เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สามของปี 2567 และแนวโน้มปี 2567 - 2568
NESDCECONOMICREPORTQ3/2024ภาวะเศรษฐกิ กิจไทยไตรมาสที่ ที่สามของปี 2567และแนวโน้ น้มปี 2567 - 2568สำ สำ นั นักงานสภาพั พัฒนาการเศรษฐกิ กิจและสั สังคมแห่ ห่งชาติ ติ
แถลงข่ ข่าว
:18 พฤศจิ จิกายน 2567 เวลา 09.30 น.www.nesdc.go.thกองยุ ยุทธศาสตร์ ร์และการวางแผนเศรษฐกิ กิจมหภาค
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สามของปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 3.0 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.2 ในไตรมาสที่สองของปี 2567 (%YoY) และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทย ในไตรมาสที่สามของปี 2567 ขยายตัวจากไตรมาสที่สองของปี 2567 ร้อยละ 1.2 (QoQ_SA) รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 2.3
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สามของปี 2567 และแนวโน้มปี 2567 - 2568
การขับเคลื่อนภาคการส่งออกให้ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือมาตรการกีดกันทางการค้า โดย (1) ขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าที่มีศักยภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดโลก (2) ติดตามและประเมินสถานการณ์ของมาตรการกีดกันทางการค้าอย่างใกล้ชิด (3) ส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีภายใต้ความตกลงทางการค้าเสรีที่มีอยู่ รวมทั้งเร่งรัดการเจรจาที่กาลังอยู่ในขั้นตอน และศึกษาการเจรจากับประเทศคู่ค้าสาคัญใหม่ ๆ (4) ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของการผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานตามข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า และ (5) ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจบริหารจัดการความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน
การปกป้องภาคการผลิตจากการทุ่มตลาดและการใช้นโยบายการค้าที่ไม่เป็นธรรม โดย (1) ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้านาเข้า (2) ยกระดับมาตรการกากับดูแลผู้ประกอบการจากต่างประเทศ (3) ตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุ่มตลาดจากประเทศ ผู้ส่งออก และ (4) ป้องกันการลักลอบนาเข้าสินค้าที่ผิดกฎหมาย
การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในปี 2568 ควรให้ความสาคัญกับ
การขับเคลื่อนการลงทุนภาคเอกชน โดย (1) เร่งสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนต่างชาติ (2) เร่งรัดการลงทุนที่ได้รับอนุมัติส่งเสริม การลงทุน (3) เร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจที่สาคัญ (4) พัฒนาระบบนิเวศที่เหมาะสมเพื่อดึงดูดอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย และ (5) เพิ่มผลิตภาพการผลิตผ่านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง
การดูแลเกษตรกรและสนับสนุนการปรับตัวในการผลิตภาคเกษตร โดย (1) เร่งรัดการให้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรผ่านเงินชดเชย และปัจจัยการผลิตภายหลังประสบภัยพิบัติ (2) เตรียมการรองรับความผันผวนของสภาพดินฟ้าอากาศ (3) ขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูป และ (4) ส่งเสริมการปลูกพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่ และปรับเปลี่ยนไปสู่การผลิตที่มีมูลค่าสูง
การให้ความช่วยเหลือธุรกิจ SMEs ที่ประสบปัญหาด้านการเข้าถึงสภาพคล่องเนื่องจากคุณภาพสินเชื่อปรับลดลงต่อเนื่อง
1
3
4
ปัจจัยสนับสนุน
? การเพิ่มขึ้นของรายจ่ายภาครัฐ
? การขยายตัวของอุปสงค์ภาคเอกชนในประเทศตามแนวโน้ม การปรับตัวดีขึ้นของการลงทุนภาคเอกชนและการขยายตัวต่อเนื่องของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน
? การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว
? การขยายตัวต่อเนื่องของการส่งออกสินค้า
ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง
? ความเสี่ยงการขยายตัวต่ากว่าที่คาดของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก ท่ามกลางความไม่แน่นอนของการดาเนินนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ และแนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน
? ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูง
? แนวโน้มความผันผวนในภาคการเกษตรทั้งผลผลิตและราคาสินค้าเกษตร
ด้านการใช้จ่าย การลงทุนภาครัฐกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรก ในรอบ 6 ไตรมาส การส่งออกสินค้าและบริการ และการอุปโภครัฐบาลขยายตัวในเกณฑ์สูง การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนชะลอตัว ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนลดลง
ด้านการผลิต สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขายส่งและการขายปลีกฯ สาขาการขนส่งขยายตัวต่อเนื่อง ส่วนสาขาก่อสร้างกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ขณะที่สาขาเกษตรกรรมลดลงต่อเนื่อง
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2567
คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.6 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.9 ในปี 2566 อัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 2.5 ของ GDP
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2568
คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.3 - 3.3 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายภาครัฐ การขยายตัวของอุปสงค์ภาคเอกชนในประเทศ และการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว ทั้งนี้ คาดว่าการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 3.0 และร้อยละ 2.8 ตามลาดับ การอุปโภครัฐบาลและการลงทุนภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ 2.1 และร้อยละ 6.5 มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 2.6 ส่วนอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 0.3 - 1.3 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 2.6 ของ GDP
