ส่วนใหญ่ จะเป็นกลุ่มผู้ที่มีรายได้ประจาที่เข้าถึงสินเชื่อประเภทนี้ พบว่า มีการลดลงของสินเชื่อโดยเฉพาะในกลุ่มวงเงิน 10,000 - 100,000 บาท ขณะที่สินเชื่อในกลุ่มวงเงิน 100,000 บาทขึ้นไป พบว่าชะลอลงต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 12.4 ในไตรมาสที่ 1 ปี 2566 มาเป็นร้อยละ 7.3 ในไตรมาสแรกของปีนี้ จะเห็นได้ว่าในภาพรวม มีการชะลงของสินเชื่อและคุณภาพสินเชื่อก็ด้อยลงต่อเนื่อง ยิ่งไปกว่านั้น ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวมีกลุ่มเปราะบางที่ประสบปัญหาด้านสภาพคล่องและรายได้มากกว่ากลุ่มอื่น ๆ ซึ่งจาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือและเร่งปรับโครงสร้างหนี้โดยเร็ว
อัตราการเปลี่ยนแปลงของยอดคงค้างเงินให้สินเชื่ออและสัดส่วน NPL ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง ของสินเชื่อบุคคลธรรมดา จาแนกตามประเภทของสินเชื่อ
จาแนกตามประเภทของสินเชื่อ
Share Q1/67
ยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อ (%YoY)
สัดส่วนสินเชื่อบุคคลธรรมดาที่ผิดนัดชาระเกิน 90 วัน ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง (ร้อยละ)
Q1/66
Q2/66
Q3/66
Q4/66
Q1/67
Q1/66
Q2/66
Q3/66
Q4/66
Q1/67
สินเชื่อที่อยู่อาศัย
36.7
5.0
4.8
4.9
4.4
3.8
1.37
1.52
1.52
1.47
1.78
สินเชื่อบุคคล
19.0
2.9
3.5
3.1
3.4
2.8
4.07
4.58
4.67
4.44
4.39
สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์
18.8
3.1
2.8
2.1
1.2
-1.5
1.54
1.75
1.98
2.36
2.12
สินเชื่อเพื่อการเกษตร
6.1
-5.5
-6.5
-7.2
-7.7
-8.3
6.43
7.95
7.52
5.39
4.89
สินเชื่อเพื่อการพาณิชย์
4.8
-7.4
-9.6
-6.7
-6.3
-5.7
5.51
6.44
6.28
6.66
7.42
สินเชื่อบัตรเครดิต
4.1
5.1
3.6
3.2
4.7
3.2
0.48
0.47
0.48
0.43
0.52
อื่น ๆ
10.5
19.6
27.1
21.7
21.7
22.2
8.11
9.00
9.22
8.43
9.07
รวม
100.0
3.8
4.1
3.8
3.7
2.9
3.04
3.49
3.54
3.36
3.52
ที่มา: บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด ประมวลผลโดย สศช.
อัตราการเปลี่ยนแปลงของยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อและสัดส่วน NPL ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง ของสินเชื่อบุคคลธรรมดา จาแนกตามวงเงินสินเชื่อ
จาแนกตามวงเงินสินเชื่อ
Share Q1/67
ยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อ (%YoY)
สัดส่วนสินเชื่อนิติบุคคลที่ผิดนัดชาระเกิน 90 วันต่อยอดสินเชื่อคงค้าง (ร้อยละ)
Q1/66
Q2/66
Q3/66
Q4/66
Q1/67
Q1/66
Q2/66
Q3/66
Q4/66
Q1/67
สินเชื่อที่อยู่อาศัย
100.0
5.0
4.8
4.9
4.4
3.8
1.37
1.52
1.52
1.47
1.78
1) ? 1 ล้าน
8.3
-8.7
-8.5
-7.0
-6.5
-6.1
2.20
2.45
2.37
2.07
2.27
2) > 1 ล้าน ถึง 1.5 ล้าน
10.5
1.1
1.2
1.4
1.4
1.3
1.96
2.13
2.10
1.94
2.36
3) > 1.5 ล้าน ถึง 3.0 ล้าน
40.6
7.3
6.8
6.5
5.9
5.2
1.61
1.76
1.78
1.70
2.09
4) > 3.0 ล้าน ถึง 5.0 ล้าน
20.7
5.5
5.3
5.2
4.5
3.9
0.87
0.98
1.01
1.10
1.29
5) > 5.0 ล้าน ถึง 7.0 ล้าน
8.0
7.6
7.3
7.0
5.7
4.9
0.75
0.88
0.94
1.01
1.17
6) > 7.0 ล้าน ถึง 10.0 ล้าน
5.1
8.4
8.3
8.4
6.8
6.3
0.75
0.89
0.89
0.90
1.19
7) > 10.0 ล้าน ถึง 20.0 ล้าน
4.2
15.4
14.0
12.5
10.0
8.7
0.63
0.73
0.75
0.84
1.19
8) > 20.0 ล้าน
2.6
10.4
12.9
14.7
14.9
13.9
0.56
0.69
0.68
0.58
0.78
สินเชื่อบุคคล
100.0
2.9
3.5
3.1
3.4
2.8
4.07
4.58
4.67
4.44
4.39
1) ? 1,000 บาท
2.0
5.7
6.8
10.9
10.5
8.5
20.30
20.14
19.65
20.27
21.00
2) > 1,000 ถึง 10,000 บาท
0.9
-13.9
-10.9
-22.0
-27.3
-21.7
47.98
48.67
46.99
49.91
44.13
3) > 10,000 ถึง 50,000 บาท
9.5
-0.1
-1.3
-3.4
-4.4
-3.9
11.48
12.63
12.77
12.14
12.05
4) > 50,000 ถึง 100,000 บาท
6.8
3.1
1.9
1.1
1.1
0.6
5.88
6.34
6.25
5.85
5.79
5) > 100,000 บาท
80.8
3.5
4.4
4.5
5.1
4.1
1.92
2.40
2.54
2.39
2.52
สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์
100.0
3.1
2.8
2.1
1.2
-1.5
1.54
1.75
1.98
2.36
2.12
1) ? 5 แสน
18.0
-9.6
-9.7
-9.3
-8.6
-9.2
1.93
2.18
2.36
2.61
2.46
2) > 5 แสน ถึง 8 แสน
39.9
-0.9
-1.6
-2.3
-2.9
-5.0
1.61
1.84
2.06
2.44
2.13
3) > 8 แสน ถึง 1 ล้าน
16.3
12.9
11.3
8.5
5.5
1.2
1.31
1.49
1.80
2.27
1.90
4) > 1 ล้าน ถึง 1.5 ล้าน
14.3
17.7
18.1
16.4
14.1
9.2
1.07
1.24
1.48
1.88
1.71
5) > 1.5 ล้าน ถึง 3 ล้าน
8.5
18.0
17.4
16.5
13.9
8.1
1.56
1.70
2.01
2.51
2.45
6) > 3 ล้าน ถึง 5 ล้าน
2.1
24.9
25.1
22.3
19.2
13.2
1.45
1.84
2.19
2.48
2.63
7) > 5 ล้านขึ้นไป
1.0
28.9
25.0
21.7
18.5
14.0
0.98
0.80
0.91
1.12
1.20
สินเชื่อบัตรเครดิต
100.0
5.1
3.6
3.2
4.7
3.2
0.48
0.47
0.48
0.43
0.52
1) ? 1,000 บาท
1.7
3.0
3.7
3.6
4.1
5.2
0.06
0.07
0.10
0.11
0.12
2) > 1,000 ถึง 10,000 บาท
1.3
2.3
6.8
2.7
6.8
3.0
0.20
0.24
0.27
0.28
0.32
3) > 10,000 ถึง 50,000 บาท
22.2
-4.6
-2.7
-3.0
-1.0
-1.9
0.80
0.77
0.79
0.78
0.80
4) > 50,000 ถึง100,000 บาท
21.9
1.3
-0.5
-0.8
-0.2
-1.1
0.40
0.40
0.41
0.39
0.48
5) > 100,000 บาท
52.9
12.4
8.6
8.1
9.4
7.3
0.38
0.38
0.39
0.32
0.45
ที่มา: บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด ประมวลผลโดย สศช.
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 25
Economic Outlook NESDC
อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. เฉลี่ยในไตรมาสสองของปี 2567 อ่อนค่าลงจากไตรมาสก่อนหน้า
ในไตรมาสสองของปี 2567 เงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 36.71 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจากไตรมาสก่อนหน้า
ร้อยละ 2.97 สอดคล้องกับการแข็งค่าของดัชนีดอลลาร์ สรอ. ( Dollar Index) จากค่าเฉลี่ย 103.57
ในไตรมาสก่อนหน้าเป็น 105.18 ในไตรมาสนี้ โดยเป็นผลจากการคาดการณ์ทิศทางของธนาคารกลางสหรัฐฯ
ที่อาจคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับสูงนานกว่าที่คาด (Higher for longer) รวมถึงสถานการณ์ความขัดแย้ง
ในตะวันออกกลางที่ส่งผลให้ความต้องการสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ดี ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น
เล็กน้อยในช่วงปลายไตรมาส สอดคล้องกับการคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ จะเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ย
นโยบายในเดือนกันยายน ภายหลังตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ทั้งการผลิตและการจ้างงาน รวมถึงอัตราเงินเฟ้อ
ของสหรัฐฯ ออกมาต่ากว่าการคาดการณ์ของตลาด
ทั้งนี้ การอ่อนค่าของเงินบาทในไตรมาสนี้ สอดคล้องกับค่าเงินสกุลต่าง ๆ ในภูมิภาคที่เคลื่อนไหวอ่อนค่าลง
อาทิ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 4.9) อินโดนีเซีย (ร้อยละ 3.3) ฟิลิปปินส์ (ร้อยละ 3.2) เกาหลีใต้ (ร้อยละ 3.2)
ไต้หวัน (ร้อยละ 2.9) สิงคโปร์ (ร้อยละ 1.0) เวียดนาม (ร้อยละ 1.0) อินเดีย (ร้อยละ 0.5) มาเลเซีย (ร้อยละ 0.2)
และจีน (ร้อยละ 0.1) และเมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้า/คู่แข่ง พบว่า เงินบาทเคลื่อนไหวในทิศทางอ่อนค่าลง โดยดัชนี
ค่าเงินบาท (NEER) เฉลี่ยอยู่ที่ 117.19 ลดลงร้อยละ 1.34 จากไตรมาสก่อนหน้า
ในเดือนกรกฎาคม 2567 เงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 36.30 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.12 สอดคล้อง
การอ่อนค่าลงของของดัชนีดอลลาร์ สรอ. (Dollar Index) ร้อยละ 0.51 จากเดือนก่อนหน้า (จากค่าเฉลี่ย 105.17
ในเดือนมิถุนายน 2567 เป็น 104.63 ในเดือนกรกฎาคม 2567) หลังตัวเลขเครื่องชี้แสดงให้เห็นว่าตลาดแรงงาน
สหรัฐฯ มีความตึงตัวน้อยลงและอัตราเงินเฟ้อเริ่มชะลอลง ส่งผลให้นักลงทุนคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ
จะเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในเดือนกันยายน 2567 นี้
เงินบาทเทียบกับ
ดอลลาร์ สรอ. เฉลี่ย
ในไตรมาสที่สองของ
ปี 2567 อ่อนค่าลง
สอดคลอ้ งกบั คา เงนิ สกลุ อนื่
ในภูมิภาค
29.0
30.0
31.0
32.0
33.0
34.0
35.0
36.0
37.0
38.0
95 39.0
100
105
110
115
120
125
130
ม ค
เม ย
ก ค
ต ค
ม ค
เม ย
ก ค
ต ค
ม ค
เม ย
ก ค
ต ค
ม ค
เม ย
ก ค
ต ค
ม ค
เม ย
ก ค
ต ค
ม ค
เม ย
ก ค
ต ค
ม ค
เม ย
ก ค
ดัชนี
NEER REER บาท ดอลลาร์ สรอ แกนขวา
บาท ดอลลาร์ สรอ
ค่าเงินบาทเฉลี่ยปรับตัวอ่อนค่าเมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อนหน้า
ที่มา: CEIC, ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) ปรับตัวลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ณ สิ้นไตรมาสสองของ
ปี 2567 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,301.0 จุด ลดลงร้อยละ 5.6 จากไตรมาสก่อนหน้า ตามการขายสุทธิ
ของนักลงทุนต่างชาติ โดยมีปัจจัยที่สาคัญมาจาก (1) ทิศทางการลงทุนที่มุ่งเน้นการลงทุนในหลักทรัพย์
กลุ่มเทคโนโลยี อาทิ บริษัทผลิตชิป การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ (AI) และกลุ่มบริการสื่อสาร ขณะที่ตลาด
หลักทรัพย์ไทยมีสัดส่วนบริษัทในกลุ่มดังกล่าวน้อย (2) การคาดการณ์ทิศทางการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
ของธนาคารกลางสหรัฐฯ ที่ยังคงไม่แน่นอน ซึ่งกดดันการลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง และ (3) สถานการณ์
ทางการเมืองภายในประเทศที่ยังคงส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ โดยในไตรมาสนี้
นักลงทุนต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 6 มูลค่า 47.7 พันล้านบาท โดยกลุ่มอุตสาหกรรม
ที่ดัชนีฯ ปรับตัวลดลง ได้แก่ กลุ่มธุรกิจการเงิน (ลดลงร้อยละ 10.0) กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง
(ลดลงร้อยละ 9.6) กลุ่มทรัพยากร (ลดลงร้อยละ 9.4) กลุ่มบริการ (ลดลงร้อยละ 7.5) และ กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค
(ลดลงร้อยละ 6.1) ขณะที่กลุ่มอุตสาหกรรมที่ดัชนีฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นได้แก่ กลุ่มเทคโนโลยี เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.7
ตามทิศทางการลงทุนโลก ทั้งนี้ การปรับลดลงของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทยสอดคล้องกับทิศทางของดัชนี
ตลาดหลักทรัพย์ของประเทศในภูมิภาค อาทิ ฟิลิปปินส์ (ลดลงร้อยละ 7.1) อินโดนีเซีย (ลดลงร้อยละ 3.1)
เวียดนาม (ลดลงร้อยละ 3.0) จีน (ลดลงร้อยละ 2.1) และ ญี่ปุ่น (ลดลงร้อยละ 1.9) ด้านประเทศในภูมิภาค
ที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ไต้หวัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.5) อินเดีย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3) ฮ่องกง
(เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1) มาเลเซีย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5) สิงค์โปร์ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4) และ เกาหลีใต้ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9)
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์
(SET Index) ลดลงจาก
ไตรมาสก่อนหน้า
โดยมีปัจจัยสาคัญจาก
ทิศทางการลงทุนที่เน้น
หลักทรัพย์ในกลุ่ม
เทคโนโลยี รวมถึง
ความไม่แน่นอนของทิศทาง
นโยบายการเงินของสหรัฐฯ
และสถานการณ์การเมือง
ภายในประเทศ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 26
Economic Outlook NESDC
ในเดือนกรกฎาคม 2567 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,320.9 จุด ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 จากเดือน
ก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลจากทิศทางนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ ที่มีความชัดเจนมากขึ้น ประกอบกับ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ดาเนินมาตรการกากับดูแลการขายชอร์ตและโปรแกรมเทรดดิ้ง
(Uptrick-rule) ส่งผลให้การเคลื่อนไหวของดัชนีมีเสถียรภาพมากขึ้น รวมถึงผลประกอบการไตรมาสสอง
ของปี 2567 ของบริษัทจดทะเบียนหลายแห่งดีกว่าที่คาดการณ์
1000
1200
1400
1600
1800
2000
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
70,000
80,000
90,000
100,000
110,000
ล้านบาท ดัชนี
มูลค่าซื้อขายเฉลี่ย SET Index (แกนขวา
ดัชนีหลักทรัพย์ปรับตัวลดลง ขณะที่มูลค่าซื้อขายเฉลี่ยปรับตัวเพิ่มขึ้น
จากไตรมาสก่อนหน้า
ที่มา: SET
85
90
95
100
105
110
115
120
125
เม ย พ ค มิ ย
Index
(ณ สิ้นเดือน มี ค = 100)
การเคลื่อนไหวของดัชนีหลักทรัพย์ไทยและต่างประเทศ
ในช่วงไตรมาสที่ ปี
S&P500,US SENSEX,India KOSPI,South Korea
JKSE,Indonesia PSEi,Philipines Hang Seng,Hong Kong
CSI300,China SET,Thailand KLCI,Malaysia
STI,Singapore
แนวโน้มการลงทุนในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยีของโลกและผลกระทบต่อตลาดหลักทรัพย์ไทย
นับตั้งแต่ช่วงหลังโควิด-19 นักลงทุนให้ความสาคัญกับการลงทุนในเทคโนโลยีแห่งอนาคตมากขึ้น โดยเฉพาะเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
(AI) ส่งผลให้ราคาหลักทรัพย์ของบริษัทที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะในหุ้นกลุ่ม 7 นางฟ้า หรือ Magnificent Seven1
ส่งผลให้ ณ สิ้นไตรมาส 2 ปี 2567 ดัชนี BM7N2 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากต้นปี 2564 ถึงร้อยละ 134.4 สูงกว่าการเพิ่มขึ้นของภาพรวมตลาด
เห็นได้จากดัชนี MSCI ACWI และดัชนี S&P500 ที่เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 24.1 และร้อยละ 47.6 ในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลาดับ
ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาข้อมูลล่าสุดในไตรมาสที่สองของปี 2567 พบว่า ดัชนีหลักทรัพย์ในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
ของ S&P500 ยังคงขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 13.6 เช่นเดียวกับดัชนีกลุ่มการสื่อสาร ( Communication Service) พบว่าขยายตัว
ในระดับสูงที่ร้อยละ 9.1 นอกจากนี้ เมื่อจาแนกกลุ่มอุตสาหกรรมตาม Global Industry Classification Standard (GICS) ซึ่งเป็นมาตรฐาน
การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมในตลาดหลักทรัพย์ พบว่า ดัชนีหลักทรัพย์ของประเทศส่วนใหญ่ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 2 อาทิ
ดัชนี S&P 500 ของสหรัฐฯ ดัชนี TWSE ของไต้หวัน ดัชนี SENSEX ของอินเดีย และดัชนี KOSPI ของเกาหลีใต้ จะมีสัดส่วนมูลค่าหลักทรัพย์
ตามราคาตลาด (Market Capitalization) ของกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศค่อนข้างสูง3
1 หลักทรัพย์ในกลุ่มเทคโนโลยีขนาดใหญ่ 7 หลักทรัพย์ ประกอบด้วย Apple Microsoft Alphabet Amazon META Tesla และ Nvidia
2 ดัชนี BM7N คือดัชนีผลตอบแทนสุทธิ (Net Return) ของหุ้นกลุ่ม 7 นางฟ้า จัดทาโดย Bloomberg
3 โดย ดัชนี TWSE มีสัดส่วนร้อยละ 66 ดัชนี KOSPI มีสัดส่วนร้อยละ 35 ดัชนี S&P 500 มีสัดส่วนร้อยละ 30 และ ดัชนี SENSEX มีสัดส่วนร้อยละ 17
(4.9)
(3.3)
(3.2)
(2.8)
(2.4)
(1.4)
0.4
0.7
3.9
9.1
13.6
3.9
วัสดุ
อุตสาหกรรม
พลังงาน
อสังหาริมทรัพย์
การเงิน
สุขภาพ
สินค้าอุปโภคบริโภคฟุ่มเฟ อย
สินค้าอุปโภคบริโภคปัจจัยพื้นฐาน
สาธารณูปโภค
บริการด้านการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ดัชนี S&P 500
การเปลี่ยนแปลงของดัชนีS&P 500 จาแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม (GICS)
ในไตรมาสที่ 2 (%QoQ)
สัดส่วนมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด จาแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม (GICS) ณ สิ้นไตรมาส 2/2567
27
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
แนวโน้มการลงทุนในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยีของโลกและผลกระทบต่อตลาดหลักทรัพย์ไทย (ต่อ)
สาหรับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ในไตรมาสที่ 2 ปี 2567 ดัชนีราคากลุ่มเทคโนโลยี (TECH) ขยายตัวร้อยละ 12.7 จากไตรมาสก่อนหน้า มากที่สุดเมื่อเทียบกับดัชนีในกลุ่มอุตสาหกรรมอื่น ๆ และสอดคล้องกับแนวโน้มการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์โลก อย่างไรก็ดี ดัชนี SET Index ในภาพรวม กลับลดลงร้อยละ 5.6 จากไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลจากการลดลงของดัชนีในกลุ่มอุตสาหกรรมอื่น ๆ ทั้งนี้ หากพิจารณามูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (Market Capitalization) ของกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ4 พบว่า มีสัดส่วนเพียงร้อยละ 8.2 ของมูลค่าหลักทรัพย์ทั้งหมด ขณะที่กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าหลักทรัพย์มากที่สุด ได้แก่ กลุ่มการเงิน (Financial) กลุ่มพลังงาน (Energy) และกลุ่มสินค้าจาเป็น (Consumer Staples) ที่มีสัดส่วนร้อยละ 15.0 ร้อยละ 11.9 และร้อยละ 11.7 ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาในด้านจานวนหลักทรัพย์5 ณ สิ้นไตรมาส 2 ปี 2567 พบว่า จานวนหลักทรัพย์ที่อยู่ในกลุ่มเทคโนโลยี (TECH) มีทั้งสิ้น 45 หลักทรัพย์ (ประกอบด้วย กลุ่มสื่อสาร (ICT) 37 หลักทรัพย์ และกลุ่มชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (ETRON) 8 หลักทรัพย์) จากทั้งหมด 685 หลักทรัพย์ หรือคิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 6.6 ของหลักทรัพย์ทั้งหมด
สัดส่วนหลักทรัพย์ของกลุ่มเทคโนโลยีในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแม้ว่าจะสูงขึ้นแต่ยังมีไม่มาก ส่งผลให้ในช่วงที่ผ่านมาการเพิ่มขึ้นของดัชนีหลักทรัพย์ไทยที่เป็นผลจากกระแสการลงทุนในกลุ่มเทคโนโลยีของโลกยังค่อนข้างจากัด ดังนั้น ในระยะต่อไปจึงจาเป็นต้องให้ความสาคัญการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ที่ตรงต่อความต้องการในตลาดโลกโดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี อาทิ อุตสาหกรรมเซมิคอนดัคเตอร์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ชิ้นส่วน ชิ้นส่วนอุปกรณ์สื่อสาร รวมทั้งซอฟแวร์ เป็นต้น ควบคู่ไปกับการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุน ทั้งประเด็นด้านการเมืองและด้านธรรมาภิบาล อันจะเป็นการเสริมสร้างความมั่นคงให้กับเศรษฐกิจการเงินของประเทศต่อไป
4 อ้างอิงการจาแนกกลุ่มอุตสาหกรรมตาม GICS
5 อ้างอิงข้อมูลจาก SET SMART
ที่มา : Bloomberg Terminal และ SET SMART
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวปรับตัวเพิ่มขึ้น ในไตรมาสที่สองของปี 2567 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เช่นเดียวกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว (อายุ 1 ปีขึ้นไป) ที่เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ซึ่งเป็นผลจากความไม่แน่นอนในการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ ประกอบกับความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ที่เพิ่มสูงขึ้น ทาให้นักลงทุนเพิ่มการถือครองสินทรัพย์สกุลเงินดอลลาร์เพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย อ้างอิงอายุ 2 ปี และอายุ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 2.35 ต่อปี และร้อยละ 2.68 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.15 ต่อปี และร้อยละ 2.51 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาส ก่อนหน้า ตามลาดับ โดยเงินลงทุนของนักลงทุนต่างชาติในตลาดตราสารหนี้ไหลออกสุทธิ 30.7 พันล้านบาท ต่อเนื่องจากการไหลออกสุทธิ 34.5 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับการระดมทุนใหม่ผ่านตลาด ตราสารหนี้มีมูลค่าทั้งสิ้น 497.0 พันล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนของธุรกิจในกลุ่ม เงินทุนและหลักทรัพย์ กลุ่มธุรกิจพลังงาน และกลุ่มอสังหาริมทรัพย์
ในเดือนกรกฎาคม 2567 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว (อายุ 1 ปีขึ้นไป) ปรับตัวลดลงจาก เดือนก่อนหน้า สอดคล้องกับการลดลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อ้างอิงอายุ 2 ปี และ 10 ปี ซึ่งเป็นผลมาจากการคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ จะเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ในเดือนกันยายน ภายหลังข้อมูลเงินเฟ้อออกมาต่ากว่าคาด ส่งผลให้ ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 ปี และอายุ 10 ปี ปรับตัวลดลงอยู่ที่ร้อยละ 2.32 ต่อปี และร้อยละ 2.59 ต่อปี ตามลาดับ
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาว ปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ
(10.0)(9.6)(9.4)(7.5)(6.0)2.8 5.9 12.7 (5.6)ธุรกิจการเงินอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างทรัพยากรบริการสินค้าอุปโภคบริโภคสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารเทคโนโลยีSET Indexการเปลี่ยนแปลงของดัชนีSET index จาแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม ในไตรมาสที่ 2 (%QoQ)AGRO 10%CONSUMP 7%FINCIAL 10%INDUS 20%PROPCON 17%RESOURC 9%SERVICE 21%TECH 6%สัดส่วนบริษัทจดทะเบียนใน SET จาแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรมสัดส่วนมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด จาแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม (GICS ของ SET index
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 28
Economic Outlook NESDC
ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ในไตรมาสที่สองของปี 2567 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 2.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ.
(93.7 พันล้านบาท) เทียบกับการขาดดุล 1.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (49.2 พันล้านบาท) ในไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อน และใกล้เคียงกับการเกินดุล 2.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (93.6 พันล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า
ซึ่งเป็นผลมาจากการเกินดุลการค้า 5.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (สูงกว่าการเกินดุล 3.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ.
ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน) และดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิขาดดุล 3.0 พันล้านดอลลาร์
สรอ. (เทียบกับการขาดดุล 4.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
รวมครึ่งแรกของปี 2567 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 5.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (187.3 พันล้านบาท) เทียบกับ
การเกินดุล 7.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (266.1 พันล้านบาท) ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา และการเกินดุล 2.2
พันล้านดอลลาร์ สรอ. (77.6 พันล้านบาท) ในช่วงเดียวกันของปีก่อน
เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2567 อยู่ที่ 224.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นจาก 218.2
พันล้านดอลลาร์ สรอ. ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2566 เมื่อคิดในรูปเงินบาท เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือน
มิถุนายน 2567 อยู่ที่ 8,266.1 พันล้านบาท สูงกว่า 7,769.3 พันล้านบาท ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2566
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลในไตรมาสที่ ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นทุกช่วงอายุ
จากไตรมาสก่อนหน้า
ที่มา: ThaiBMA
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
1M 6M 2Y 4Y 6Y 8Y 10Y 12Y 14Y 16Y 18Y 20Y
ร้อยละ
Q1/2567
Q2/2567
ก ค
ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4
เงินสารองระหว่างประเทศ
ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2567
อยู่ที่ 224.3 พันล้าน
ดอลลาร์ สรอ เพิ่มขึ้นจาก
ช่วงเดียวกันของปีก่อน
-15,000
-10,000
-5,000
0
5,000
10,000
15,000
20,000
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
62 63 64 65 66 67
ล้านดอลลาร์ สรอ.
ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการค้า
และดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ
ดุลบัญชีเดินสะพัด
ดุลการค้า
ดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
อัตราเงินเฟ้อ ในไตรมาสที่สองของปี 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.8 หลังจากติดลบในช่วง
2 ไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6
ตามดัชนีราคาผักและผลไม้ ข้าวและผลิตภัณฑ์จากแป้ง และไข่และผลิตภัณฑ์นมที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 ร้อยละ
3.6 และร้อยละ 3.4 เป็นสาคัญ เนื่องจากปริมาณผลผลิตเข้าสู่ตลาดลดลง ส่วนดัชนีราคาหมวดที่มิใช่อาหาร
และเครื่องดื่มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ตามดัชนีราคากลุ่มพลังงานที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 ภายหลังสิ้นสุดมาตรการ
ลดภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซล ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 ทรงตัวจากไตรมาสก่อนหน้า
ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีในหมวดเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ค่าโดยสารสาธารณะ และอาหารสาเร็จรูป
รวมครึ่งแรกของปี 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปทรงตัวเท่ากับช่วงครึ่งหลังของปีก่อน และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน
อยู่ที่ร้อยละ 0.4 ชะลอลงจากร้อยละ 0.7 ในช่วงครึ่งหลังของปีก่อน ตามการชะลอตัวของดัชนีราคาเครื่องดื่ม
ไม่มีแอลกอฮอล์ หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ อาหารสาเร็จรูป และการลดลงของดัชนีราคาหมวด
เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า และสิ่งที่เกี่ยวกับทาความสะอาด
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่
ร้อยละ 0.8 หลังจากติดลบ
ต่อเนื่องใน 2 ไตรมาส
ก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้น
ของดัชนีหมวดอาหารและ
เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์
และหมวดที่มิใช่อาหาร
และเครื่องดื่ม
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 29
Economic Outlook NESDC
ในเดือนกรกฎาคม 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาน้ามัน
เชื้อเพลิงตามสถานการณ์พลังงานในตลาดโลก รวมถึงการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้ากลุ่มอาหาร โดยเฉพาะอาหาร
สาเร็จรูป และผลไม้สด เนื่องจากอุปสงค์เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.5
ดัชนีราคาผู้ผลิต ในไตรมาสที่สองของปี 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 ต่อเนื่องจากร้อยละ 1.2
ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมร้อยละ 4.1 สอดคล้องกับ
ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก เครื่องจักรและเครื่องมือ
และผลิตภัณฑ์อาหาร ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.9 ร้อยละ 9.7 ร้อยละ 4.7 และร้อยละ 2.2 ตามลาดับ เป็นสาคัญ
และหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมงเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.9 ขณะที่หมวดผลิตภัณฑ์จากเหมือง
ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 13.4 ตามการลดลงของดัชนีราคากลุ่มปิโตรเลียมดิบและกาซธรรมชาติ
ร้อยละ 16.1
รวมครึ่งแรกของปี 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตเฉลี่ยปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.6
ในช่วงครึ่งหลังของปีก่อน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เป็นสาคัญ
ในเดือนกรกฎาคม 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 โดยดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและ
หมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมงเพิ่มขึ้น ขณะที่ดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์จากเหมืองยังคงลดลง
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2
%YoY
ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปในไตรมาสที่สองของปี
เพิ่มขึ้นร้อยละ
ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน
ดัชนีราคาผู้ผลิต
ที่มา กระทรวงพาณิชย์
ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้น
ต่อเนื่อง ตามการเพิ่มขึ้น
ของดัชนีราคาหมวด
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
และหมวดผลิตภัณฑ์
เกษตรและการประมง
30
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
NESDC
Economic Outlook
ราคาน้ามันดิบเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน และจากไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสที่สองของ ปี 2567 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสต์เท็กซัส) อยู่ที่ 83.9 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 เมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ย 76.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 จากราคาเฉลี่ย 80.3 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาส ก่อนหน้า โดยมีสาเหตุมาจาก (1) ผลกระทบจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ โดยเฉพาะความขัดแย้ง ในตะวันออกกลางที่ทวีความรุนแรงขึ้น (2) การขยายเวลาปรับลดกาลังการผลิตของกลุ่มโอเปกพลัสไปจนถึง สิ้นปี 2568 และ (3) ปริมาณแท่นขุดเจาะน้ามันดิบของสหรัฐฯ ในไตรมาสที่สองของปี 2567 อยู่ที่ 497 แท่น ลดลงร้อยละ 13.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับปริมาณน้ามันดิบสารองทางการค้าของสหรัฐฯ อยู่ที่ 457 ล้านบาร์เรล ลดลงร้อยละ 0.9 จาก 461 ล้านบาร์เรล ในไตรมาสที่สองของปี 2567
รวมครึ่งแรกของปี 2567 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาดอยู่ที่ 82.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 จากค่าเฉลี่ย 77.9 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรลในช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ลดลงร้อยละ 2.3 จากค่าเฉลี่ย 83.9 ในช่วงครึ่งหลังของปีก่อน
ในเดือนกรกฎาคม 2567 ราคาน้ามันดิบอยู่ในระดับสูงสุดในรอบ 3 เดือน เนื่องจากความขัดแย้งในตะวันออกกลาง ที่ทวีความรุนแรงและกระจายเป็นวงกว้างมากขึ้น ภายหลังผู้นากลุ่มฮามาสถูกกองทัพอิสราเอลสังหาร
ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีก่อนและจากไตรมาสก่อนหน้า
2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ามันไตรมาสที่สองของปี 2567
ราคาน้ามันดิบในตลาดโลก
ปี
ราคา (ดอลลาร์ สรอ. /บาร์เรล)
อัตราการขยายตัว (%YOY)
WTI
BRENT
DUBAI
OMAN
เฉลี่ย
WTI
BRENT
DUBAI
OMAN
เฉลี่ย
2564
ทั้งปี
68.1
70.9
69.5
69.3
69.4
72.1
63.4
63.8
65.5
65.4
2565
ทั้งปี
94.2
98.8
96.2
96.5
96.5
38.4
39.4
38.4
39.4
38.9
2566
ทั้งปี
77.4
82.1
81.8
81.9
80.8
-17.8
-16.9
-15.0
-15.2
-16.2
H1
74.6
79.8
78.6
78.7
77.9
-26.5
-23.8
-22.9
-21.9
-23.7
H2
80.5
84.6
85.2
85.3
83.9
-7.6
-9.2
-6.0
-8.2
-7.8
Q1
76.0
82.1
80.2
80.4
79.7
-19.7
-16.1
-16.5
-16.6
-17.2
Q2
73.1
77.3
76.9
76.9
76.0
-33.0
-31.2
-29.1
-27.0
-30.1
Q3
82.1
86.0
86.6
86.6
85.3
-10.2
-11.8
-10.3
-14.0
-11.6
Q4
78.8
83.0
83.8
83.8
82.4
-4.6
-6.2
-1.0
-1.1
-3.2
2567
H1
78.6
83.2
82.9
83.0
82.0
5.4
4.3
5.5
5.5
5.2
Q1
76.9
81.8
81.1
81.0
80.3
1.2
-0.4
1.2
0.8
0.7
Q2
80.5
84.8
85.1
85.2
83.9
10.1
9.7
10.6
10.8
10.4
เม.ย.
84.2
88.7
88.9
89.1
87.7
6.8
7.2
7.6
7.7
7.3
พ.ค.
78.7
83.1
84.2
84.4
82.6
9.8
9.8
12.2
12.6
11.1
มิ.ย.
78.7
82.9
82.7
82.7
81.8
11.9
10.6
10.7
10.8
11.1
ก.ค.