2
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2567 - 2568
(%YoY)
2566
2567
ประมาณการ
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
2567
2568
GDP (CVM)
1.9
1.6
2.2
3.0
2.6
2.3 - 3.3
การลงทุนรวม1/
1.2
-4.2
-6.1
5.2
0.2
3.9
ภาคเอกชน
3.2
4.6
-6.8
-2.5
-0.5
2.8
ภาครัฐ
-4.6
-27.7
-4.0
25.9
2.4
6.5
การบริโภคภาคเอกชน
7.1
6.9
4.9
3.4
4.8
3.0
การอุปโภคภาครัฐบาล
-4.6
-2.1
0.3
6.3
1.7
2.1
มูลค่าการส่งออกสินค้า2/
-1.5
-1.1
4.5
8.9
3.8
2.6
ปริมาณ2/
-2.7
-2.4
2.7
7.5
2.5
2.3
มูลค่าการนาเข้าสินค้า2/
-3.8
3.3
1.2
11.3
4.4
3.3
ปริมาณ2/
-4.1
4.6
-0.9
9.7
3.6
3.0
ดุลบัญชีเดินสะพัด
1.5
1.9
0.7
1.5
2.5
2.6
ต่อ GDP (%)
เงินเฟ้อ
1.2
-0.8
0.8
0.6
0.5
0.3 - 1.3
หมายเหตุ: 1/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น 2/ ฐานข้อมูลดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย
5
การลงทุนรวม ขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 5.2 จากการลดลง ร้อยละ 6.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนภาคเอกชนลดลงต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ ร้อยละ 1.6 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 8.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการลดลงของ การลงทุนหมวดยานยนต์โดยเฉพาะรถบรรทุกและยานพาหนะอื่น ๆ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากมาตรฐานสินเชื่อของสถาบันการเงินที่เข้มงวดมากขึ้น และการลงทุน ในหมวดการก่อสร้าง ลดลงร้อยละ 6.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการชะลอตัวของสินเชื่อภาคธุรกิจและภาคครัวเรือนจากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินท่ามกลางคุณภาพสินเชื่อที่ปรับตัวลดลง การลงทุนภาครัฐ ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส ร้อยละ 25.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนของรัฐบาลกลับมาขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 43.1 ขณะที่การลงทุนของรัฐวิสาหกิจลดลงร้อยละ 1.1 สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 26.3 (สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 25.4 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 20.9 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การลงทุนรวมลดลงร้อยละ 1.7 โดยการลงทุนภาคเอกชนและการลงทุนภาครัฐ ลดลงร้อยละ 1.4 และร้อยละ 2.3 ตามลาดับ
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สามของปี 2567
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 3.4 ชะลอลงจากร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายในทุกหมวดสินค้าและ การลดลงต่อเนื่องของการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทน โดยการใช้จ่ายหมวดบริการขยายตัวร้อยละ 6.5 ชะลอลงจากร้อยละ 8.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร การบริการด้านสุขภาพ การบริการขนส่ง และกลุ่มสถานบันเทิงอื่น ๆ การใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 2.4 ชะลอลงจากร้อยละ 3.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของการใช้จ่ายกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และการใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้า แก๊ส และ
เชื้อเพลิงอื่น ๆ ส่วนการใช้จ่ายในหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 3.5 ชะลอลงจากร้อยละ 4.3 ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายเพื่อซื้อเครื่องเรือนและเครื่องตกแต่ง และการใช้จ่ายกลุ่มเสื้อผ้าและรองเท้า ขณะที่การใช้จ่ายหมวดสินค้าคงทนลดลงร้อยละ 9.9 ต่อเนื่องจากการลดลง ร้อยละ 7.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะ สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี้อยู่ที่ระดับ 50.1 ลดลงจากระดับ 54.3 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นระดับความเชื่อมั่นที่ต่าสุดในรอบ 6 ไตรมาส นับตั้งแต่ไตรมาสที่สองของปี 2566 การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 6.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยรายจ่ายการโอนเพื่อสวัสดิการสังคมที่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 36.9 ค่าตอบแทนแรงงาน (เงินเดือน ค่าบาเหน็จบานาญ) ขยายตัวร้อยละ 1.1 ขณะที่ค่าซื้อสินค้าและบริการขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 8.5 สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 19.9 (ต่ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 31.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 20.5 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 5.0 ชะลอลงจากร้อยละ 7.1 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน การใช้จ่าย เพื่อการอุปโภคของรัฐบาลกลับมาขยายตัวร้อยละ 1.6 จากการลดลงร้อยละ 5.1 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน
การส่งออกสินค้า มีมูลค่า 77,221 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 8.9 ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของปริมาณการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตร โดยปริมาณส่งออกขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เช่น ข้าว (ร้อยละ 25.2) ยาง (ร้อยละ 55.9) คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 146.5) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 46.5) อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม (ร้อยละ 33.2) และอาหาร (ร้อยละ 10.2) เป็นต้น กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกลดลง เช่น ทุเรียน (ลดลงร้อยละ 18.1) ยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 10.6) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (ลดลงร้อยละ 1.5) และเครื่องใช้ไฟฟ้า (ลดลงร้อยละ 1.2) เป็นต้น
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 220,129 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.1 ตามปริมาณการส่งออกที่กลับมาขยายตัวร้อยละ 2.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 4.6 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 เทียบกับร้อยละ 1.1 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน
องค์ประกอบด้านการใช้จ่าย
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สามของปี 2567
สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ลดลงร้อยละ 0.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าเกษตรในหมวดพืชสาคัญหลายรายการปรับตัวลดลง อาทิ ข้าวเปลือก (ลดลงร้อยละ 4.7) ยางพารา (ลดลงร้อยละ 0.4) และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ลดลงร้อยละ 0.6) ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม การผลิตสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ บางรายการปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 4.1) โคเนื้อ (ร้อยละ 7.8) ไก่เนื้อ (ร้อยละ 6.5) สุกร (ร้อยละ 33.9) มันสาปะหลัง (ร้อยละ 2.5) และกุ้งขาวแวนนาไม (ร้อยละ 0.3) ตามลาดับ ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.4 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ เช่น ยางพารา (ร้อยละ 56.4) กลุ่มไม้ผล (ร้อยละ 4.0) ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 8.7) กุ้งขาวแวนนาไม (ร้อยละ 19.8) และไข่ไก่คละ (ร้อยละ 4.0) ตามลาดับ ขณะที่สินค้าเกษตรสาคัญ ๆ
ที่ราคาปรับตัวลดลง เช่น มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 31.9) ไก่เนื้อ (ลดลงร้อยละ 6.1) และข้าวเปลือก (ลดลงร้อยละ 2.1) ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรส่งผลให้รายได้เกษตรกรโดยรวมขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 7.7
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ลดลงร้อยละ 1.8
สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เช่น การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 1.7) การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ร้อยละ 10.9) การผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ร้อยละ 12.4) การผลิตสัตว์น้าบรรจุกระป๋อง (ร้อยละ 37.4) และการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 6.1) เป็นต้น ส่วนการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง เช่น การผลิตยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 16.4) การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และปูนปลาสเตอร์ (ลดลงร้อยละ 11.5) การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ลดลงร้อยละ 7.4) การผลิตจักรยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 12.7) และการผลิตสัตว์น้าและผลิตภัณฑ์สัตว์น้าสด แช่เย็น หรือแช่แข็ง (ลดลงร้อยละ 6.8) เป็นต้น สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตในไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 58.29 สูงกว่าร้อยละ 57.79 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 58.37 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาการผลิตอุตสาหกรรม ลดลงร้อยละ 0.9
สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวร้อยละ 8.4 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 7.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสนี้ มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยจานวน 8.588 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 93.22 ของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) ส่งผลให้มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสนี้อยู่ที่ 3.57 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 45.6 ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) ขยายตัวร้อยละ 6.6 สร้างรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย จานวน 2.25 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8 ส่งผลให้ในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยว 5.82 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.8 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 68.60 ต่ากว่าร้อยละ 69.92 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 66.16 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวร้อยละ 9.3
สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ขยายตัวร้อยละ 3.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวเร่งขึ้นของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาการขายส่งและการขายปลีก ขยายตัวร้อยละ 3.7
สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า ขยายตัวร้อยละ 9.0 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 8.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยบริการขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 ตามการเพิ่มขึ้นของบริการขนส่งทางอากาศ (ร้อยละ 28.9) บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง (ร้อยละ 5.7) และบริการขนส่งทางน้า (ร้อยละ 3.2) สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 และบริการไปรษณีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาการขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้าขยายตัวร้อยละ 9.0
สาขาการก่อสร้าง กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 15.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้างภาครัฐขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 33.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 7.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของการก่อสร้างของรัฐบาลร้อยละ 49.4 และการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ส่วนการก่อสร้างภาคเอกชนลดลงร้อยละ 5.4 สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ (ร้อยละ 4.1) หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา (ร้อยละ 3.4) หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (ร้อยละ 4.6) และหมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต (ร้อยละ 1.2) เป็นสาคัญ