80.7
84.1
84.0
84.1
83.3
7.3
5.5
5.2
5.2
5.9
7M
78.9
83.3
83.1
83.2
82.2
5.7
4.5
5.5
5.5
5.3
ที่มา: บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) และสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
31
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจโลกในไตรมาสที่สองของปี 2567 ขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าตามแรงสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคการผลิตและภาคบริการ สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Purchasing Manager?s Index: Composite PMI) ที่อยู่ในระดับสูงกว่า 50 ในหลายประเทศ โดยเฉพาะเศรษฐกิจหลัก ทั้งสหรัฐฯ ยูโรโซน ญี่ปุ่น จีน และอินเดีย9 ขณะที่กลุ่มประเทศเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่และประเทศกาลังพัฒนายังคงขยายตัว ในระดับสูงตามมูลค่าการส่งออกที่กลับมาขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง สอดคล้องกับการฟื้นตัวของการค้าโลกและวัฏจักรขาขึ้นของวงจรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะเกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง และเวียดนาม สาหรับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อลดลงอย่างชัดเจนมากขึ้น อันเป็นผลจากการดาเนินนโยบายทางการเงินอย่างเข้มงวดเป็นระยะเวลานานของหลายประเทศในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้ธนาคารกลางสาคัญ ๆ เริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงไตรมาสที่สอง ทั้งธนาคารกลางยุโรป ธนาคารกลางแคนาดา และธนาคารกลางสวิสเซอร์แลนด์10
เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 3.1 (Advance Estimate) เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้าโดยมีแรงสนับสนุนจากการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัวร้อยละ 5.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 5.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงสุดในรอบ 8 ไตรมาส โดยเป็นการขยายตัวได้ดีทั้งการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และที่ไม่ใช่อสังหาริมทรัพย์ เช่นเดียวกับการบริโภคภาคเอกชนและการใช้จ่ายภาครัฐที่ขยายตัวเร่งขึ้นต่อเนื่อง ส่วนตลาดแรงงาน เริ่มคลายความตึงตัวลง สะท้อนจากอัตราการว่างงานในเดือนมิถุนายน 2567 อยู่ที่ร้อยละ 4.3 สูงสุดในรอบ 30 เดือน เช่นเดียวกับสัดส่วนตาแหน่งงานเปิดใหม่ในไตรมาสที่ 2 อยู่ที่ร้อยละ 4.9 ต่าสุดในรอบ 13 ไตรมาสส่งผลให้การเพิ่มขึ้นของอัตราค่าจ้างเริ่มชะลอตัวลง โดยอัตราค่าจ้างเฉลี่ยรายชั่วโมงในไตรมาสที่ 2 ขยายตัวร้อยละ 3.9 นับเป็นการขยายตัวต่าที่สุดในรอบ 12 ไตรมาส ท่ามกลางการชะลอตัวของตลาดแรงงาน ส่งผลให้ แรงกดดันด้านเงินเฟ้อชะลอตัวลงและทรงตัวในระดับต่า โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไป (PCE inflation) อยู่ที่ร้อยละ 2.6 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อยังคงสูงกว่าระดับเป้าหมายและแรงกดดันจากราคาหมวดบริการที่ยังทรงตัวอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 4.0 ส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง11
เศรษฐกิจยูโรโซน ขยายตัวร้อยละ 0.6 เทียบกับร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและภาคบริการ สะท้อนได้จากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการที่ระดับ 53.1 มากกว่าระดับ 50.0 เป็นไตรมาสที่ 2 ติดต่อกัน โดย ได้รับแรงสนับสนุนจากการขยายตัวในเกณฑ์ดีของอัตราค่าจ้างรวมถึงแรงกดดันเงินเฟ้อที่ปรับลดลงต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังลดลงที่ระดับ (-14.3) ประกอบกับภาคการผลิตอุตสาหกรรมยังคงปรับตัวลดลง โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 46.3 ต่ากว่าระดับ 50.0 เป็นไตรมาสที่ 8 ติดต่อกัน ส่งผลให้เศรษฐกิจเยอรมนีซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคยังคงลดลงติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 4 ที่ร้อยละ 0.1 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและพื้นฐานในไตรมาสที่ 2 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 2.5 และร้อยละ 2.8 ชะลอลงจากร้อยละ 2.6 และร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ท่ามกลางการขยายตัวในเกณฑ์ต่าของเศรษฐกิจและการลดลงของแรงกดดันเงินเฟ้อ ส่งผลให้ธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank: ECB) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ12
เศรษฐกิจญี่ปุ่น ลดลงร้อยละ 0.8 ต่อเนื่องจากร้อยละ 0.9 ในไตรมาสแรก ตามการลดลงของการส่งออกสินค้าที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 4.2 นับเป็นการลดลงต่อเนื่องกันเป็นไตรมาสที่ 9 โดยเป็นผลมาจากการปรับตัวลดลงของการส่งออกสินค้ายานยนต์และชิ้นส่วนเป็นสาคัญ เช่นเดียวกับการอุปโภคบริโภคภายในประเทศปรับตัวลดลงจากแรงกดดันเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น โดยมีปัจจัยหลักมาจากค่าจ้างที่ปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ทั้งค่าจ้างขั้นต่าและการปรับขึ้นค่าจ้างตามการต่อรองค่าจ้างประจาฤดูใบไม้ผลิ ขณะที่ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปปรับตัวสูงขึ้น โดยในไตรมาสที่สองอยู่ที่ร้อยละ 2.8 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนอัตราเงินเฟ้อที่ไม่รวมอาหารอยู่ที่ร้อยละ 2.7 ยังคงสูงกว่ากรอบเป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 อย่างไรก็ดี ธนาคารกลางญี่ปุ่นในการประชุมเมื่อวันที่ 13 ? 14 มิถุนายน 2567 ยังคงมีมติ คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 13 ทั้งนี้ การคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับต่าส่งผลให้อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริงของญี่ปุ่นในเดือนมิถุนายนอยู่ที่ร้อยละ (-2.8) และทาให้อัตราแลกเปลี่ยนยังคงอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วงไตรมาสที่สอง อัตราแลกเปลี่ยนอ่อนค่าลงมาอยู่ที่เฉลี่ย 155.8 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. เทียบกับเฉลี่ย 148.5 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสแรก
3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสที่สองของปี 2567
9 ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อรวม (Composite Purchasing Manager?s Index: Composite PMI) ของสหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน และอินเดีย อยู่ที่ระดับ 53.5 ระดับ 51.5 ระดับ 53.2 และระดับ 61.0 ตามลาดับ
10 ธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank: ECB) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงจากร้อยละ 4.50 เป็นร้อยละ 4.25 ในการประชุมเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2567 และ ธนาคารกลางแคนาดา (Bank of Canada) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงจากร้อยละ 5.00 เป็นร้อยละ 4.75 ในการประชุมเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2567
11 คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC) ในการประชุมเมื่อวันที่ 30 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2567 และวันที่ 11-12 มิถุนายน 2567 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ย อยู่ที่ช่วงร้อยละ 5.25-5.50 ซึ่งเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายติดต่อกัน นับตั้งแต่การประชุมในเดือนมิถุนายน 2566 และเป็นระดับสูงที่สุดในรอบ 22 ปี โดย FOMC จะติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินให้มีความเหมาะสมกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้อัตราเงินเฟ้อกลับสู่ระดับเป้าหมายในระยะยาวที่ร้อยละ 2.0 รวมถึงการจ้างงานอยู่ในระดับสูงสุด
12 ในการประชุมเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2567 ธนาคารกลางยุโรปได้มีมติลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ย Refinancing Operations Rate อัตราดอกเบี้ย Marginal Lending Facility และดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์ของแต่ละประเทศที่ฝากไว้กับธนาคารกลางลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 4.25 ร้อยละ 4.50 และ ร้อยละ 3.75 ตามลาดับ ขณะเดียวกัน ธนาคารกลางยุโรปยังได้ดาเนินมาตรการเพื่อลดการผ่อนคลายนโยบายการเงินอย่างต่อเนื่อง โดยโครงการ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) จะนาเงินต้นของสินทรัพย์ที่ครบกาหนดไถ่ถอนแล้วมาลงทุนใหม่เต็มจานวนไปจนถึงเดือนมิถุนายน 2567 แล้วจะเริ่มลดขนาดการเข้าซื้อสินทรัพย์ลงเฉลี่ยเดือนละ 7.5 พันล้านยูโร ในช่วงครึ่งหลังของปี 2567 จากนั้นก็จะไม่มีการลงทุนใหม่หลังจากปี 2567 อย่างไรก็ตาม ECB ยังคงใช้กลไกเพื่อลดผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยในระดับสูง (Transmission Protection Instrument: TPI) โดยการเข้าซื้อสินทรัพย์โดยเฉพาะพันธบัตรรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่เผชิญความผันผวนในตลาดการเงินเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก
13 ในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2567 ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบ 17 ปีรวมถึงการยกเลิกมาตรการรักษาผลตอบแทนพันธบัตรเพื่อลดแรงกดดัน เงินเฟ้อที่อยู่ระดับสูงต่อเนื่อง
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
32
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 4.7 ชะลอลงจากร้อยละ 5.3 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวที่ต่าสุดในรอบ 5 ไตรมาส โดยเป็นผลมาจากการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนจากความยืดเยื้อของปัญหาการขาดสภาพคล่องและภาระหนี้สิน ในภาคอสังหาริมทรัพย์ โดยยอดการค้าปลีกขยายตัวร้อยละ 2.6 ชะลอตัวจากร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวต่าสุด ในรอบ 6 ไตรมาส เช่นเดียวกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังคงอยู่ในระดับต่าอย่างต่อเนื่อง ขณะที่การลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ยังคงลดลงร้อยละ 6.5 นับเป็นการลดลงต่อเนื่องกันเป็นไตรมาสที่ 12 อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจจีนยังคงได้รับแรงสนับสนุนจากการขยายตัวดีอย่างต่อเนื่องของ ภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออกสินค้าซึ่งเป็นผลมาจากวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์จากการดาเนินนโยบายส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมของรัฐบาลจีน ซึ่งส่งผลให้มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 5.8 สูงสุดในรอบ 7 ไตรมาส สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (Caixin PMI) อยู่ที่ระดับ 51.6 สูงสุดในรอบ 14 ไตรมาส ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.3 เทียบกับร้อยละ 0.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนดัชนีราคาผู้ผลิตเฉลี่ยลดลงร้อยละ 1.6 เป็นการลดลงต่อเนื่องกันเป็นไตรมาสที่ 7 ภายใต้การชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและแรงกดดันเงินเฟ้อที่ต่าส่งผลให้รัฐบาลจีนยังคงดาเนินนโยบายเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ ภาคอสังหาริมทรัพย์14 เช่นเดียวกับธนาคารกลางจีน (People?s Bank of China: PBOC) ที่ยังคงดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย เพื่อเสริมสภาพคล่องเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจต่อไป15
เศรษฐกิจอินเดีย ขยายตัวในเกณฑ์ดีอย่างต่อเนื่อง ตามการขยายตัวของภาคการผลิตและภาคการส่งออก สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมที่อยู่ในระดับ 58.2 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ สอดคล้องกับดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรมและมูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 5.1 และร้อยละ 5.8 อย่างไรก็ดี แรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายภาครัฐลดลงอันเนื่องมาจากการเลือกตั้งทั่วไปในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน 2567 ประกอบกับการลงทุนภาครัฐลดลงร้อยละ 35.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 10.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 5.0 ชะลอลงจากร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อน แต่ยังสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินระยะปานกลางที่ร้อยละ 4.016 ส่งผลให้ ธนาคารกลางอินเดียในการประชุมเมื่อเดือนมิถุนายน 2567 ยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ร้อยละ 6.5 ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 18 ติดต่อกัน
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ยังคงขยายตัวต่อเนื่องตามการขยายตัวของภาคการส่งออกและภาคการผลิต ขณะที่การดาเนินนโยบายการเงินตึงตัวอย่างต่อเนื่องส่งผลให้การอุปโภคบริโภคภายในประเทศชะลอตัวลง17 โดยเศรษฐกิจเกาหลีใต้ เศรษฐกิจไต้หวัน และเศรษฐกิจสิงคโปร์ ขยายตัวร้อยละ 2.3 ร้อยละ 5.1 และร้อยละ 2.9 เทียบกับร้อยละ 3.3 ร้อยละ 6.6 และร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงขยายตัวร้อยละ 3.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการลงทุนภาคเอกชน สาหรับอัตราเงินเฟ้อลดลงอย่างต่อเนื่องตามการลดลงของราคาอาหารและพลังงาน แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายของนโยบายการเงิน18 ส่งผลให้ธนาคารกลางของแต่ละประเทศยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูงต่อเนื่อง
เศรษฐกิจประเทศกลุ่มอาเซียน ขยายตัวต่อเนื่องตามการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการฟื้นตัวของการส่งออกสินค้า โดยเศรษฐกิจมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนามขยายตัว ร้อยละ 5.9 ร้อยละ 6.3 และร้อยละ 6.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.2 ร้อยละ 5.8 และร้อยละ 5.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ส่วนเศรษฐกิจอินโดนีเซียขยายตัวร้อยละ 5.0 เทียบกับร้อยละ 5.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับมูลค่าการส่งออกสินค้าของอินโดนีเซียและมาเลเซียที่กลับมาขยายตัวร้อยละ 1.9 และร้อยละ 1.2 จากการลดลงร้อยละ 7.1 และร้อยละ 5.2 ในไตรมาสก่อน ตามลาดับ ขณะที่การส่งออกของเวียดนามขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 12.2 เทียบกับร้อยละ 16.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และอัตราเงินเฟ้อของประเทศส่วนใหญ่ ปรับลดลงสู่ระดับเป้าหมายนโยบายการเงิน 19 อย่างไรก็ตามธนาคารกลางของแต่ละประเทศยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูง อย่างต่อเนื่อง ยกเว้นธนาคารกลางอินโดนีเซียในการประชุมเมื่อวันที่ 23-24 เมษายน 2567 ได้มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 เป็นร้อยละ 6.25 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบรรเทาปัญหาอัตราแลกเปลี่ยนอ่อนค่า หลังจากค่าเงินรูเปียห์อ่อนค่าสูงสุดในรอบ 4 ปีเมื่อเทียบกับ เงินดอลลาร์ สรอ.
14 นโยบายที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) การจัดตั้งกองทุนมูลค่า 3 แสนล้านหยวน ให้กับสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อให้กับรัฐวิสาหกิจท้องถิ่นในการซื้อ ที่อยู่อาศัยที่ขายไม่ออกเพื่อนามาพัฒนาต่อเป็นโครงการที่อยู่อาศัยราคาประหยัด (2) การยกเลิกอัตราขั้นต่าสาหรับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่อยู่อาศัย (Mortgage Interest Rates) (3) การปรับลดอัตราส่วนเงินดาวน์ขั้นต่า (The Minimum Down Payment Ratio)สาหรับผู้ซื้อบ้านหลังแรกจากร้อยละ 20 มาอยู่ที่ร้อยละ 15 และบ้านหลังที่สองจากร้อยละ 40 มาอยู่ที่ร้อยละ 25
15 ธนาคารกลางจีน เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2567 ได้คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี Loan Prime Rate (LPR) ระยะเวลา 1 ปี และระยะเวลา 5 ปี ไว้ที่ร้อยละ 3.45 และร้อยละ 3.95 ต่อไป ตามลาดับ
16 ธนาคารกลางอินเดียกาหนดเป้าหมายนโยบายการเงินระยะปานกลางสาหรับปีงบประมาณ 2567 ที่ร้อยละ 4.0 โดยมีกรอบการเคลื่อนไหวไม่เกินร้อยละ 2.0 จากค่ากลาง
17 โดยดัชนีการค้าปลีกในไตรมาสที่ 2 ของฮ่องกง และเกาหลีใต้ลดลงร้อยละ 12.0 และร้อยละ 0.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.3 และการขยายตัวร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่ดัชนีการค้าปลีกของไต้หวัน และสิงคโปร์ขยายตัวร้อยละ 0.8 และร้อยละ 0.2 ชะลอลงจากร้อยละ 1.8 และร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า
18 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยในไตรมาสที่สองของปี 2567 ของเกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง และสิงคโปร์ อยู่ที่ระดับร้อยละ 2.7 ร้อยละ 2.2 ร้อยละ 1.3 และร้อยละ 2.8 ชะลอลงจากร้อยละ 3.0 ร้อยละ 2.3 ร้อยละ 1.9 และร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ
19 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยในไตรมาสที่สองปี 2567 ของประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนามอยู่ที่ร้อยละ 2.8 ร้อยละ 1.9 ร้อยละ 3.8 และ ร้อยละ 4.4 เทียบกับร้อยละ 2.8 ร้อยละ 1.7 ร้อยละ 3.3 และร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
33
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจโลกในปี 2567 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตามการฟื้นตัวของภาคการผลิตอุตสาหกรรมประกอบกับการฟื้นตัวของการค้าโลกและวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกสินค้าของประเทศต่าง ๆ กลับมาขยายตัวในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาและเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่ สาหรับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อมีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามลาดับ (Disinflation) ตามการผ่อนคลายความตึงตัวของตลาดแรงงาน และการลดลงของระดับราคาพลังงานและราคาสินค้า อย่างไรก็ดีอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของประเทศสาคัญยังมีแนวโน้มที่จะลดลงอย่างล่าช้า ส่งผลให้ธนาคารกลางเศรษฐกิจหลักส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะผ่อนคลายนโยบายการเงินอย่างค่อยเป็นค่อยไปเพื่อรักษาสมดุลระหว่างการลดแรงกดดันของอัตราเงินเฟ้อและการรักษาการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ขณะที่ธนาคารกลางญี่ปุ่นปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ส่วน ธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจกาลังพัฒนาและตลาดเกิดใหม่ยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและเงินลงทุนระหว่างประเทศ จากการเปลี่ยนทิศทางนโยบายการเงินของธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลัก
ทั้งนี้ ภายใต้สมมติฐานกรณีฐานคาดว่าความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โดยเฉพาะในตะวันออกกลางและมาตรการกีดกันทางการค้า จะไม่ยกระดับ ความรุนแรงส่งผลยืดเยื้อจนนาไปสู่ความชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน จนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การค้าและระบบการเงินโลกอย่างมีนัยสาคัญ รวมทั้งไม่ส่งผลต่อระดับราคาพลังงานและสร้างแรงกดดันต่ออัตราเงินเฟ้อจนส่งผลให้ธนาคารกลางสาคัญมีความจาเป็นต้องดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดยาวนานกว่าที่คาดการณ์ ภายใต้สมมติฐานดังกล่าวคาดว่าเศรษฐกิจโลกในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.9 ใกล้เคียงกับ ร้อยละ 3.1 ในปี 2566 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน สาหรับปริมาณการค้าโลกในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 เท่ากับสมมติฐาน ในการประมาณการในครั้งที่ผ่านมา และฟื้นตัวจากร้อยละ 0.3 ในปี 2566 โดยมีแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศสาคัญ ๆ ดังนี้
เศรษฐกิจสหรัฐฯ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.4 ต่อเนื่องจากร้อยละ 2.5 ในปี 2566 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน ตามแรงส่งจากการฟื้นตัว ในเกณฑ์ดีของเศรษฐกิจในช่วงครึ่งแรกของปี อย่างไรก็ดี ในช่วงครึ่งหลังของปีเศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะชะลอลงตามการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศสะท้อนจากตลาดแรงงานที่อัตราการว่างงานปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น โดยอัตราการว่างงานในเดือนกรกฎาคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ 4.3 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.1 ในเดือนก่อน สูงสุดในรอบ 33 เดือน สอดคล้องกับการจ้างงานนอกภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้นเพียง 1.44 แสนตาแหน่ง เทียบกับ 1.79 แสนตาแหน่งในเดือนก่อนหน้า และเฉลี่ย 2.15 แสนตาแหน่งในช่วงปีที่ผ่านมา เช่นเดียวกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อทั้งภาคอุตสาหกรรมและ ภาคบริการที่ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 49.6 และ 55.0 จากระดับ 51.6 และ 55.3 ในเดือนก่อนหน้า ขณะที่ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนกรกฎาคมอยู่ที่ร้อยละ 2.9 ต่าสุดนับตั้งแต่มีนาคม 2564 ทั้งนี้ การชะลอตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจรวมถึงแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ลดลงส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ มีแนวโน้มที่จะปรับลดดอกเบี้ยนโยบายลงในการประชุมครั้งต่อไปในช่วงเดือนกันยายน 256720 ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลงเพื่อรอความชัดเจนจากนโยบายภายหลังการเลือกตั้งประธานาธิบดีในช่วงปลายปี 256721
20 ทั้งนี้ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC) เมื่อวันที่ 30 - 31 กรกฎาคม 2567 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยอยู่ที่ช่วงร้อยละ 5.25-5.50 ซึ่งเป็นการคงอัตราดอกเบี้ย 8 ครั้งติดต่อกัน นับตั้งแต่การประชุมในเดือนมิถุนายน 2566 แต่ยังเป็นระดับสูงที่สุดในรอบ 22 ปี นอกจากนี้ FOMC ยังได้มีมติให้ ธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับการดาเนินมาตรการเพื่อลดขนาดงบดุล (Quantitative Tightening) อย่างต่อเนื่อง
21 รายละเอียดใน Box: แนวโน้มนโยบายหลังการเลือกตั้งของสหรัฐฯ ปี 2567
4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2567
การขยายตัวของเศรษฐกิจ และการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกสินค้าของประเทศต่าง ๆ
(%YoY)
GDP
มูลค่าการส่งออกสินค้า
2564
2565
2566
2567
2564
2565
2566
2567
ทั้งปี
ทั้งปี
Q4
ทั้งปี
Q1
Q2
ทั้งปี
ทั้งปี
Q4
ทั้งปี
Q1
Q2
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
สหรัฐฯ
5.8
1.9
3.1
2.5
2.9
3.1
23.0
18.7
-1.4
-2.1
-0.2
3.8
4.6
3.1
3.6
ยูโรโซน
6.0
3.5
0.2
0.5
0.5
0.6
18.1
5.1
0.4
2.0
-1.9
0.4
11.0
-1.4
-6.9
สหราชอาณาจักร
8.7
4.3
-0.2
0.1
0.3
0.9
15.8
10.8
-1.7
4.4
2.0
-0.3
-1.5
-0.8
1.4
ออสเตรเลีย
5.5
3.9
1.4
2.0
1.2
37.0
19.9
-10.1
-9.8
-12.9
-8.2
-9.4
-9.7
-5.5
ญี่ปุ่น
2.7
1.2
0.9
1.7
-0.9
-0.8
17.9
-1.2
-0.7
-4.0
-3.0
-4.2
-6.1
-0.2
-5.7
จีน
8.4
3.0
5.2
5.2
5.3
4.7
29.6
5.6
-1.3
-4.7
1.3
5.8
1.3
7.6
8.6
อินเดีย
9.4
6.5
8.6
7.7
7.8
43.0
14.6
1.0
-4.8
4.9
6.0
2.0
13.4
2.6
เกาหลีใต้
4.6
2.7
2.1
1.4
3.3
2.3
25.7
6.1
5.7
-7.5
8.1
10.1
13.6
11.5
5.6
ไต้หวัน
6.6
2.6
4.8
1.3
6.6
5.1
29.3
7.4
3.3
-9.8
12.9
9.9
4.3
3.4
23.4
ฮ่องกง
6.5
-3.7
4.3
3.3
2.8
3.3
26.0
-9.3
6.6
-7.8
12.2
12.8
12.2
15.1
11.0
สิงคโปร์
9.7
3.8
2.2
1.1
3.0
2.9
22.1
12.7
3.0
-7.7
3.9
6.5
11.2
11.0
-2.4
อินโดนีเซีย
3.7
5.3
5.0
5.0
5.1
5.0
41.9
26.0
-8.3
-11.3
-7.1
1.9
1.7
2.8
1.2
มาเลเซีย
3.3
8.9
2.9
3.6
4.2
5.9
27.5
17.6
-9.4
-11.1
-5.2
1.2
1.2
2.5
-0.0
ฟิลิปปินส์
5.7
7.6
5.5
5.5
5.8
6.3
14.5
6.5
-10.6
-7.5
6.2
0.0
27.9
-3.1
-17.3
เวียดนาม
2.6
8.1
6.7
5.0
5.9
6.9
18.9
10.6
7.1
-4.6
16.7
12.2
10.2
13.9
12.4
ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช.
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
34
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจยูโรโซน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.6 ในปี 2567 เท่ากับประมาณการครั้งก่อน เทียบกับร้อยละ 0.5 ในปี 2566 โดยเศรษฐกิจมีแนวโน้ม ที่จะฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ตามการฟื้นตัวของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนที่ได้แรงสนับสนุนจากรายได้ที่แท้จริงของแรงงานที่เพิ่มสูงขึ้น สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง โดยในเดือนกรกฎาคม 2567 อยู่ที่ระดับ (-13.0) สูงสุดในรอบ 29 เดือน เช่นเดียวกับการลงทุนภาคเอกชนที่คาดว่าจะปรับตัวดีขึ้นตามแนวโน้มการผ่อนคลายนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป22 หลังจากแรงกดดันด้านเงินเฟ้อรวมถึงระดับราคาพลังงานปรับลดลง อย่างไรก็ตาม ภาคการผลิตอุตสาหกรรมยังคงฟื้นตัวได้อย่างล่าช้าอันเนื่องมาจากการส่งออกสินค้าที่ยังชะลอตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งออกไปยังจีนซึ่งได้รับผลกระทบจากมาตรการทางการค้า ส่งผลให้ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในเดือนกรกฎาคม 2567 อยู่ที่ 45.8 ซึ่งเป็นการอยู่ในระดับต่ากว่า 50 เป็นเดือนที่ 25 ติอต่อกัน อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจยูโรโซนยังมีแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายภาคการคลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรอบงบประมาณรายจ่ายระยะยาว (Multiannual Financial Frameworks: MFF) ในช่วงปี 2564 - 2570 วงเงิน 1.216 ล้านล้านยูโร และงบประมาณเพิ่มเติมจากแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU วงเงิน 8.069 แสนล้านยูโร23 รวมถึงงบประมาณสาหรับโครงการเพื่อกระตุ้นการลงทุน (InvestEU)24 ซึ่งมีวงเงินงบประมาณลงทุนกว่า 2.62 หมื่นล้านยูโร
เศรษฐกิจญี่ปุ่น ในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.4 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 1.7 ในปี 2566 และเป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 0.8 ในการประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากภาวะชะงักงันในภาคการผลิตอันเนื่องมาจากปัญหาในอุตสาหกรรมรถยนต์ในช่วงครึ่งปีแรก อีกทั้งข้อจากัดจาก การดาเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดมากขึ้นของธนาคารกลางญี่ปุ่นเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง25 อย่างไรก็ดี ในช่วงครึ่งหลังของปี คาดว่าเศรษฐกิจจะปรับตัวดีขึ้นโดยมีปัจจัยสนับสนุนหลักมาจากการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการในเดือนกรกฎาคมที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 53.7 จากระดับ 49.4 ในเดือนก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของฐานรายได้ เนื่องจากการปรับเพิ่มของค่าตอบแทนแรงงานสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์จากการต่อรองค่าจ้างประจาฤดูใบไม้ผลิที่ส่งผลให้ค่าจ้างที่แท้จริงในเดือนมิถุนายนกลับมาเป็นบวกครั้งแรกในรอบ 27 เดือน ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนและการส่งออกคาดว่าจะฟื้นตัวจากภาวะชะงักงันในภาคการผลิต ประกอบกับการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ในระดับโลก ขณะที่อัตราแลกเปลี่ยนปรับตัวแข็งค่าขึ้นภายหลังจากการปรับขึ้น อัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางญี่ปุ่น26
เศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.7 ในปี 2567 ชะลอลงจากร้อยละ 5.2 ในปี 2566 ปรับเพิ่มขึ้นจากการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 4.5 โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวดีกว่าที่คาดการณ์ของเศรษฐกิจในช่วงครึ่งแรกของปี อย่างไรก็ตามคาดว่าเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มชะลอตัวตามการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุนอันเนื่องมาจากข้อจากัดจากปัญหาหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์ อีกทั้งผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้าจากประเทศเศรษฐกิจหลักเพื่อตอบโต้การดาเนินนโยบายสนับสนุนอุตสาหกรรมของจีน27 ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกสินค้าในเดือนกรกฎาคม 2567 ขยายตัวร้อยละ 7.0 ชะลอลงจากร้อยละ 8.6 ในเดือนก่อนหน้า เช่นเดียวกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมและดัชนียอดคาสั่งซื้อใหม่ภาคอุตสาหกรรมในเดือนกรกฎาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 49.8 และระดับ 49.3 ลดลงจากระดับ 51.8 และระดับ 49.5 ในเดือนก่อนหน้า ตามลาดับ นอกจากนี้ เศรษฐกิจจีนยังมีข้อจากัดจากภาระหนี้สินของภาครัฐบาล โดยเฉพาะรัฐบาลท้องถิ่นที่อยู่ในระดับสูงซึ่งเป็นข้อจากัดในการดาเนินนโยบายทางการคลังเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ และจะส่งผลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะการแก้ปัญหาในภาคอสังหาริมทรัพย์ ภายใต้แนวโน้มดังกล่าวส่งผลให้ธนาคารกลางจีนมีแนวโน้มที่จะดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายเพื่อเพิ่มสภาพคล่องและสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคและภาคธุรกิจต่อไป28
22 ธนาคารกลางยุโรปได้มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 ในเดือนมิถุนายน 2567 ซึ่งเป็นการปรับลดครั้งแรกนับตั้งแต่เดือนมีนาคม 2559 อย่างไรก็ตาม ในการประชุมเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2567 ธนาคารกลางยุโรป (ECB) ได้มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนกรกฎาคม 2567 ที่ร้อยละ 2.6 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.5 ในเดือนก่อนหน้า เช่นเดียวกับอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานที่ร้อยละ 2.9 เท่ากับเดือนก่อนหน้า ส่งผลให้ธนาคารกลางยุโรปยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงต่อไป จนกว่าอัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มที่จะปรับลดลงสู่เป้าหมายเงินเฟ้อระยะปานกลางที่ร้อยละ 2.0
23 ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2567 มีการอนุมัติการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการอุดหนุนและกู้ยืมไปแล้ว 1.66 แสนล้านยูโร และ 8.67 หมื่นล้านยูโร ตามลาดับ ซึ่งคิดเป็นการเบิกจ่ายรวมกันทั้งสิ้น 2.53 แสนล้านยูโร
24 InvestEU เป็นโครงการกระตุ้นการลงทุนในช่วงที่อัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในระดับสูง ด้วยวงเงินลงทุนกว่า 2.62 หมื่นล้านยูโร และคาดว่าจะกระตุ้นให้เกิดการลงทุนเพิ่มขึ้นไม่ต่ากว่า 3.72 แสนล้านยูโร
25 คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น (Bank of Japan: BOJ) ในการประชุมเมื่อวันที่ 30 ? 31 กรกฎาคม 2567 มีมติเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย หรืออัตราดอกเบี้ยข้ามคืนแบบไม่มีสินทรัพย์ค้าประกัน (Tokyo Overnight Average Rate; TONAR) จากเดิมร้อยละ 0.0 - 0.1 เป็นร้อยละ 0.25 สูงที่สุดในรอบ 16 ปีนับตั้งแต่ปี 2551 และเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งที่ 2 ของปี 2567 นอกจากนี้ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังได้ยกเลิกมาตรการควบคุมอัตราผลตอบแทนพันธบัตรไปตั้งแต่ช่วงไตรมาสแรกของปี
26 อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 5 สิงหาคม 2567 อยู่ที่ 143.50 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการอ่อนค่าลงสูงสุด ณ วันที่ 2 กรกฎาคม 2567 ที่ 161.65 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. โดย เป็นผลมาจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่นที่ทาให้การเก็งกาไรจากอัตราผลตอบแทนที่ต่าของค่าเงินเยน (Yen Carry Trade) ลดลง กอปรกับแนวโน้มการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในระยะต่อไป
27 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2567 คณะกรรมาธิการยุโรป (The European Commission) มีมติเรียกเก็บอัตราภาษีชั่วคราวสูงสุดร้อยละ 37.6 สาหรับรถยนต์ไฟฟ้าที่นาเข้าจากจีน เพื่อตอบโต้มาตรการสนับสนุนอุตสาหกรรมไม่เป็นธรรมของรัฐบาลจีน ภายหลักจากที่สหรัฐฯ ได้ประกาศขึ้นภาษีศุลกากรจากสินค้านาเข้าจีนที่สาคัญ อาทิ เหล็กและอะลูมิเนียม โดยเพิ่มจากร้อยละ 0 ถึงร้อยละ 5 เป็นร้อยละ 25 และยานยนต์ไฟฟ้าจากร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 100 เป็นต้น โดยมีผลบังคับใช้ภายในปี 2567