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาการก่อสร้าง ลดลงร้อยละ 2.5
องค์ประกอบด้านการผลิต
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 4
Economic Outlook NESDC
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน: ขยายตัวร้อยละ 3.4 ชะลอลงจากร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอ
ตัวของการใช้จ่ายในทุกหมวดสินค้าและการลดลงต่อเนื่องของการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทน โดยการใช้จ่ายหมวด
บริการขยายตัวร้อยละ 6.5 ชะลอลงจากร้อยละ 8.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของการใช้จ่ายในกลุ่ม
โรงแรมและภัตตาคาร การบริการด้านสุขภาพ การบริการขนส่ง และกลุ่มสถานบันเทิงอื่น ๆ การใช้จ่ายหมวด
สินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 2.4 ชะลอลงจากร้อยละ 3.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของการใช้จ่าย
กลุ่มอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และการใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้า แก๊ส และเชื้อเพลิงอื่น ๆ ส่วนการใช้จ่าย
ในหมวดสนิ คา กงึ่ คงทนขยายตวั รอ้ ยละ 3.5 ชะลอลงจากรอ้ ยละ 4.3 ตามการชะลอตวั ของการใช้จา ยเพอื่ ซอื้ เครอื่ งเรอื น
และเครื่องตกแต่ง และการใช้จ่ายกลุ่มเสื้อผ้าและรองเท้า ขณะที่การใช้จ่ายหมวดสินค้าคงทนลดลงร้อยละ 9.9
ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 7.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะ
โดยส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเพิ่มความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินท่ามกลางคุณภาพสินเชื่อ
ที่ลดลง ประกอบกับการรอตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในช่วงที่การแข่งขันด้านราคาโดยเฉพาะรถยนต์พลังงานไฟฟ้า
ยังมีความรุนแรงสูง อย่างไรก็ดี ยอดจดทะเบียนรถยนต์ไฮบริด (Hybrid vehicle) เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง สาหรับ
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี้อยู่ที่ระดับ 50.1 ลดลงจากระดับ 54.3
ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นระดับความเชื่อมั่นที่ต่าสุดในรอบ 6 ไตรมาส นับตั้งแต่ไตรมาสที่สองของปี 2566
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 5.0 ชะลอลงจากร้อยละ 7.1 ในช่วง
เดียวกันของปีก่อน
การลงทุนภาคเอกชน: ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 6.8 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ตามการลดลงของการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ ร้อยละ 1.6 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ
8.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการลดลงของการลงทุนหมวดยานยนต์โดยเฉพาะรถบรรทุกและ
ยานพาหนะอื่น ๆ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากมาตรฐานสินเชื่อของสถาบันการเงินที่เข้มงวดมากขึ้น และการลงทุนใน
หมวดการก่อสร้าง ลดลงร้อยละ 6.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการชะลอ
ตัวของสินเชื่อภาคธุรกิจและภาคครัวเรือนจากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินท่ามกลาง
คุณภาพสินเชื่อที่ปรับตัวลดลง โดยการก่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัยลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 9.5
การก่อสร้างอาคารประเภทไม่ใช่ที่อยู่อาศัยลดลงครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส ร้อยละ 2.0 ตามการลดลงต่อเนื่องของ
การก่อสร้างอาคารพาณิชย์ร้อยละ 9.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 10.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่การก่อสร้าง
โรงงานอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 9.2 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 21.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และ
การก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 1.6 การปรับตัวลดลงของการลงทุนภาคเอกชน
ในไตรมาสนี้สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจที่ระดับ 46.6 จากระดับ 48.0 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ต่าสุดในรอบ 12 ไตรมาส และต่ากว่าระดับ 50 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ห้า
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การลงทุนภาคเอกชนลดลงร้อยละ 1.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.6 ในช่วง
เดียวกันของปี 2566 โดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ และหมวดการก่อสร้างลดลงร้อยละ 1.4 และ
ร้อยละ 1.5 ตามลาดับ
1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สามของปี 2567
ด้านการใช้จ่าย
การอุปโภคบริโภค
ภาคเอกชนขยายตัว
ร้อยละ 3.4 ชะลอลงจาก
ร้อยละ 4.9 ในไตรมาส
ก่อนหน้า ตามการชะลอ
ตัวของการใช้จ่ายหมวด
บริการ สินค้าไม่คงทน
สินค้ากึ่งคงทน
และการลดลงของการใช้
จ่ายหมวดสินค้าคงทน
ในไตรมาสที่สามของปี
2567 การอุปโภคบริโภค
ภาคเอกชนชะลอตัว
ขณะที่การลงทุน
ภาคเอกชนลดลงต่อเนื่อง
ส่วนการส่งออกสินค้า
ขยายตัวเร่งขึ้น
การลงทุนภาคเอกชน
ลดลงต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.5
ตามการลดลงของ
ทั้งการลงทุนหมวด
เครื่องจักรเครื่องมือ
และหมวดการก่อสร้าง
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
70.0
80.0
-8.0
-6.0
-4.0
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3
62 63 64 65 66 67
%YoY
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวชะลอลง
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน (แกนซ้าย)
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ (แกนขวา)
ดัชนี
ที่มา: สศช. และ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 5