28 เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2567 ธนาคารกลางจีน (PBOC) ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะกลางอายุ 1 ปีสาหรับสถาบันการเงิน (Medium-Term Lending Facility: MLF) ลงจากร้อยละ 2.50 มาอยู่ที่ร้อยละ 2.30 รวมถึงได้มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร (Reverse Repurchase Rate) ระยะเวลา 7 วันลงจากร้อยละ 1.80 เป็นร้อยละ 1.70 ซึ่งเป็นอัตราที่ต่าสุดเป็นประวัติการณ์ ต่อเนื่องจากเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2567 ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี Loan Prime Rate (LPR) ระยะเวลา 1 ปี จากร้อยละ 3.45 มาอยู่ที่ร้อยละ 3.35 และระยะเวลา 5 ปี จากร้อยละ 3.95 มาอยู่ที่ร้อยละ 3.85 เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้ระบบเศรษฐกิจต่อไป
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
35
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจอินเดีย คาดว่าจะขยายตัวได้ดีที่ร้อยละ 6.7 เทียบกับร้อยละ 7.7 ในปี 2566 ปรับเพิ่มขึ้นจากการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 6.4 โดยเป็นผลมาจากอุปสงค์ภายในประเทศ โดยมีแรงสนับสนุนจากผลผลิตภาคการเกษตรที่อยู่ในระดับสูงรวมถึงการใช้จ่ายของรัฐบาลในช่วงหลังการจัดตั้งรัฐบาล โดยเฉพาะการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่มีแนวโน้มเร่งตัวขึ้น เช่นเดียวกับการลงทุนภาคเอกชนที่มีแนวโน้มขยายตัวได้ดีตามการส่งออก โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการปรับขึ้นอันดับความน่าเชื่อถือของอินเดียในช่วงเดือนพฤษภาคม 256729 ขณะที่ธนาคารกลางอินเดียยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังอยู่สูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงิน30
เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ส่วนใหญ่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวในเกณฑ์ต่าของปีก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนมาจากการฟื้นตัวของภาคการผลิตและการส่งออกตามการปรับตัวดีขึ้นของการค้าโลกและวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ขณะที่การอุปโภคบริโภคภายในประเทศปรับตัวดีขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของอัตราค่าจ้างที่แท้จริงรวมถึงแนวโน้มการผ่อนคลายนโยบายการเงินตามการลดลงของ แรงกดดันเงินเฟ้อ ทั้งนี้ คาดว่าในปี 2567 เศรษฐกิจเกาหลีใต้ และสิงคโปร์ จะขยายตัวร้อยละ 2.4 และร้อยละ 2.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.4 และ ร้อยละ 1.1 ในปีก่อนหน้า เท่ากับประมาณการครั้งก่อน ส่วนเศรษฐกิจไต้หวันมีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 3.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.3 ในปีก่อนหน้า โดยเป็นการปรับเพิ่มจากร้อยละ 3.3 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการฟื้นตัวของภาคการส่งออกและการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 ชะลอลงจากร้อยละ 3.3 ในปีก่อนหน้าที่ขยายตัวในเกณฑ์สูงภายหลังจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด
เศรษฐกิจอาเซียน มีแนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้นตามการขยายตัวของการส่งออกสินค้าสอดคล้องกับแนวโน้มการฟื้นตัวของการค้าโลกและ ภาคการท่องเที่ยว ประกอบกับการขยายตัวในเกณฑ์ดีของการบริโภคภายในประเทศตามการลดลงของแรงกดดันเงินเฟ้อ โดยในปี 2567 เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนามมีแนวโน้มจะขยายตัวร้อยละ 5.0 ร้อยละ 4.2 ร้อยละ 5.8 และร้อยละ 5.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 5.0 ร้อยละ 3.6 ร้อยละ 5.5 และร้อยละ 5.0 ในปี 2566 ตามลาดับ ตามการขยายตัวดีของภาคการส่งออกสินค้าและการผลิตอุตสาหกรรม ขณะเดียวกันอัตราเงินเฟ้อของหลายประเทศส่วนใหญ่ได้กลับเข้าสู่เป้าหมายนโยบายการเงิน อย่างไรก็ตามธนาคารกลางของแต่ละประเทศส่วนใหญ่ยังคงมีมติ คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องเพื่อลดแรงกดดันจากการอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยนอันเนื่องมาจากการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงของธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลัก31
29 เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2567 บริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือ Standard and Poor?s (S&P) ได้ปรับมุมมองต่อเศรษฐกิจอินเดียจากแนวโน้มคงที่ (Stable) เป็นแนวโน้มเป็นบวก (Positive) โดยคงระดับอันดับความน่าเชื่อถือที่ BBB-/A-3 ตามการขยายตัวในเกณฑ์ดีของเศรษฐกิจ
30 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2567 ธนาคารกลางอินเดียได้มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 6.5 ต่อเนื่องนับตั้งแต่การปรับขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ 2566
31 ทั้งนี้ ธนาคารกลางอินโดนีเซียในการประชุมเมื่อวันที่ 23 - 24 เมษายน 2567 ได้มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นจากร้อยละ 6.0 เป็นร้อยละ 6.25 เพื่อลดแรงกดดันของการอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยน ขณะที่ธนาคารกลางประเทศอื่น ๆ ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูงต่อไป
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
36
NESDC
Economic Outlook
แนวโน้มนโยบายภายหลังการเลือกตั้งของสหรัฐฯ ปี 2567
สหรัฐฯ ได้กาหนดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีและสมาชิกรัฐสภาขึ้น ในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2567 โดยแนวโน้มผลการเลือกตั้ง ที่จะเกิดขึ้นในแต่ละฉากทัศน์จะมีผลต่อการกาหนดนโยบายของสหรัฐฯ อย่างมีนัยสาคัญ ไม่ว่าเป็นผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่จะมีบทบาทสาคัญในการกาหนดทิศทางการดาเนินนโยบาย รวมถึงผลการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาที่จะส่งผลต่อการผลักดันกฎหมายต่าง ๆ ของประธานาธิบดี ทั้งนี้ ในกรณีที่พรรคการเมืองเดียวกันสามารถชนะในการเลือกตั้งประธานาธิบดีและครองเสียงข้างมากในรัฐสภา (Sweep Scenario) รัฐบาลก็จะสามารถผลักดันนโยบายที่สอดคล้องกับนโยบายของพรรคได้อย่างเต็มที่ซึ่งทั้งสองพรรคต่างก็มีแนวทางการดาเนินนโยบายที่แตกต่างกันอย่างมาก ขณะที่หากประธานาธิบดีและเสียงข้างมากในรัฐสภามาจากคนละพรรคการเมือง (Divided Scenario) แนวโน้มนโยบายจะเป็นการประนีประนอมระหว่างทั้งสองฝ่ายมากขึ้น โดยมีรายละเอียดแนวโน้มนโยบายที่สาคัญของแต่ละฉากทัศน์ ดังนี้
แนวโน้มนโยบายสหรัฐฯ ภายหลังการเลือกตั้ง ปี 2567
ประธานาธิบดี/รัฐสภา
Democrat/Democrat
Democrat/Republican
Republican/Democrat
Republican/Republican
การค้า ระหว่างประเทศ
ดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้า กับจีนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการเก็บภาษีนาเข้าสินค้าจากจีน โดยเฉพาะ EV
ดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้ากับจีนต่อเนื่อง
ดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้ากับจีน แต่จะไม่ขยายกรอบการเพิ่มภาษีให้ครอบคลุมสินค้าทุกประเภท
ดาเนินมาตรการทางการค้าต่อจีนจะมีความเข้มข้น โดยอาจนาไปสู่การขึ้นอัตราภาษีนาเข้าจากจีนเป็นร้อยละ 60 และร้อยละ 10 สาหรับประเทศอื่น ๆ
ภาษี
ปรับขึ้นอัตราภาษีสาหรับบุคคล ผู้มีรายได้สูง และภาษีซื้อคืนหุ้น ลดอัตราภาษีสาหรับผู้มีรายได้น้อย
มีแนวโน้มที่จะไม่สามารถปรับขึ้นภาษีสาหรับผู้มีรายได้สูงได้
ต่ออายุมาตรการลดหย่อนภาษี จะมีการปรับลดในบางส่วน
ต่ออายุการลดหย่อนภาษีที่ดาเนินการมาตั้งแต่ปี 2560
อุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม
สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านสู่อุตสาหกรรมสีเขียว ลดการใช้พลังงานจากฟอสซิล และดาเนินนโยบายให้บรรลุเป้าหมายตาม COP28 โดยเฉพาะโครงการ จากงบประมาณใน Inflation Reduction Act
ดาเนินมาตรการตามเดิม โดยยังคงให้เงินสนับสนุนและเครดิตภาษี
สนับสนุนแนวนโยบาย 4 Years Reshoring Plan ไม่สนับสนุนนโยบาย EV และพลังงานทดแทน
ปรับแก้กฎหมายและกฎระเบียบให้เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจ สนับสนุนการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ลดบทบาทของกฎหมาย Inflation Reduction Act และยกเลิกเครดิตภาษีคาร์บอน
ผู้อพยพและแรงงานต่างชาติ
ลดข้อจากัดในการอนุญาตให้ ผู้อพยพเข้ามาทางานในประเทศอย่างถูกกฎหมาย
ดาเนินการตามเดิม
เข้มงวดขึ้นสาหรับการอนุญาตแรงงานต่างชาติ
งดการให้สิทธิการเป็นสัญชาติ อเมริกันสาหรับเด็กที่เกิดในประเทศ แต่บุพการีไม่มีใบแจ้ง การอพยพถิ่นฐาน
สวัสดิการสังคม
เพิ่มความเข้มงวดในการครอบครองอาวุธปืน เพิ่มงบประมาณสนับสนุนด้านสาธารณสุข (OBAMACARE) รวมถึงการส่งเสริมสิทธิการทาแท้งของสตรี
ดาเนินการตามเดิม และให้ความสาคัญกับสิทธิประโยชน์ ด้านแรงงาน
ดาเนินการตามเดิม แต่ให้แต่ละมลรัฐเท่านั้นที่จะสามารถกาหนดกฎหมายการทาแท้ง
ปรับปรุง/ยกเลิก the Affordable Care Act โดยเพิ่มสัดส่วนค่าใช้จ่ายของประชาชน และให้แต่ละมลรัฐเป็นผู้กาหนดกฎหมายการทาแท้ง อีกทั้งสนับสนุนสิทธิในการถือครองปืนอย่างทั่วถึง
การเมือง ระหว่างประเทศ
สนับสนุนความร่วมมือแบบพหุภาคี อีกทั้งยังให้ความสนับสนุนยูเครนและอิสราเอลต่อเนื่อง
จุดยืนระหว่างประเทศไม่เปลี่ยนแปลง การให้ความช่วยเหลือด้านการทหารและงบประมาณต่อยูเครนจะมีอย่างจากัดมากขึ้น
เปลี่ยนแปลงจุดยืนระหว่างประเทศโดยมุ่งเน้นความร่วมมือแบบทวิภาคี ขณะที่ความช่วยเหลือต่อยูเครนจะมีอย่างจากัด
ยกเลิกความช่วยเหลือแก่ยูเครน แต่ยังให้การสนับสนุนอิสราเอล และมีจุดยืนที่ไม่สนับสนุน NATO
ที่มา: รวบรวมโดย สศช. ณ วันที่ 14 สิงหาคม 2567
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
37
NESDC
Economic Outlook
เศรษฐกิจไทยในปี 2567 มีแนวโน้มที่ปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและภาคบริการ ที่เกี่ยวเนื่อง การขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่องของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน การเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐในช่วงครึ่งหลังของปีงบประมาณ 2567 และการกลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ ของการส่งออกสินค้าตามการฟื้นตัวของการค้าโลก อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยยังมีความเสี่ยงและข้อจากัดที่สาคัญซึ่งอาจทาให้เศรษฐกิจขยายตัวต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ในกรณีฐาน ได้แก่ ภาระหนี้สินภาคครัวเรือนและธุรกิจที่อยู่ในระดับสูง ความเสี่ยงจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ และความผันผวนของสถานการณ์เศรษฐกิจและการเงินโลก
5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2567
ปัจจัยสนับสนุน
1) การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว สอดคล้องกับ (1) แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่คาดว่าจะกลับเข้าสู่ระดับปกติมากขึ้น สะท้อนจากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2567 มีจานวนทั้งสิ้น 20.6 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยพบว่าจานวนนักท่องเที่ยวจากประเทศต้นทางส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นใกล้เคียงกับช่วงก่อนการแพร่ระบาดของ โควิด-1932 เช่นเดียวกับแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยในช่วงไตรมาสที่ 2 รายจ่ายของนักท่องเที่ยวต่างชาติ อยู่ที่เฉลี่ย 40,853 บาทต่อคนต่อทริป สูงขึ้นจากเฉลี่ย 39,625 บาทต่อคนต่อทริปในช่วงไตรมาสแรก ทั้งนี้ คาดว่าในช่วงครึ่งหลังของปี นักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งในเชิงจานวนและรายรับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องโดยเฉพาะในไตรมาสสุดท้ายซึ่งเป็นช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว รวมทั้งปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการเพิ่มขึ้นของเที่ยวบิน33 แนวโน้มการฟื้นตัวของการเดินทางท่องเที่ยวโลก และการดาเนินมาตรการดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ มาตรการยกเว้นการตรวจลงตราให้แก่กลุ่มนักท่องเที่ยวในหลายประเทศ34 โดยเฉพาะวีซ่าให้แก่นักท่องเที่ยวจากประเทศจีนแบบถาวร ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 256735 รวมทั้งมาตรการ Visa on Arrival36 ที่ให้สิทธิกับนักท่องเที่ยวหลายประเทศมากขึ้น อาทิ อินเดีย และไต้หวัน และ (2) แนวโน้มการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของนักท่องเที่ยวชาวไทย ซึ่งได้รับแรงสนับสนุนจากมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวระยะเร่งด่วน (Quick Win)37 รวมทั้งมาตรการทางภาษีเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวในช่วงนอกฤดูกาล38 ที่จะช่วยสนับสนุนการท่องเที่ยวในเมืองรองมากขึ้น ทั้งนี้ การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวดังกล่าวส่งผลให้ภาคบริการที่เกี่ยวเนื่อง อาทิ ภาคการขนส่ง และภาคการค้า มีแนวโน้มขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง
2) การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้จ่ายในหมวดบริการและสินค้าไม่คงทน สอดคล้องกับการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อสถานการณ์เศรษฐกิจที่อยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง โดยในเดือนกรกฎาคม อยู่ที่ 57.7 เทียบกับ 55.6 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และสูงกว่า 50.0 เป็นเดือนที่ 19 ติดต่อกัน ขณะเดียวกัน ตลาดแรงงานยังคงอยู่ในเกณฑ์ดี สะท้อนจากการเพิ่มขึ้นของการจ้างงานนอกภาคเกษตร โดยเฉพาะภาคการผลิตและภาคกิจกรรมโรงแรมและการบริการด้านอาหาร รวมทั้งอัตราการว่างงานและสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานที่ยังคงอยู่ในระดับต่า ประกอบกับแนวโน้ม การเพิ่มขึ้นของรายได้ทั้งรายได้ภาคเกษตรตามการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรในพืชผลหลัก และการเพิ่มขึ้นของรายได้นอกภาคเกษตรโดยเฉพาะในภาคการท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง
3) การเพิ่มขึ้นของขับเคลื่อนจากการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐในช่วงครึ่งปีหลัง โดยเป็นผลมาจากการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ภายหลังจากพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 มีผลบังคับใช้ส่งผลให้การเบิกจ่ายงบประมาณโดยเฉพาะรายจ่ายลงทุนเร่งตัวขึ้น โดยในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 มีอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรวมที่ร้อยละ 69.5 ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด แบ่งเป็น รายจ่ายประจาร้อยละ 78.1 และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 36.7 ทั้งนี้ หากรวมงบประมาณในโครงการที่มีการลงนามผูกพันสัญญา (PO) พบว่าอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนจะเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 59.4 ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด นอกจากนี้ คาดว่าเศรษฐกิจในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปียังมีแนวโน้มที่จะได้รับแรงสนับสนุนเพิ่มเติมจากการเบิกจ่าย
32 นักท่องเที่ยวในครึ่งปีแรกของปี 2567 จากประเทศมาเลเซีย รัสเซีย เกาหลีใต้ และอินเดีย อยู่ที่ 2.43 ล้านคน 0.92 ล้านคน 0.93 ล้านคน และ 1.04 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 126.2 ร้อยละ 111.5 ร้อยละ 103.0 และร้อยละ 106.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 ซึ่งเป็นช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโควิด-19 ตามลาดับ
33 จานวนเที่ยวบินขาเข้าจากต่างประเทศในไตรมาสที่สองของสนามบินสุวรรณภูมิ สนามบินดอนเมือง และสนามบินภูเก็ต อยู่ที่ 66,148 เที่ยวบิน 21,524 เที่ยวบิน และ 12,968 เที่ยวบิน คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.9 ร้อยละ 9.8 และร้อยละ 30.3 จากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว ตามลาดับ อย่างไรก็ดี จานวนเที่ยวบินต่างชาติของสนามบินเชียงใหม่อยู่ที่ 3,523 เที่ยวบิน คิดเป็นการลดลงร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว
34 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2567 เห็นชอบให้มีการกาหนดรายชื่อประเทศ/ดินแดนที่ได้รับสิทธิยกเว้นการตรวจลงตราสามารถพานักในประเทศไทยได้ไม่เกิน 60 วัน (ผ.60) ทั้งสิ้น 93 ประเทศ/ดินแดน ประกอบด้วยประเทศสาคัญซึ่งเพิ่มเข้ามาใหม่ ได้แก่ อินเดีย จีน ไต้หวัน และรัสเซีย
35 ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2567 นักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามายังประเทศไทยทั้งสิ้น 3,439,482 คน เพิ่มขึ้นจากครึ่งปีแรกของปี 2566 ร้อยละ 138.34
36 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2567 เห็นชอบให้ดาเนินมาตรการให้สิทธิ Visa on Arrival ทั้งสิ้น 39 ประเทศ ประกอบด้วยประเทศสาคัญ ได้แก่ จีน รัสเซีย และไต้หวัน
37 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้ดาเนินมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวระยะเร่งด่วน (Quick Win) เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวภายในประเทศ ซึ่งจะดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ 2567 จานวน 9 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการการทาตลาดการท่องเที่ยวแพลตฟอร์มออนไลน์ โดยร่วมมือกับ Online travel agencies ระดับโลก (2) โครงการ Amazing Thailand Passport Privileges (3) โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดด้วยการจัดกิจกรรมบนอัตลักษณ์ถิ่น ?มหกรรมเสน่ห์ไทย? โดยจัดกิจกรรมใน 5 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี นครศรีธรรมราช และกาญจนบุรี (4) โครงการ Amazing Thailand 365 วัน มหัศจรรย์เมืองน่าเที่ยว (5) โครงการ Amazing Thailand Passion Ambassador (6) โครงการเที่ยวกับบัสทัวร์ทั่วไทย 2567 (7) โครงการ ททท. 999 ไทยเที่ยวไทย Tourism Department Store งานไทยเที่ยวไทย (8) โครงการ Amazing Green Fest 2024 และ (9) มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองน่าเที่ยว ทั้งนี้ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาคาดว่าจะสามารถสร้างรายได้ทั้งสิ้น 17,000 ล้านบาท
38 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2567 เห็นชอบมาตรการทางภาษีกระตุ้นการท่องเที่ยวในเมืองรองช่วงนอกฤดูท่องเที่ยว (Low Season) โดยบุคคลธรรมดาสามารถ นาค่าบริการที่จ่ายให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจนาเที่ยว หรือที่ได้จ่ายเป็นค่าที่พัก สาหรับการเดินทางท่องเที่ยวในจังหวัดเมืองรองได้ตามที่จ่ายจริง ไม่เกิน 15,000 บาท หักลดหย่อนภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 30 พฤศจิกายน 2567
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
38
NESDC
Economic Outlook
ภายใต้กรอบงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2568 วงเงิน 3.75 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.8 จากปีงบประมาณก่อนหน้า ภายใต้สมมติฐานในกรณีฐานที่กระบวนการจัดทางบประมาณจะสามารถดาเนินการจัดทาได้ตามกรอบเวลาปกติ39
4) การกลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ ของภาคการส่งออกตามการฟื้นตัวของการค้าโลก สอดคล้องกับการฟื้นตัวของดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ ทั้งภาคการผลิตและบริการในหลายประเทศ เช่นเดียวกับยอดคาสั่งซื้อในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลักที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา รวมทั้งแนวโน้มวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นสัญญาณสะท้อนถึงทิศทางการเพิ่มขึ้นของยอดขายสินค้าอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ ในกลุ่มสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าในระยะต่อไป แนวโน้มดังกล่าวคาดว่าจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้การส่งออกและการผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทยกลับมาขยายตัวได้ดีขึ้นอย่างช้า ๆ และสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวมได้มากขึ้น
39 คาดว่าในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2568 (ตุลาคมถึงธันวาคม 2567) จะมีงบประมาณเบิกจ่ายได้รวม 9.88 แสนล้านบาท คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 26.3 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 จากช่วงเดียวกันในปีงบประมาณก่อนหน้า รวมทั้งการเบิกจ่ายงบเหลื่อมปี 2568 ประมาณ 1.15 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจเพื่อรักษาแรงขับเคลื่อนของการลงทุนภาครัฐ
การเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจโครงการสาคัญ จานวน 14 โครงการ มีแผนการลงทุนรวม 78,042 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.5 ของกรอบงบลงทุนรัฐวิสาหกิจปี 2567 โดยใน 9 เดือนแรกของปี 2567 มีผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของโครงการสาคัญ จานวน 48,693.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 62.4 ของแผนการเบิกจ่าย ทั้งนี้ โครงการลงทุนสาคัญที่เบิกจ่ายได้สูงกว่าแผนการเบิกจ่าย ได้แก่ โครงการรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน โครงการลงทุนที่เบิกจ่ายได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 จานวน 6 โครงการ ได้แก่ โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง (ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ) โครงการพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกฯ โครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลักฯ โครงการพัฒนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการ โซน C โครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3 และโครงการก่อสร้างโรงงานผลิตยารังสิต ระยะที่ 2 โครงการลงทุนที่เบิกจ่ายได้ต่ากว่าร้อยละ 50 จานวน 7 โครงการ ได้แก่ โครงการพัฒนาระบบส่งและจาหน่าย ระยะที่ 2 โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ (ช่วงลพบุรี-ปากน้าโพ) แผนปรับปรุงและขยายระบบจาหน่ายพลังไฟฟ้าฯ โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าฯ โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือฯ โครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายฯ โครงการก่อสร้างสวนสัตว์แห่งใหม่
ดังนั้น การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ และการบริหารจัดการเร่งรัดการดาเนินการโครงการลงทุนของรัฐวิสาหกิจให้สามารถ ก่อหนี้และเบิกจ่ายงบลงทุนได้โดยเร็วจะเป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในช่วงที่เหลือของปี 2567 อีกทั้งจะมีส่วนสาคัญต่อการรักษาแรงขับเคลื่อนของการลงทุนภาครัฐเพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้ต่อเนื่องในปี 2568
02,0004,0006,0008,00010,00012,00014,00016,00018,000โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตยารังสิตระยะที่สองโครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3โครงการก่อสร้างสวนสัตว์แห่งใหม่ คลองหกโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายปี 2557โครงการพัฒนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการ โซน Cโครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เหนือ กลาง และ กทม.โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้า ระยะที่ 12แผนปรับปรุงและขยายระบบจาหน่ายพลังไฟฟ้าฉบับที่ 12โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี ปากน้าโพโครงการปรับปรุงกิจการการประปาแผนหลักครั้งที่ 9โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 ดาวคะนอง วงแหวนรอบนอกฯโครงการรถไฟความเร็วสูงไทย จีน (ระยะที่ 1)โครงการพัฒนาระบบส่งและจาหน่ายระยะที่ 2โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง (เตาปูน ราษฎร์บูรณะ)ผลการเบิกจ่าย 14 โครงการลงทุนสาคัญของรัฐวิสาหกิจในปี2567แผนเบิกจ่ายผลเบิกจ่ายที่มา: กองงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ สศช.หน่วย: ล้านบาท88.9%42.4%109.9%52.5%64.3%26.6%40.1%47.4%10.8%76.9%4.9%30.9%53.0%54.2%
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
39
NESDC
Economic Outlook
1) ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงและมาตรฐานสินเชื่อที่มีความเข้มงวดมากขึ้น โดยสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ในไตรมาสที่หนึ่งของปี 2567 อยู่ที่ร้อยละ 90.8 ทรงตัวจากร้อยละ 90.7 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน แต่ยังคงสูงกว่าร้อยละ 82.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ขณะที่คุณภาพสินเชื่อภาคธุรกิจยังคงอยู่ในระดับต่า โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) โดยสัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loans: NPLs) และสัดส่วนสินเชื่อจัดชั้นพิเศษ (Special Mention Loans: SMLs) ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต่อสินเชื่อรวมในไตรมาสที่หนึ่งของปี 2567 ยังคงอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 7.5 และร้อยละ 12.0 และสูงกว่าร้อยละ 4.7 และร้อยละ 3.1 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ตามลาดับ ทั้งนี้ ภายใต้คุณภาพสินเชื่อที่ลดลงส่งผลให้สถาบันการเงินเพิ่มความระมัดระวังในการให้สินเชื่อกับธุรกิจมากขึ้น อาทิ การเพิ่มเงื่อนไขประกอบสัญญาเงินกู้ การเพิ่มหลักทรัพย์ค้าประกัน เมื่อรวมกับภาระดอกเบี้ยที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลให้การขยายตัวของสินเชื่อชะลอตัวลง โดยมูลค่าสินเชื่อภาคเอกชนในไตรมาสที่ 2 ปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 1.00 ชะลอลงจากร้อยละ 1.46 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะอย่างสินเชื่อครัวเรือนที่ขยายตัวร้อยละ 1.15 ลดลงจากร้อยละ 1.99 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งถือเป็นอัตราการขยายตัวต่าสุดเป็นประวัติการณ์ ซึ่งถือเป็นข้อจากัดต่อการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ รวมทั้งก่อให้เกิดความเสี่ยง ที่จะทาให้ผู้ประกอบการและครัวเรือนที่ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบได้จาเป็นต้องพึ่งพาแหล่งเงินกู้นอกระบบธนาคารเพื่อช่วยเหลือด้านสภาพคล่อง 40
2) ผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอย่างต่อเนื่องจนส่งผลต่อผลผลิตสินค้าเกษตรและความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาอุทกภัย เนื่องจากประเทศไทยมีแนวโน้มเข้าสู่ภาวะลานีญาในช่วงที่เหลือของปี ส่งผลให้มีความเสี่ยงที่จะเผชิญภาวะฝนตกหนักผิดปกติ 41 จนนาไปสู่ปัญหาอุทกภัยในหลายพื้นที่เสี่ยงในช่วงครึ่งหลังของปีซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรกรรม และทาให้ผลผลิตทางการเกษตรมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง ขณะที่ปริมาณน้าในอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ทั่วประเทศอยู่ในระดับสูงกว่าปีก่อน42 ซึ่งหากระดับน้ากักเก็บในเขื่อนสาคัญ ๆ เพิ่มขึ้นสูงจะเป็นข้อจากัดในการบริหารจัดการน้าในช่วงปลายฤดูฝนหากมีปริมาณฝนตกมากกว่าที่คาดการณ์
3) ความเสี่ยงจากความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและการเงินโลก ที่อาจทาให้เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกขยายตัวต่ากว่าที่คาดไว้ในกรณีฐาน โดยมีเงื่อนไขความเสี่ยงที่ต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ โดยเฉพาะสถานการณ์ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง ประกอบกับความยืดเยื้อของความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ซึ่งอาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อห่วงโซ่การผลิตโลกและเศรษฐกิจโลกในภาพรวม รวมทั้งความผันผวนในตลาดการเงินโลกจาก ความกังวลของนักลงทุนในตลาดเงินโลก รวมทั้งระดับราคาพลังงาน ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ และต้นทุนการขนส่งโลจิสติกส์ (2) การเริ่มปรับ ทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก ภายหลังจากที่ธนาคารกลางคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความผันผวนของตลาดการเงินโลก รวมทั้งอัตราแลกเปลี่ยนในหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่และประเทศกาลังพัฒนาหลายประเทศที่ธนาคารกลางยังจาเป็นต้องคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูงเพื่อรักษาเสถียรภาพค่าเงินและเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังสูง (3) การชะลอตัวมากกว่าที่คาดของเศรษฐกิจจีน อันเนื่องมาจากการลงทุนภายในประเทศที่อยู่ในระดับต่า โดยเฉพาะการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์เนื่องจากปัญหาหนี้สิน ประกอบกับแนวโน้มการชะลอตัวของการอุปโภคบริโภคภายในประเทศท่ามกลางภาวะเงินฝืดและความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลง ขณะที่ตลาดแรงงานยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ และ (4) ทิศทางการดาเนินนโยบายเศรษฐกิจและการค้าของหลายประเทศสาคัญที่ยังคงไม่แน่นอน โดยเฉพาะผลการเลือกตั้งรัฐบาลใหม่ของสหรัฐฯ ซึ่งจะส่งผลต่อทิศทาง การดาเนินนโยบายกีดกันทางการค้าและการลงทุนในระยะต่อไป
40 จากข้อมูลการสารวจสถานการณ์ด้านหนี้สินของกิจการขนาดกลาง ขนาดเล็กและขนานย่อย (MSME) โดยสานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) พบว่า กลุ่มผู้ประกอบการ MSME ที่กู้ยืมเฉพาะในระบบสถาบันการเงินในไตรมาสที่ 2 ของปี 2567 อยู่ที่ร้อยละ 40.3 ของผู้ประกอบการที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด ลดลงจากร้อยละ 52.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสัดส่วนของกลุ่มผู้ประกอบขนาดเล็กลดลงจากร้อยละ 65.2 เป็นร้อยละ 47.3 สะท้อนการไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดย่อม
41 National Weather Service; climate Prediction Centre (NOAA) ในวันที่ 8 สิงหาคม 2567 คาดว่าสภาพอากาศโลกมีโอกาสร้อยละ 66 ในการเข้าสู่ภาวะลานีญาในช่วงเดือนตุลาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน 2567 และมีแนวโน้มร้อยละ 74 ที่ภาวะลานีญาจะสิ้นสุดลงในเดือนมกราคม 2568 ทั้งนี้ ปริมาณฝนตกสะสมเฉลี่ยทั่วประเทศ ในเดือนกรกฎาคม 2567 สูงกว่าค่าเฉลี่ย 30 ปี (ปี 2534 ? 2563) ร้อยละ 21 โดยกรมอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์ว่าในเดือนตุลาคม 2567 ปริมาณน้าฝนในทุกภูมิภาคของประเทศจะสูงกว่าค่าปกติร้อยละ 10 (ออกประกาศ ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2567)
42 โดยในวันที่ 7 สิงหาคม 2567 ข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการน้าอัจฉริยะ กรมชลประทาน พบว่าอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ทั่วประเทศ 35 แห่ง มีปริมาณน้าทั้งสิ้น 40,713 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 57.7 ของความจุทั้งหมด และสูงกว่าช่วงเดียวกันของปี 2566 ที่ 37,388 ล้านล้านลูกบาศก์เมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 53.0 ของ ความจุทั้งหมด
ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 19 สิงหาคม 2567 40
Economic Outlook NESDC
สถานการณ์สินค้านาเข้าจากจีน และนัยยะที่มีต่อไทย
แนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนตามการชะลอตัวของการลงทุนและการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ ส่งผลให้สินค้าคงคลังภาคอุตสาหกรรม
ของจีนยังคงอยู่ในระดับสูง และเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้ผู้ผลิตสินค้าของจีนต้องส่งออกสินค้ามายังประเทศต่าง ๆ มากขึ้น เพื่อชดเชยกับกาลังซื้อในประเทศที่
ชะลอลง ซึ่งส่งผลให้ในหลายประเทศโดยเฉพาะในภูมิภาคอาเซียนรวมทั้งประเทศไทยมีการเร่งขึ้นของมูลค่าการนาเข้าจากจีนมากกว่ามูลค่าการส่งออกไปจีน
จนส่งผลกระทบให้มีแนวโน้มการขาดดุลการค้าต่อจีนมากขึ้น
สาหรับไทย ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2567 พบว่า มูลค่าการส่งออกสินค้าจากจีนมายังไทย เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3 สอดคล้องกับข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์
ที่ไทยมีการนาเข้าจากจีน เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.1 ใน ปี 2566 เมื่อพิจารณาตารางที่ 1 จะเห็นได้ว่า
ปริมาณการส่งออกสินค้าจากจีนมายังไทยเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ขณะที่ราคาต่อหน่วยลดลง ในหลายหมวดสินค้าที่สาคัญ ได้แก่ (1) กลุ่มสินค้าวัตถุดิบขั้นกลาง อาทิ
เหล็ก โลหะ และผลิตภัณฑ์ (เช่น ผลิตภัณฑ์แผ่นรีด, และเหล็กท่อนและเหล็กเส้น เป็นต้น) สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ (เช่น เครื่องโทรศัพท์, และเครื่องประมวลผล
ข้อมูลอัตโนมัติ เป็นต้น) สินค้ากลุ่มเคมีภัณฑ์ พลาสติก และยาง (เช่น สารฆ่าแมลง, และแผ่นฟิล์ม ฟอยล์พลาสติก เป็นต้น) (2) กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค
(เช่น เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน, และของเล่น เป็นต้น) และ (3) กลุ่มสินค้าเกษตรและอาหาร (เช่น ผักแช่แข็ง, และผลไม้และถั่วแช่แข็ง เป็นต้น) นอกจากนี้
เมื่อพิจารณาตารางที่ 2 พบว่ามีบางสินค้าจากจีนที่เห็นสัญญาณการส่งออกมายังไทยมากขึ้นต่อเนื่อง โดยอัตราการขยายตัวของปริมาณการส่งออกปรับตัวเพิ่มขึ้น
และมูลค่าต่อหน่วยปรับตัวลดลงจากช่วงก่อนหน้าอย่างต่อเนื่อง อาทิ มอเตอร์ไฟฟ้าและเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฟอยล์อะลูมิเนียม เครื่องใช้ในบ้านเรือนทาด้วย
พลาสติก และเครื่องซักผ้า
9ตารางที่ 1: สนิ คา ทมี่ปริมาณการสง่ ออกจากจนี มายังไทยเพมิ่ ขนึ้ ต่อเนอื่ ง
HS Code สินค้า (สัดส่วนมูลค่าการส่งออกจากจีนมายังไทยในปี 66) ปริมาณสินค้า (%YoY) ราคาสินค้าต่อหน่วย (%YoY)
H1-66 H2-66 H1-67 H1-66 H2-66 H1-67
เหล็ก โลหะ และผลิตภัณฑ์
7210 ผลิตภัณฑ์แผ่นรีด (ร้อยละ 2.12) 11.7 50.4 15.6 -6.6 -28.0 -31.0
7227 เหล็กท่อนและเหล็กเส้นจากการรีดร้อน (ร้อยละ 0.27) 17.0 24.7 45.6 -23.0 -17.4 -11.1
7306 หลอดหรือท่อเหล็ก (ร้อยละ 0.20) 65.6 62.3 55.5 -35.4 -74.2 -60.3
7216 มุม รูปทรง และหน้าตัดเหล็ก (ร้อยละ 0.10) 96.6 153.3 39.1 -13.5 -73.4 -49.8
สินค้าอิเล็กทรอนิกส์
8517 เครื่องโทรศัพท์และชิ้นส่วน (ร้อยละ 4.80) -22.7 3.7 57.1 2.3 -4.1 -35.7
8471 เครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ (ร้อยละ 1.63) -9.7 33.8 110.5 -14.4 -34.1 -45.7
8418 ตู้เย็นและชิ้นส่วน (ร้อยละ 0.47) 18.6 27.1 22.7 -7.1 -20.0 -8.0
8525 เครื่องส่งสัญญาณวิทยุกระจายเสียง (ร้อยละ 0.27) -3.0 27.9 65.2 -2.5 -3.1 -10.5
เคมีภัณฑ์ พลาสติก และยาง
3808 สารฆ่าแมลง สัตว์ และวัชพืช (ร้อยละ 0.44) 3.8 34.6 26.6 -29.9 -38.5 -17.7
3921 แผ่นฟิล์ม ฟอยล์พลาสติก (ร้อยละ 0.18) 23.8 30.6 20.8 -30.4 -28.2 -2.2
3901 โพลิเมอร์ของเอทิลีน (ร้อยละ 0.07) 0.9 14.1 49.5 -14.3 -18.9 -9.5
สินค้าอุปโภคบริโภค
9403 เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน (ร้อยละ 1.19) 33.8 51.9 88.6 -2.6 -42.6 -32.5
9503 ของเล่น (ร้อยละ 1.09) 47.4 16.2 12.3 -14.8 -36.3 -5.8
6305 กระสอบและถุงใช้บรรจุของ (ร้อยละ 0.07) 25.3 105.3 21.6 -12.8 -45.6 -11.7
6205 เสื้อผ้าผู้ชาย (ร้อยละ 0.02) 5.6 11.6 75.0 0.2 -13.0 -19.3
สินค้าเกษตรและอาหาร
0811 ผลไม้และถั่วแช่แข็ง (ร้อยละ 0.03) 23.4 21.1 29.9 -7.8 -16.9 -17.3
0710 ผักแช่แข็ง (ร้อยละ 0.02) -16.7 55.7 94.7 1.8 -8.0 -7.8
1404 ผลิตภัณฑ์จากพืช (ร้อยละ 0.02) 84.1 33.7 50.2 -15.7 -22.1 -24.1
0
20,000
40,000
60,000
80,000
53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66
ล้านดอลลาร์ สรอ.