Economic Outlook NESDC
การส่งออก: มูลค่าการส่งออกในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. ไตรมาสที่สามของปี 2567 มีมูลค่า 77,221 ล้านดอลลาร์ สรอ.
ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 8.9 ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของปริมาณการส่งออก โดยดัชนีปริมาณการส่งออก
ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 7.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากการขยายตัว
ต่อเนื่องของปริมาณการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตร ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าส่งออก เพิ่มขึ้น
ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 16 ร้อยละ 1.3 โดยดัชนีราคาส่งออกสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 5.9
และร้อยละ 0.7 ตามลาดับ เมื่อหักการส่งออกทองคาออกแล้ว มูลค่าการส่งออกขยายตัวร้อยละ 7.5 ส่วนการส่งออก
ในรูปของเงินบาท มีมูลค่า 2,688 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7
รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 220,129 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 4.1 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 3.6 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามปริมาณการส่งออกที่กลับมาขยายตัวร้อยละ 2.6 เทียบกับ
การลดลงร้อยละ 4.6 ในช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 ด้านการส่งออกในรูปเงินบาท
มีมูลค่า 7,861 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.8 ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา
มูลค่าการส่งออกสินค้า
ในรูปเงินดอลลาร์ สรอ.
ขยายตัวในเกณฑ์สูง
ร้อยละ 8.9
ตามการขยายตัวเร่งขึ้น
ของปริมาณการส่งออก
สินค้าอุตสาหกรรมและ
สินค้าเกษตร
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 8.3 ตามการขยายตัวของดัชนีปริมาณ
และราคาส่งออก ที่ขยายตัวร้อยละ 2.2 และร้อยละ 5.9 ตามลาดับ สอดคล้องกับความต้องการในตลาดโลกที่ยัง
อยู่ในเกณฑ์สูง โดยมูลค่าส่งออกสินค้าเกษตรสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ ข้าว เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.2 ซึ่งเป็นผลจาก
การเพิ่มขึ้นของทั้งปริมาณและราคาส่งออก ร้อยละ 15.6 และร้อยละ 8.2 ตามลาดับ ตามการส่งออกไปยังตลาดอิรัก
สหรัฐฯ เซเนกัล และเบนิน เป็นสาคัญ ยาง เพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงร้อยละ 55.9 โดยปริมาณและราคาส่งออกเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 9.9 และร้อยละ 41.9 ตามลาดับ ตามการส่งออกไปยังตลาดจีน ญี่ปุ่น สหรัฐฯ และอินเดีย เป็นสาคัญ
ขณะที่ทุเรียน ลดลงร้อยละ 18.1 ตามปริมาณและราคาส่งออกที่ลดลงร้อยละ 15.6 และร้อยละ 3.0 ตามลาดับ
เนื่องจากความต้องการจากตลาดจีนปรับตัวลดลง มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น
ไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 5.9 เร่งขึ้นจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของ
ปริมาณการส่งออกร้อยละ 5.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่ดัชนีราคาส่งออก
เพิ่มขึ้นต่อเนื่องร้อยละ 0.7 สาหรับสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว เช่น คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 146.5)
ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 46.5) อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม (ร้อยละ 33.2) และอาหาร (ร้อยละ
10.2) เป็นต้น ขณะที่มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่ลดลง เช่น ยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 10.6)
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (ลดลงร้อยละ 1.5) และเครื่องใช้ไฟฟ้า (ลดลงร้อยละ 1.2) เป็นต้น ด้านมูลค่าการส่งออก
สินค้าประมง ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 ขณะที่สินค้าส่งออกอื่น ๆ ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 75.4
ตามการส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูป ขยายตัวร้อยละ 79.4 เป็นสาคัญ
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
-20.0
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3
62 63 64 65 66 67
%YoY
การลงทุนภาคเอกลดลงต่อเนื่อง
การลงทุนภาคเอกชน ก่อสร้าง เครื่องจักรเครื่องมือ
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3
62 63 64 65 66 67
%YoY
ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคาส่งออก
ราคา มูลค่า ปริมาณ
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
-50.0
-40.0
-30.0
-20.0
-10.0
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3
62 63 64 65 66 67
%YoY
สินค้าส่งออกจาแนกตามกิจกรรมการผลิต
สินค้าเกษตร สินค้าประมง
สินค้าป่าไม้ สินค้าเหมืองแร่
สินค้าอุตสาหกรรม
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
6
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
18 พฤศจิกายน 2567
NESDC
Economic Outlook
การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักส่วนใหญ่ยังคงขยายตัวในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะตลาดสหรัฐฯ จีน กลุ่มประเทศ CLMV และสหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK
ตลาดส่งออก: การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักส่วนใหญ่ยังคงขยายตัวในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะตลาดสหรัฐฯ จีน กลุ่มประเทศ CLMV และ สหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK นอกจากนี้ ตลาดสหราชอาณาจักร เกาหลีใต้ และไต้หวัน กลับมาขยายตัว โดยการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 14.8 ตามการส่งออกคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และผลิตภัณฑ์ยาง เป็นสาคัญ ตลาดจีน ขยายตัวร้อยละ 2.5 ตามการส่งออกคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง และยางพารา เป็นสาคัญ ตลาดอาเซียน (9) ขยายตัวร้อยละ 8.1 ตามการส่งออกไปยังตลาดมาเลเซีย เวียดนาม และกัมพูชา เป็นสาคัญ ตลาดสหภาพยุโรป (27) ไม่รวม UK ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 15.4 ตามการส่งออกคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ และผลิตภัณฑ์ยาง เป็นสาคัญ ตลาดสหราชอาณาจักร กลับมาขยายตัวในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 14.7 ตามการส่งออกไก่แปรรูป เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ และผลิตภัณฑ์ยาง เป็นสาคัญ ตลาดเกาหลีใต้ กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ 4.8 ตามการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง น้าตาลทราย และยางพารา เป็นสาคัญ และตลาดไต้หวัน กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส ร้อยละ 3.4 ตามการส่งออกคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ สาหรับตลาดที่มีมูลค่าการส่งออกลดลง อาทิ ตลาดญี่ปุ่น ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 6.7 ตามการลดลงของการส่งออกไก่แปรรูป แผงวงจรไฟฟ้า และโทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เป็นสาคัญ ในขณะที่การส่งออกคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องสาอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบยังเพิ่มขึ้น
สินค้าส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YoY
2566
2567
สัดส่วน Q3/67 (%)
ทั้งปี
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
Q2
Q3
สินค้าเกษตร
3.9
6.0
-3.0
10.8
5.3
4.5
8.5
8.3
7.1
ข้าว
29.4
24.4
18.3
27.3
43.8
43.2
53.0
25.2
2.0
ยาง
-29.2
-37.7
-40.2
-33.8
6.5
24.9
37.3
55.9
1.8
ทุเรียน
28.1
218.9
19.6
87.8
-51.7
-53.2
-1.0
-18.1
1.0
ผลไม้อื่น ๆ
15.8
12.7
-7.3
42.3
18.6
11.6
-12.7
-13.5
1.1
สินค้าอุตสาหกรรม
-0.9
-2.0
-6.1
-0.1
5.3
0.4
3.7
5.9
88.1
อาหาร
-2.6
3.4
-8.8
-5.7
1.7
-7.2
1.5
10.2
7.6
- น้าตาล
21.8
32.4
35.4
-0.4
16.1
-29.1
-26.3
-8.0
1.2
- ปลากระป๋องและปลาแปรรูป
-7.2
-2.3
-10.8
-11.6
-3.7
9.0
8.2
27.0
1.1
- เป็ด-ไก่กระป๋องและแปรรูป
-6.3
-5.6
-6.2
-11.2
-1.7
2.2
9.0
6.1
1.0
เครื่องดื่ม
1.9
-1.5
3.9
-1.2
6.9
11.5
4.3
11.1
1.0
ผลิตภัณฑ์ยาง
-13.1
0.3
-12.3
-22.4
-18.9
-19.2
-10.5
27.4
2.1
อาหารสัตว์
-13.6
-20.9
-24.6
-10.3
4.0
20.3
33.8
24.3
1.0
อิเล็กทรอนิกส์
-3.6
-8.1
-6.1
-5.1
5.0
6.6
27.4
26.5
13.8
- คอมพิวเตอร์
97.6
19.2
205.5
51.6
184.0
172.5
147.9
146.5
1.4
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
-24.2
-24.9
-29.6
-32.7
-5.0
-6.9
22.5
46.5
4.7
- แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน
4.3
-0.2
2.9
16.4
-2.0
-11.3
-14.5
-15.8
2.9
- อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม
12.9
17.6
14.0
11.7
9.9
24.3
58.5
33.2
4.3
เครื่องใช้ไฟฟ้า
4.0
4.6
9.3
2.0
-0.0
-4.4
-5.3
-1.2
8.5
- เครื่องปรับอากาศ
-11.9
12.5
-5.1
-33.0
-28.8
-15.4
1.4
28.8
1.7
- ตู้เย็น
-6.7
-18.8
-19.1
-0.4
23.3
7.0
3.0
5.9
0.7
- ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า
31.4
27.2
44.8
40.3
16.3
-0.7
-12.8
-17.4
2.5
ผลิตภัณฑ์โลหะ
-7.1
-14.4
-19.1
-4.2
14.6
21.8
4.6
8.0
5.2
ยานยนต์
10.4
10.5
7.0
19.4
4.9
-5.3
3.3
-10.6
14.2
- รถยนต์นั่ง
26.2
52.7
21.4
41.9
1.0
-3.8
23.7
45.8
3.9
- รถกระบะและรถบรรทุก
25.4
37.1
27.8
29.3
10.5
-15.8
15.2
-17.8
2.7
- ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์
0.9
-8.3
-3.4
6.2
10.6
4.1
-0.6
3.6
6.7
เครื่องจักรและอุปกรณ์
-0.8
-0.6
-1.5
0.8
-1.9
-1.4
7.5
10.8
8.9
อากาศยาน, เรือ, แท่น, และรถไฟ
4.4
9.8
-29.8
2.3
91.0
25.8
-34.3
6.5
1.1
เครื่องประดับ
10.8
22.0
3.7
11.5
6.4
13.6
4.0
1.4
3.1
เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี
-15.1
-21.8
-19.9
-13.6
-2.0
-4.8
-1.4
8.1
7.3
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
0.1
3.1
-29.4
-3.0
51.6
-3.9
-6.9
-1.5
3.4
สินค้าประมง
-8.4
-13.2
-0.4
-16.4
-3.3
16.8
-14.2
0.1
0.5
กุ้ง, ปู, กั้ง และล็อบสเตอร์
-7.7
-11.2
8.7
-19.6
-7.4
17.3
-27.2
-4.9
0.2
ปลา
-12.8
-24.3
-16.1
-13.6
4.8
27.8
8.5
-0.2
0.1
สินค้าส่งออกอื่น ๆ
-11.5
-37.3
-8.0
-8.6
95.0
-25.2
15.7
75.4
3.2
ทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูป
-15.6
-46.9
-1.3
-9.9
98.0
-16.0
11.8
79.4
3.1
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร
-0.8
-3.3
-5.8
0.3
6.4
-0.3
4.3
7.5
100.0
มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติดุลการชาระเงิน
-1.5
-3.8
-5.7
-1.3
5.4
-1.1
4.5
8.9
99.1
มูลค่าสินค้าส่งออกไม่รวมทองคา
-1.2
-1.6
-5.8
-1.1
4.3
-0.6
4.3
7.5
96.1
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 7
Economic Outlook NESDC
ตลาดส่งออกสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ.
%YOY 2566 2567 สัดส่วน
ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q3/67 (%)
มูลค่าการส่งออกรวมตามสถติ ศุลกากร (ล้านดอลลาร์ สรอ.) 285,074 71,182 71,202 72,476 70,214 70,995 74,295 77,886 100.0 (%YoY) -0.8 -3.3 -5.8 0.3 6.4 -0.3 4.3 7.5
สหรัฐอเมริกา 1.7 -3.7 -3.1 3.9 10.3 9.9 12.5 14.8 19.1
จีน -0.7 -7.2 -0.5 4.4 0.4 -5.1 1.9 2.5 11.3
ญี่ปุ่น -0.3 -0.3 -2.4 1.8 -0.15 -9.0 -5.9 -6.7 7.5
อาเซียน (9) -6.8 -2.9 -15.0 -12.0 5.0 -0.6 3.1 8.1 22.8
- อาเซียน (5)* -1.1 -1.0 -11.9 -4.2 16.1 -5.3 0.0 4.3 13.4
- CLMV** -14.3 -5.6 -19.2 -21.8 -8.8 6.5 7.5 13.7 9.4
สหภาพยุโรป (27) ไม่รวมสหราชอาณาจักร -3.7 -1.2 -2.2 -8.0 -3.2 2.4 6.5 15.4 8.1
สหราชอาณาจักร 1.0 2.8 20.4 -0.4 -16.8 -10.5 -19.9 14.7 1.5
ตะวันออกกลาง (15)*** -0.4 14.5 -7.3 -5.2 -2.5 -3.7 8.4 15.0 3.9
- ซาอุดีอาระเบีย 32.4 47.8 25.2 40.7 19.3 4.3 19.9 -1.8 0.9
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ -3.8 17.2 -14.4 -14.9 0.3 0.0 11.8 14.2 1.2