สถิติการค้าไทย จีน
ส่งออก นาเข้า
0
20,000
40,000
60,000
80,000
53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66
ล้านดอลลาร์ สรอ.
สถิติการค้าอินโดนีเซีย จีน
ส่งออก นาเข้า
0
20,000
40,000
60,000
80,000
53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66
ล้านดอลลาร์ สรอ.
สถิติการค้ามาเลเซีย จีน
ส่งออก นาเข้า
ที่มา: World Integrated Trade Solution
ตารางที่ 2: สินคา ส่งออกจากจนี ทมี่สัญญาณปรมิ ณการส่งออกมายังไทยมากขนึ้ (ควรเฝา ระวงั )
HS Code สินค้า (สัดส่วนมูลค่าการส่งออกจากจีนมายังไทยในปี 66) ปริมาณสินค้า (%YoY) ราคาสินค้าต่อหน่วย (%YoY)
H1-66 H2-66 H1-67 H1-66 H2-66 H1-67
8501 มอเตอร์ไฟฟ้าและเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (ร้อยละ 0.69) 11.8 -3.3 22.3 -8.3 -1.9 -13.7
7607 ฟอยล์อะลูมิเนียม (ร้อยละ 0.46) -30.8 -11.0 16.3 -20.8 -19.7 -6.0
3924 เครื่องใช้ในบ้านเรือนทาด้วยพลาสติก (ร้อยละ 0.39) -23.0 -2.9 36.9 1.1 -23.6 -7.2
8450 เครื่องซักผ้าและส่วนประกอบ (ร้อยละ 0.17) 11.6 -3.6 15.1 -6.0 -15.6 -6.8
8415 เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ (ร้อยละ 0.79) -21.1 -4.7 64.8 -1.2 17.2 -1.6
8507 หม้อสะสมไฟฟ้า (ร้อยละ 0.52) -51.8 -29.7 121.6 188.5 2.4 -40.3
2106 อาหารปรุงแต่ง (ร้อยละ 0.29) 12.1 18.9 67.5 27.6 93.5 -28.5
4002 ยางสังเคราะห์ (ร้อยละ 0.32) 57.4 33.0 27.3 -17.9 -15.5 2.9
ที่มา: Global Trade Atlas คานวณโดย สศช.
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
41
NESDC
Economic Outlook
สถานการณ์สินค้านาเข้าจากจีน และนัยยะที่มีต่อไทย (ต่อ)
จากข้อมูลข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ภายหลังจากปี 2565 เป็นต้นมา สถานการณ์การส่งออกสินค้าจากจีนมายังไทยเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการแพร่หลายของแพลตฟอร์มซื้อขายออนไลน์ที่ได้รับความนิยมอย่างมากของตลาดในไทย ตลอดจนอัตราค่าขนส่งภายในประเทศที่ราคาไม่สูงนักเนื่องจากทางเลือกที่มากขึ้นของบริษัทขนส่งสินค้า ทั้งนี้ แม้ว่าการเข้ามาของสินค้าจากจีนจะเป็นผลดีต่อผู้บริโภคในที่สามารถมีทางเลือกในการซื้อสินค้าได้ในราคาถูก อย่างไรก็ดี หากมองในมุมของผู้ประกอบการไทยพบว่ามีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งในส่วนของความท้าทายด้านต้นทุนการผลิตสินค้าขั้นกลางของผู้ประกอบการไทยที่สูงกว่าสินค้านาเข้าจากจีนโดยเปรียบเทียบ รวมถึงการสูญเสียส่วนแบ่งตลาดสินค้าอุปโภคบริโภคให้กับสินค้าราคาถูกจากจีน ซึ่งส่งผลต่อผลประกอบการ และอาจจะส่งผลกระทบกับขีดความสามารถของประเทศในระยะถัดไป
ในส่วนของภาครัฐนั้น ได้มีการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์และผลกระทบดังกล่าวอย่างใกล้ชิด โดยในช่วงที่ผ่านมา มีการบังคับใช้มาตรการ อาทิ (1) การเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 7 สินค้านาเข้าที่ราคาต่ากว่า 1,500 บาท (2) การเข้มงวดสินค้านาเข้าต้องผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) และมาตรฐานของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) (3) สินค้านาเข้าต้องมีคาอธิบายภาษาไทย (4) การตรวจสอบการขออนุญาตประกอบธุรกิจ คลังสินค้าทัณฑ์บน และการถือหุ้นของบริษัท ไม่ให้มีการทาผิดกฎหมายหรือผิดวัตถุประสงค์ และ (5) มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (AD) และมาตรการ ตอบโต้การหลีกเลี่ยงการทุ่มตลาด (AC) อย่างต่อเนื่อง ซึ่งพบว่ามาตรการ AD ที่มีการบังคับใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่ยังคงอยู่ในกลุ่มสินค้าเหล็ก โลหะ และผลิตภัณฑ์ คิดเป็นประมาณ 12 ผลิตภัณฑ์ จาก 13 ผลิตภัณฑ์ (ยกเว้นกรดซิตริก) จากจานวนสินค้าทั้งหมด (แผนภาพที่ 1) และเมื่อพิจารณาการบังคับใช้มาตการ AD รายประเทศ (แผนภาพที่ 2) พบว่าประเทศที่ไทยมีการบังคับใช้มาตรการ 3 อันดับแรก ได้แก่ (1) จีน (12 ผลิตภัณฑ์) (2) เกาหลีใต้ (7 ผลิตภัณฑ์) และ (3) ไต้หวัน และเวียดนาม (5 ผลิตภัณฑ์) ขณะที่มาตรการ AC ที่พึ่งมีการบังคับใช้ไปเมื่อ 1 สิงหาคม 2567 ก็เป็นสินค้าในกลุ่มเหล็กแผ่นรีดร้อนจานวน 17 ชนิด (ตาม HS Code 11 หลักของสินค้าในกลุ่มดังกล่าว) โดยมีการบังคับใช้กับประเทศจีนเพียงประเทศเดียวเท่านั้น (แผนภาพที่ 3)
ดังนั้น เพื่อลดผลกระทบแก่ผู้ประกอบการภายในประเทศจากสถานการณ์การเข้ามาของสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศ ภาครัฐควรให้ความสาคัญกับมาตรการติดตาม กากับ และดูแลกระบวนการนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศ เพื่อให้มีการแข่งขันด้านราคาอย่างเป็นธรรม และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยมุ่งเน้นในเรื่อง (1) การตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุ่มตลาดและวิธีการทางการค้า ที่ไม่เป็นธรรมจากประเทศผู้ส่งออกสาคัญอย่างเข้มงวด รวมทั้งอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการภาคธุรกิจให้สามารถเข้าถึงการดาเนินมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน (AD/CVD/AC) (2) การปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้านาเข้าให้มีความเข้มงวดรัดกุมมากขึ้น การเร่งออกมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมสินค้านาเข้า รวมทั้งการส่งเสริมการสร้างความร่วมมือในการจัดทาความตกลงยอมรับร่วมด้านมาตรฐานระหว่างประเทศ และการเพิ่มบทลงโทษสาหรับผู้ที่นาเข้าสินค้าไม่ได้มาตรฐาน (3) การดาเนินการอย่างเคร่งครัดกับผู้กระทาความผิดลักลอบนาเข้าสินค้าที่ผิดกฎหมาย หลบเลี่ยงภาษี หรือใช้ช่องว่างทางกฎหมายต่าง ๆ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับธุรกิจ (4) การดูแลและบริหารจัดการระบบและ กลไกราคาสินค้าให้เป็นธรรมกับทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค เช่น การพัฒนาช่องทางการร้องเรียนที่ทันสมัย รวดเร็ว และหลากหลาย สร้างกระบวนการรับและแก้ไขข้อร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว สร้างระบบการชดเชยที่เป็นธรรมให้กับผู้ที่ได้รับความเสียหาย ตลอดจนติดตามและประเมินประสิทธิภาพของระบบการแก้ไขปัญหาและข้อร้องเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบให้ดียิ่งขึ้น และ (5) การส่งเสริมการสร้างความตระหนักรู้และการมีส่วนร่วมของทั้งผู้บริโภคและผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ในการแข่งขันทางการค้าอย่างเป็นธรรม เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
02468101214ญี่ปุ่น
เกาหลีใต้สหภาพยุโรปไต้หวันแอฟริกาใต้รัสเซียคาซัคสถานอินเดียเวเนซุเอลาอาร์เจนตินายูเครนแอลจีเรียอินโดนีเซียสโลวักโรมาเนียจีนมาเลเซียเวียดนามบราซิลอิหร่านตุรกีอียิปต์แผนภาพที่ 2: จานวนสินค้าที่เกี่ยวข้องกับมาตรการ AD (รวมทุกสินค้า) ของไทย จาแนกรายประเทศ1705101520แผนภาพที่ 3: มาตรการตอบโต้การหลีกเลี่ยงการทุ่มตลาด(AC) (Unit: HS codes 11 หลัก)สถานะ: ใช้มาตรการ (1 ส.ค. 67)เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดเป็นม้วนและไม่เป็นม้วนเจืออัลลอย050100150200250300350เหล็กกล้าไร้สนิมรีดเย็น ชนิดม้วน แผ่น และแผ่นแถบเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนและไม่เป็นม้วนกรดซิทริกเหล็กแผ่นรีดเย็นชนิดเป็นม้วนและไม่เป็นม้วนเหล็กลวดคาร์บอนสูงรวมถึงเหล็กลวดคาร์บอนสูงที่เจือธาตุอื่นหลอดและท่อทาด้วยเหล็กกล้าไม่เป็นสนิมเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบด้วยสังกะสีหรืออะลูมิเนียมและสังกะสีหลอดและท่อทาด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้าเหล็กแผ่นรีดเย็นชุบหรือเคลือบอะลูมิเนียมและสังกะสีเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบสังกะสีแบบจุ่มร้อน ม้วนและไม่เป็นม้วนเหล็กแผ่นชุบหรือเคลือบด้วยโครเมียม ม้วนและไม่เป็นม้วนฟิล์มบรรจุภัณฑ์ไบแอคเซียลลี ออเรียนเต็ดโพลิโพรพิลีนเหล็กแผ่นชุบหรือเคลือบด้วยดีบุก ม้วนและไม่เป็นม้วนแผนภาพที่ 1: จานวน HS code (11 หลัก)ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเหล็กของไทยที่มีการบังคับใช้มาตรการ AD ใช้ในแต่ละสินค้าที่มา: กระทรวงพาณิชย์สินค้าที่เกี่ยวข้องกับจีน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
42
NESDC
Economic Outlook
ข้อสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2567
1) เศรษฐกิจโลกในปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 2.9 ต่อเนื่องจากร้อยละ 3.1 ในปีก่อนหน้า เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน โดยเศรษฐกิจในช่วงครึ่งแรกของปีในหลายประเทศขยายตัวได้ดีกว่าที่คาดโดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ขยายตัวดีตามอุปสงค์ในประเทศ ทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน เช่นเดียวกับเศรษฐกิจจีนที่ขยายตัวดีตามการฟื้นตัวของภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออกสินค้า อย่างไรก็ตาม คาดว่าในช่วงครึ่งหลังของปี เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มชะลอตัวลงตามฐานการขยายตัวในปีก่อนที่เริ่มสูงขึ้น ประกอบกับยังมีความเสี่ยงจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนของความขัดแย้งด้านภูมิรัฐศาสตร์ โดยเฉพาะความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลาง ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน และการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน ที่อาจส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานโลก รวมทั้งสร้างแรงกดดันด้านเงินเฟ้อในเศรษฐกิจหลักให้สูงต่อเนื่องจนเป็นข้อจากัดต่อการดาเนินนโยบายการเงินและการขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศ ขณะที่ปริมาณการค้าโลกในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.8 ในปีก่อนและเท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา
2) ค่าเงินบาทเฉลี่ยในปี 2567 อยู่ในช่วง 35.5 - 36.5 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. เท่ากับสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อน แต่อ่อนค่าลงจากเฉลี่ย 34.8 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในปี 2566 สอดคล้องกับการอ่อนค่าของเงินบาทในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2567 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 36.2 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ตามแนวโน้มการแข็งค่าขึ้นของค่าเงินดอลลาร์ สรอ. อันเนื่องมาจากการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่เหลือของปี 2567 เงินบาทมีแนวโน้มที่จะแข็งค่าขึ้นอย่างช้า ๆ ตามการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยวและแนวโน้มการฟื้นตัวของภาคการส่งออกซึ่งจะส่งผลให้การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยปรับเพิ่มขึ้น รวมถึงแนวโน้มการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในระยะต่อไปที่จะส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์ สรอ. มีแนวโน้มอ่อนค่าลง
3) ราคาน้ามันดิบดูไบในปี 2567 ในช่วง 80.0 - 90.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ย 82.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในปีก่อน เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา สอดคล้องกับข้อมูลราคาน้ามันดิบดูไบปี 2567 เฉลี่ยถึงวันที่ 8 สิงหาคม 2567 อยู่ที่ 83.1 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ทั้งนี้ ในช่วงที่เหลือของปีราคาน้ามันดิบดูไบมีแนวโน้มที่จะปรับตัวสูงขึ้น โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญ เนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลางที่มีแนวโน้มยืดเยื้อและอาจส่งผลต่ออุปทานน้ามันดิบในระยะต่อไป รวมถึง แรงกดดันทางด้านอุปทานจากจานวนแท่นขุดเจาะน้ามันดิบของสหรัฐฯที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง43 ประกอบกับการขยายช่วงเวลาการปรับลดกาลังการผลิตของกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ามันและชาติพันธมิตร44 (OPEC+) อย่างไรก็ตาม ปัจจัยสาคัญที่จะส่งผลให้ราคาน้ามันดิบไม่ปรับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ได้แก่ แนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกในช่วงครึ่งหลังของปี โดยเฉพาะอย่างเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจีนที่จะส่งผลให้ อุปสงค์ของน้ามันดิบยังคงขยายตัวอย่างจากัด
4) ราคาสินค้าส่งออกและราคาสินค้านาเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. ในปี 2567 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 -1.3 และร้อยละ 0.5 -1.5 ชะลอลงจากร้อยละ 1.2 และร้อยละ 0.6 ในปี 2566 โดยเป็นการปรับเพิ่มสมมติฐานราคาสินค้าส่งออกจากร้อยละ 0.0 - 0.1 ในการประมาณการครั้งก่อน เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลจริงในครึ่งแรกของปี 2567 ขณะที่สมมติฐานราคาสินค้านาเข้ายังเป็นการคงสมมติฐานจากการประมาณการครั้งก่อน
43 จานวนแท่นขุดเจาะน้ามันสหรัฐฯ ในเดือนมิถุนายน 2567 อยู่ที่ 588 แท่น ลดลงร้อยละ 14.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
44 ในเดือนมิถุนายน 2567 OPEC+ มีมติขยายเวลาปรับลดกาลังการผลิตน้ามันลง 3.66 ล้านบาร์เรลต่อปีจนสิ้นไป 2568 จากเดิมที่จะสิ้นสุดลงในปลายปี 2567 เช่นเดียวกับ ขยายเวลาการปรับลดกาลังการผลิต 2.2 ล้านล้านบาร์เรลต่อ 3 เดือนไปจนถึงเดือนกันยายน 2567 จากเดิมที่จะสิ้นสุดในเดือนมิถุนายน 2567
ตารางสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2567
ข้อมูลจริง
ประมาณการ 2567
2564
2565
2566
ณ 20 พ.ค. 2567
ณ 19 ส.ค. 2567
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก (%)1/
5.9
3.4
3.1
2.9
2.9
สหรัฐอเมริกา
5.8
1.9
2.5
2.4
2.4
ยูโรโซน
6.0
3.5
0.5
0.6
0.6
ญี่ปุ่น
2.7
1.2
1.7
0.8
0.4
จีน
8.4
3.0
5.2
4.5
4.7
อัตราการขยายตัวปริมาณการค้าโลก (%)
11.0
5.6
0.3
2.8
2.8
อัตราแลกเปลี่ยน
32.0
35.1
34.8
35.5 - 36.5
35.5 - 36.5
ราคาน้ามัน (ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล)
68.8
97.0
82.0
80.0 - 90.0
80.0 - 90.0
ราคาส่งออก (%)
3.3
4.2
1.2
0.0 - 1.0
0.3 - 1.3
ราคานาเข้า (%)
8.3
12.7
0.6
0.5 - 1.5
0.5 - 1.5
รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ล้านล้านบาท)2/
0.16
0.53
1.03
1.38
1.48
หมายเหตุ: 1/ เศรษฐกิจโลกคานวณ Trade weight เฉพาะ 15 เศรษฐกิจคู่ค้าสาคัญ ในปี 2564-2566 2/ ข้อมูลบนฐานดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย ประมาณการโดย สศช.