ออสเตรเลีย 9.2 -9.0 15.4 11.8 19.4 24.8 0.2 -4.7 4.0
ฮ่องกง 10.0 -3.3 -9.5 34.8 25.8 23.5 5.1 -14.1 3.5
อินเดีย -4.0 3.9 -19.4 1.6 1.3 -3.4 15.4 19.5 4.0
เกาหลีใต้ -5.2 -0.7 -10.1 -11.4 3.8 -7.5 -5.4 4.8 2.0
ไต้หวัน 2.0 -2.5 -7.3 5.4 15.1 -2.5 -1.4 3.4 1.6
หมายเหตุ: * อาเซียน (5) ประกอบด้วย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์
ลิเบีย และซีเรีย ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย มูลค่าการนาเข้าในรูป เงินดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 11.3 เร่งขึ้นจากไตรมาส ก่อนหน้า การนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มีมูลค่า 71,448 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 11.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของการนาเข้าในทุกหมวดสินค้า สอดคล้องกับ การขยายตัวเร่งขึ้นของการส่งออกสินค้าและการขยายตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม โดยปริมาณการนาเข้ารวม ขยายตัวร้อยละ 9.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวของปริมาณ การนาเข้าในหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางร้อยละ 9.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และการขยายตัวในเกณฑ์สูงของปริมาณการนาเข้าสินค้าทุนร้อยละ 7.2 ขณะที่ราคานาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 ชะลอลงจากร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ หากไม่รวมการนาเข้าทองคา มูลค่าการนาเข้าขยายตัวร้อยละ 8.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ในรูปของเงินบาท การนาเข้าสินค้ามีมูลค่ารวม 2,489 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 10.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 7.8 ในไตรมาสก่อนหน้า รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การนาเข้าสินค้าคิดเป็นมูลค่า 207,207 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 5.2 โดยปริมาณนาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.3 ขณะที่ราคานาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 ส่วนการนาเข้าในรูปของ เงินบาทมีมูลค่า 7,401 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 8.9 -40.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 62 63 64 65 66 67 %YoY ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคานาเข้า ราคา มูลค่า ปริมาณ ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย -30.0 -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 62 63 64 65 66 67 %YoY สินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ สินค้าอุปโภคบริโภค วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง สินค้าทุน รวม 8 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook ในรายหมวด มูลค่าการนาเข้าหมวดวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ 8.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวของปริมาณการนาเข้าร้อยละ 9.1 ขณะที่ราคานาเข้าปรับตัวลดลงร้อยละ 0.6 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า น้ามันดิบ เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และวัสดุที่ทาด้วยโลหะ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณและราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 และร้อยละ 1.8 ตามลาดับ สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น เครื่องจักรกลอื่น ๆ และชิ้นส่วน คอมพิวเตอร์ และหม้อแปลง เครื่องกาเนิดไฟฟ้า มอเตอร์และเครื่องเก็บประจุไฟฟ้า เป็นต้น และมูลค่าการนาเข้าหมวดอุปโภคบริโภคกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ 2.6 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าลดลงร้อยละ 1.1 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น อาหาร เครื่องดื่มและผลิตภัณฑ์นม ยาและเวชภัณฑ์ และสิ่งทอ เป็นต้น ขณะที่มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอื่น ๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 78.2 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 62.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของการนาเข้าสินค้ากลุ่มทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ) และสินค้านาเข้าเบ็ดเตล็ดที่ร้อยละ 107.0 และร้อยละ 12.1 ตามลาดับ สินค้านาเข้าสาคัญ ในรูปดอลลาร์ สรอ. %YoY 2566 2567 สัดส่วน Q3/67 (%) ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 สินค้าอุปโภคบริโภค 8.5 11.6 6.4 6.3 9.6 -3.6 -1.1 2.6 12.5 - ไม่รวมยานพาหนะ 1.1 3.8 -1.9 -0.8 3.2 -0.4 4.3 10.7 11.8 อาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์นม 2.0 0.9 0.8 0.2 5.9 3.7 5.6 17.6 2.9 โทรศัพท์มือถือ -5.1 -4.8 -25.0 -3.6 11.7 -0.0 24.2 -2.1 1.3 ยาและเวชภัณฑ์ -10.0 -19.2 -9.7 0.8 -8.1 -7.5 -15.1 4.3 1.1 ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และประมง -7.4 1.8 -0.6 -12.9 -16.7 -13.6 -7.4 -3.1 1.0 สิ่งทอ 2.8 6.5 -3.6 0.3 8.3 5.7 6.3 4.9 1.0 วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง -7.8 -2.6 -13.3 -14.7 1.8 -2.1 -0.5 8.4 62.2 - ไม่รวมกลุ่มเชื้อเพลิง -5.7 -4.1 -11.6 -8.8 3.2 -1.4 2.1 9.1 46.3 ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า 4.5 -0.8 -3.5 3.3 20.3 11.0 16.5 10.5 16.9 น้ามันดิบ -10.6 3.8 -23.9 -21.8 6.7 3.5 -0.4 17.1 10.9 เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี -15.5 -10.5 -21.5 -20.6 -7.0 -4.1 0.1 11.8 8.8 วัสดุที่ทาด้วยโลหะ -16.6 -14.5 -26.7 -18.1 -2.5 -11.5 -1.3 16.7 8.1 ก๊าซธรรมชาติ -9.1 -1.1 21.9 -41.0 7.4 -15.9 -32.8 -12.6 2.8 สินค้าทุน 6.7 0.8 7.5 7.0 11.8 24.0 1.2 9.1 18.6 - ไม่รวมคอมพิวเตอร์ 3.9 1.8 2.3 6.3 5.2 2.5 1.8 6.0 16.8 เครื่องจักรกลอื่นๆ และชิ้นส่วน -1.2 -4.1 1.3 -1.3 -0.7 -5.3 -3.9 8.2 