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2567
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
43
NESDC
Economic Outlook
5) รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2567 อยู่ที่ 1.48 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 1.03 ล้านล้านบาทในปี 2566 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจาก 1.38 ล้านล้านบาท ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับเพิ่มสมมติฐานค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มสูงขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวต่างชาติในไตรมาสที่ 2 ที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่เฉลี่ย 40,853 บาทต่อคนต่อทริป เพิ่มขึ้นจาก 39,625 บาทต่อคนต่อทริปในไตรมาสก่อนหน้า และ 37,225 บาทต่อคนต่อทริปในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตามการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวกลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักท่องเที่ยวจีน สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และรัสเซีย ในขณะที่จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งปี 2567 คาดว่าจะอยู่ที่ 36.5 ล้านคน เพิ่มขึ้นจาก 28.1 ล้านคนในปีก่อน และเท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา
6) การเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย (1) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2567 อยู่ที่ร้อยละ 89.3 ของงบประมาณทั้งหมด 3.48 ล้านล้านบาท เทียบกับร้อยละ 97.0 ในปีงบประมาณ 2566 แบ่งเป็น รายจ่ายประจาร้อยละ 97.0 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน เทียบกับร้อยละ 101.6 ในปีงบประมาณก่อนหน้า และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 60.0 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อนเทียบกับร้อยละ 77.7 ในปีงบประมาณ 2566 ตามความล่าช้าในการเบิกจ่ายในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณที่เบิกจ่ายได้เพียงร้อยละ 11.6 ของงบประมาณทั้งหมด อย่างไรก็ดี ได้มีการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐประจาปีงบประมาณ และมีการจัดสรรงบรายจ่ายเพิ่มเติมในช่วงครึ่งหลังของปีงบประมาณ สาหรับปีงบประมาณ 2568 คาดว่ากระบวนการจัดทางบประมาณจะสามารถดาเนินการจัดทาได้ตามกรอบเวลาปกติ และมีอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณอยู่ที่ร้อยละ 94.7 ของงบประมาณทั้งหมด 3.75 ล้านล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจาร้อยละ 98.0 และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 75.0 ตามลาดับ (2) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีในปีงบประมาณ 2567 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 86.7 ของงบประมาณทั้งหมด เทียบกับร้อยละ 91.3 ในปีงบประมาณ 2566 แบ่งเป็น รายจ่ายประจาร้อยละ 95.0 และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 85.0 และ (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนในประเทศของรัฐวิสาหกิจในปี 2567 (15 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2566 - ธันวาคม 2567) คาดว่าจะมีวงเงินลงทุนประมาณ 3.36 แสนล้านบาท เทียบกับ 3.44 แสนล้านบาทในปีก่อนหน้า ปรับเพิ่มขึ้นจาก 2.72 แสนล้านบาทในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
44
NESDC
Economic Outlook
ประมาณการเศรษฐกิจปี 2567
เศรษฐกิจไทยในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.3 ? 2.8 (ค่ากลางการประมาณการที่ร้อยละ 2.5) เทียบกับร้อยละ 1.9 ในปี 2566 อัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 0.4 ? 0.9 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 2.3 ของ GDP
ในการแถลงข่าววันที่ 19 สิงหาคม 2567 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2567 จะขยายตัวร้อยละ 2.3 ? 2.8 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 2.5) เท่ากับประมาณการในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2567 โดยมีการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับข้อมูลจริงในช่วงสองไตรมาสแรก และการปรับเปลี่ยนสมมติฐานการประมาณการที่สาคัญ ๆ ดังนี้
1) การปรับเพิ่มสมมติฐานรายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ ตามการปรับเพิ่มสมมติฐานค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวจาก 1.38 ล้านบาทในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา เป็น 1.48 ล้านล้านบาทในการประมาณครั้งนี้ เพื่อให้ สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายต่อหัว ของนักท่องเที่ยวต่างชาติ จากเฉลี่ย 39,625 บาทต่อคนต่อครั้ง ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นเฉลี่ย 40,853 บาทต่อคนต่อครั้งในไตรมาสที่สอง ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นมากกว่าที่ได้คาดการณ์ไว้
2) การปรับเพิ่มสมมติฐานการเบิกจ่ายภาครัฐ ตามการปรับเพิ่มประมาณการการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจในประเทศ 15 เดือน (ตุลาคม 2566 - ธันวาคม 2567) จาก 272,946 ล้านบาทในการประมาณการครั้งก่อน เป็น 336,221 ล้านบาทในการประมาณการครั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับการปรับปรุงข้อมูลเบิกจ่ายของรัฐวิสาหกิจล่าสุด ซึ่งส่งผลให้แรงขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากการลงทุนภาครัฐสูงกว่าในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา
3) การปรับลดอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลจริงของการลดลงของการลงทุนภาคเอกชนในไตรมาสที่สอง ร้อยละ 6.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.6 ในไตรมาสแรก ขณะที่ในช่วงที่เหลือของปี การขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนยังมีข้อจากัดจากการเพิ่มขึ้นของแรงกดดันจากการแข่งขันทางด้านราคาของสินค้านาเข้า และความไม่แน่นอนของสถานการณ์เศรษฐกิจและความขัดแย้งทาง ภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
องค์ประกอบของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค ประกอบด้วย (1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.5 ต่อเนื่องจากการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.1 ในปี 2566 เท่ากับประมาณการครั้งก่อน และ (2) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคภาครัฐบาล คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.7 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 4.6 ในปี 2566 และเท่ากับการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับ กรอบงบประมาณรายจ่ายประจา ปีงบประมาณ 2567 ที่เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณก่อนหน้า ร้อยละ 7.3 รวมทั้งการเพิ่มขึ้นของกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา ปีงบประมาณ 2568 ร้อยละ 4.7
2) การลงทุนรวมคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.1 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 1.2 ในปี 2566 โดย (1) การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.3 ปรับลดลงจากร้อยละ 3.2 ในการประมาณการครั้งก่อน และชะลอลงจากร้อยละ 3.2 ในปี 2566 สอดคล้องกับการลดลงของการลงทุนในไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 6.8 ซึ่งทาให้การลงทุนภาคเอกชนในครึ่งแรกของปีลดลงร้อยละ 0.9 และ (2) การลงทุนภาครัฐ คาดว่า จะลดลงร้อยละ 0.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.8 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา ซึ่งเป็นการปรับให้สอดคล้องกับการเบิกจ่ายของรัฐวิสาหกิจที่สูงกว่าที่ได้คาดการณ์ไว้
3) มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.5 ในปี 2566 เท่ากับ การประมาณการครั้งที่ผ่านมา เมื่อรวมกับการส่งออกบริการซึ่งมีแนวโน้มขยายตัวสูงกว่าในการประมาณการครั้งที่ผ่านมาตามการปรับเพิ่มสมมติฐานรายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ ส่งผลให้ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 4.9 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.1 ในปี 2566 และเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.7 ในการประมาณการครั้งก่อน
4) มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.8 ในปี 2566 ซึ่งเป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 4.6 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยเป็นผลจากการปรับลดประมาณการการขยายตัวของปริมาณการนาเข้าสินค้าจากร้อยละ 1.5 ในการประมาณการครั้งก่อนเป็นร้อยละ 1.2 ในการประมาณการครั้งนี้ สอดคล้องกับการปรับลดประมาณการการลงทุนภาคเอกชน เมื่อรวมกับการนาเข้าบริการคาดว่าปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการในปี 2567 จะขยายตัวร้อยละ 3.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.3 ในปี 2566 และลดลงจากร้อยละ 4.4 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา
5) ดุลการค้า คาดว่าจะเกินดุล 1.55 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการเกินดุล 1.94 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2566 และ 1.05 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในการประมาณการครั้งก่อน เมื่อรวมกับดุลบริการคาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 2567 จะเกินดุล 1.21 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. หรือคิดเป็นการเกินดุลร้อยละ 2.3 ของ GDP เทียบกับการเกินดุล 9.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือร้อยละ 1.9 ของ GDP ในปี 2566 และ การเกินดุล 6.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือ ร้อยละ 1.2 ของ GDP ในการประมาณการครั้งก่อน
6) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยในปี 2567 คาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 0.4 - 0.9 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 0.6) ชะลอลงจากร้อยละ 1.2 ในปี 2566 และเท่ากับการประมาณการครั้งก่อน
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
45
NESDC
Economic Outlook
การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในช่วงที่เหลือของปี 2567 ควรให้ความสาคัญกับ
1) การรักษาบรรยากาศทางเศรษฐกิจและการเมืองภายในประเทศ โดยเฉพาะการสร้างความต่อเนื่องของกระบวนการงบประมาณเพื่อให้การใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งไม่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นนักลงทุน
2) การขับเคลื่อนการลงทุนภาคเอกชน โดยให้ความสาคัญกับ (1) การเร่งสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนต่างชาติ โดยอาศัยประโยชน์จากการย้ายฐานการลงทุนเพื่อดึงดูดเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการเร่งรัดนักลงทุนที่ได้รับการอนุมัติส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2565 - 2567 ให้เกิดการลงทุนจริงโดยเร็ว เพื่อช่วยขับเคลื่อนการขยายตัวของภาคการผลิตและภาคการส่งออกสินค้าที่มีศักยภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดโลกเพิ่มขึ้น อาทิ สินค้าประเภทอาหารมูลค่าสูง สินค้าที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสินค้าที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์อันเนื่องมาจากความไม่แน่นอนจากความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์ รวมทั้งสินค้าที่มีโอกาสได้รับประโยชน์จากมาตรการกีดกันทางการค้า (2) การพัฒนาระบบนิเวศที่เหมาะสมเพื่อดึงดูดอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมายให้เข้ามาลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะการปรับลดอุปสรรคด้านขั้นตอนกระบวนการ และข้อบังคับ/กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต และการพัฒนาผลิตภาพแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรมและภาคบริการเป้าหมาย (3) การเร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจที่สาคัญให้เป็นไปตามแผนที่กาหนดไว้ และ (4) การเพิ่มผลิตภาพการผลิตผ่านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อนาไปสู่การผลิตสินค้าไทยที่มีศักยภาพและมีมูลค่าสูงขึ้นที่สามารถหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้านราคาและมีมาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาดและข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า ควบคู่ไปกับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง ในประเทศให้มีความพร้อมและสามารถเชื่อมโยงกับห่วงโซ่การผลิตโลกมากขึ้น
3) การปกป้องภาคการผลิตจากการทุ่มตลาดและการใช้นโยบายการค้าที่ไม่เป็นธรรม โดยมุ่งเน้น (1) การตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุ่มตลาด รวมทั้งการใช้มาตรการและวิธีการทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมจากประเทศผู้ส่งออกสาคัญ และอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการ ภาคธุรกิจเข้าถึงการดาเนินมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน (AD/CVD/AC) (2) การปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้านาเข้าให้มีความเข้มงวดรัดกุมมากขึ้น การเร่งออกมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมสินค้านาเข้า รวมทั้งการส่งเสริมการสร้างความร่วมมือในการจัดทาความตกลงยอมรับร่วมด้านมาตรฐานระหว่างประเทศ และการเพิ่มบทลงโทษสาหรับผู้ที่นาเข้าสินค้าไม่ได้มาตรฐาน และ (3) การดาเนินการอย่างเคร่งครัดกับผู้กระทาความผิดลักลอบนาเข้าสินค้าที่ผิดกฎหมาย หลบเลี่ยงภาษี หรือใช้ช่องว่างทางกฎหมายต่าง ๆ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับธุรกิจ
4) การดูแลสภาพคล่องให้เพียงพอสาหรับภาคธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจ SMEs ที่มีศักยภาพแต่ประสบปัญหาการเข้าถึงสภาพคล่องให้สามารถเข้าถึงสินเชื่อในระบบได้และลดการอาศัยแหล่งเงินกู้นอกระบบ ควบคู่ไปกับการยกระดับศักยภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจะช่วยสนับสนุน การเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกัน ควรดาเนินมาตรการเพื่อแก้ปัญหาหนี้สินภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ทั้งการปรับโครงสร้างหนี้ การแก้ปัญหาหนี้เรื้อรังให้แก่ลูกหนี้โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง
5) การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อให้เม็ดเงินรายจ่ายภาครัฐเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็ว โดยมุ่งเน้นการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนให้กระจายไปในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจฐานราก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการลงทุนขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และการเร่งรัดกระบวนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2568 ไม่ให้เกิดความล่าช้า
6) การเตรียมการรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะปรากฎการณ์ลานีญาอันอาจนาไปสู่ความเสี่ยงจากสถานการณ์น้าท่วมในช่วงปลายปี และปรากฎการณ์เอลนีโญที่อาจนาไปสู่ความเสี่ยงจากภัยแล้งในช่วงปีหน้า โดยให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้าการยกระดับประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานและระบบการเตือนภัย การให้ความรู้แก่เกษตรกรเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ของความแปรปรวนด้านสภาพภูมิอากาศ และเข้าถึงหลักการใช้น้าในการเพาะปลูกอย่างถูกต้อง ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน แก่เกษตรกรผ่านการส่งเสริมรูปแบบและพัฒนาระบบประกันภัยพืชผลจากความเสี่ยงของสภาพอากาศ
7) การเร่งรัดแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ (PM2.5) และการเตรียมความพร้อมของปัจจัยแวดล้อมด้านการท่องเที่ยวที่สาคัญ อาทิ สนามบิน/เที่ยวบิน กระบวนการตรวจคนเข้าเมือง โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก การบริหารจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการรักษามาตรฐาน ความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว เพื่อรองรับการกลับมาของนักท่องเที่ยวในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว และยกระดับศักยภาพและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืน ขณะเดียวกันต้องให้ความสาคัญกับการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศเพื่อไม่ให้ส่งผลเสียต่อสุขภาพของประชาชนและเศรษฐกิจในระยะยาวต่อไป
8) การเตรียมมาตรการเพื่อรองรับผลกระทบและใช้ประโยชน์จากความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและการค้าโลก อาทิ ความรุนแรงของความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ การกีดกันทางการค้า การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และความผันผวนในตลาดการเงินโลก
6. ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
19 สิงหาคม 2567
46
NESDC
Economic Outlook
รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ Email : mspo-center@nesdc.go.th หรือ โทร. 0-2280-4085 ต่อ 6459
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 25671/
ข้อมูลจริง
ประมาณการปี 2567
2564
2565
2566
ณ 20 พ.ค. 67
ณ 19 ส.ค. 67
GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านบาท)
16,188.6
17,378.0
17,922.0
18,513.5
18,567.2
รายได้ต่อหัว (บาทต่อคนต่อปี)
231,986.1
248,788.6
255,879.5
263,675.5
264,441.2
GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
505.9
495.1
514.8
514.3
515.8
รายได้ต่อหัว (ดอลลาร์ สรอ. ต่อหัวต่อปี)
7,249.6
7,094.1
7,349.9
7,324.3
7,345.6
อัตราการขยายตัวของ GDP (CVM, %)
1.6
2.5
1.9
2.0 - 3.0
2.3 - 2.8
การลงทุนรวม (CVM, %)2/
3.1
2.3
1.2
1.9
0.1
ภาคเอกชน (CVM, %)
2.9
4.7
3.2
3.2
0.3
ภาครัฐ (CVM, %)
3.5
-3.9
-4.6
-1.8
-0.7
การบริโภคภาคเอกชน (CVM, %)
0.6
6.2
7.1
4.5
4.5
การอุปโภคภาครัฐบาล (CVM, %)
3.7
0.1
-4.6
1.7
1.7
ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %)
11.1
6.1
2.1
4.7
4.9
มูลค่าการส่งออกสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/
270.6
285.2
280.7
285.7
286.2
อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/
19.2
5.4
-1.5
2.0
2.0
อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/
15.5
1.2
-2.7
1.5
1.2
ปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %)
17.8
3.6
-2.3
4.4
3.6
มูลค่าการนาเข้าสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/
238.2
271.6
261.4
275.3
270.7
อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/
27.7
14.0
-3.8
4.6
3.6
อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/
17.9
1.2
-4.1
3.6
2.6
ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
32.4
13.5
19.4
10.5
15.5
ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)
-10.3
-15.7
9.6
6.0
12.1
ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%)
-2.0
-3.2
1.9
1.2
2.3
เงินเฟ้อ (%)
ดัชนีราคาผู้บริโภค
1.2
6.1
1.2
0.1 - 1.1
0.4 - 0.9
GDP Deflator
1.8
4.8
1.2
0.3 - 1.3
0.9 - 1.4
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2567
หมายเหตุ: 1/ เป็นข้อมูลที่คานวณบนฐานบัญชีประชาชาติอนุกรมใหม่ ซึ่ง สศช. เผยแพร่ทาง www.nesdc.go.th
2/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น
3/ ตัวเลขการส่งออกและการนาเข้าเป็นไปตามฐานของธนาคารแห่งประเทศไทย




          ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