7.6 หม้อแปลง เครื่องกาเนิดไฟฟ้าฯ 2.1 6.0 3.0 -0.2 -0.5 -0.4 9.3 16.8 2.0 คอมพิวเตอร์ 56.1 -16.3 111.9 17.3 142.1 444.5 -4.6 50.0 1.8 อากาศยาน เรือ และแท่นฯ 19.1 18.5 -5.4 15.2 55.9 74.4 53.1 81.0 1.5 เครื่องชั่ง ตวง วัด 1.3 6.2 0.2 -1.6 0.7 -8.4 -9.2 0.7 1.2 สินค้านาเข้าอื่น ๆ -22.5 -13.2 -13.3 -47.7 3.8 45.4 62.5 78.2 6.6 ทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ) -29.4 -24.2 -15.2 -55.5 2.5 95.5 90.2 107.0 5.4 สินค้านาเข้าเบ็ดเตล็ด -1.4 8.6 -8.2 -12.4 7.5 -23.5 -6.4 12.1 1.3 มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติศุลกากร -4.2 -0.7 -7.8 -11.2 4.7 3.9 2.2 10.6 100.0 มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติดุลการชาระเงิน -3.8 0.4 -6.6 -11.8 4.6 3.3 1.2 11.3 90.9 มูลค่าการนาเข้าสินค้าไม่รวมทองคา -2.7 1.1 -6.3 -8.8 4.7 1.3 -1.6 8.1 85.5 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้า %YoY 2566 2567 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 สินค้าอุปโภคบริโภค 5.7 7.0 4.0 4.1 7.6 -4.7 -3.1 -1.1 วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง -5.2 -3.7 -8.0 -11.4 3.9 0.6 -1.9 9.1 สินค้าทุน 6.3 -0.2 7.0 7.0 11.6 24.6 0.4 7.2 ดัชนีปริมาณนาเข้ารวม -4.1 -3.6 -4.9 -10.9 4.2 4.6 -0.9 9.7 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 9 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook อัตราการค้าลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 อัตราการค้า (Term of Trade) ลดลงติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 2 โดยเป็นผลจากราคานาเข้าที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกร้อยละ 1.3 ส่งผลให้อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 97.8 ลดลงจากระดับ 98.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และระดับ 97.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และยังเป็นอัตราการค้าที่ต่ากว่าระดับ 100 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 11 รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 98.1 เทียบกับระดับ 97.5 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคานาเข้าร้อยละ 0.8 ดุลการค้า ในไตรมาสที่สามของปี 2567 ดุลการค้าเกินดุล 5.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. สูงกว่าการเกินดุล 5.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าการเกินดุล 6.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาทในไตรมาสที่สามของปี 2567 ดุลการค้าเกินดุล 198.5 พันล้านบาท ต่ากว่า การเกินดุล 203.1 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า และการเกินดุล 238.0 พันล้านบาท ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 ดุลการค้าเกินดุล 12.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุล 14.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาท ดุลการค้าเกินดุล 460.2 พันล้านบาท ต่ากว่า การเกินดุล 508.8 พันล้านบาท ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ดัชนีราคาสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ ดัชนีราคาสินค้านาเข้า %YoY 2566 2567 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 สินค้าอุปโภคบริโภค 2.6 4.3 2.3 2.1 1.9 1.2 2.1 3.8 วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง -2.6 1.2 -5.8 -3.7 -2.1 -2.7 1.5 -0.6 สินค้าทุน 0.4 1.0 0.4 0.0 0.2 -0.5 0.8 1.8 ดัชนีราคานาเข้ารวม 0.4 4.1 -1.8 -1.0 0.4 -1.2 2.1 1.5 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราการค้า %YoY 2566 2567 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 อัตราการค้า* 97.6 96.5 98.0 98.0 98.0 99.0 97.6 97.8 %YOY 0.8 -2.0 2.1 2.1 1.0 2.6 -0.4 -0.2 หมายเหตุ : * อัตราการค้า (Terms of Trade : TOT) คือ ราคาสินค้าส่งออกเทียบกับราคาสินค้านาเข้าของแต่ละประเทศ หาก TOT ปรับดีขึ้น หมายถึงประเทศนั้น ๆ ได้ประโยชน์มากขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากสินค้าที่ส่งออกได้ราคาสูงขึ้นเทียบกับราคา ที่นาเข้า ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ดุลการค้าเกินดุล 5.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. สูงกว่าการเกินดุล ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 10 Economic Outlook NESDC ด้านการผลิต สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง: ลดลงร้อยละ 0.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 1.9 ในไตรมาส ก่อนหน้า เนื่องจากได้รับผลกระทบจากปัญหาอุทกภัยในหลายพื้นที่ และความผันผวนของสภาพภูมิอากาศ ในช่วงเปลี่ยนผ่านจากสภาวะเอลนีโญ (El Ni?o) ไปสู่สภาวะลานีญา (La Ni?a) โดยในไตรมาสนี้ การผลิต สินค้าเกษตรในหมวดพืชสาคัญหลายรายการปรับตัวลดลง อาทิ ข้าวเปลือก ยางพารา และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในขณะที่หมวดปศุสัตว์ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 9 ตามการเพิ่มขึ้นของโคเนื้อ ไก่เนื้อ และสุกร เป็นสาคัญ และหมวดประมงกลับมาขยายตัว โดยการผลิตสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ (1) ข้าวเปลือก ลดลง ร้อยละ 4.7 (2) ยางพารา ลดลงร้อยละ 0.4 และ (3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลดลงร้อยละ 0.6 อย่างไรก็ตาม การผลิต สินค้าเกษตรสาคัญ ๆ บางรายการปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 4.1) โคเนื้อ (ร้อยละ 7.8) ไก่เนื้อ (ร้อยละ 6.5) สุกร (ร้อยละ 33.9) มันสาปะหลัง (ร้อยละ 2.5) และกุ้งขาวแวนนาไม (ร้อยละ 0.3) ตามลาดับ ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 7.4 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ ได้แก่ (1) ยางพารา เพิ่มขึ้นร้อยละ 56.4 (2) กลุ่มไม้ผล เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 ตามการเพิ่มขึ้นของไม้ผลสาคัญ ๆ โดยเฉพาะสับปะรด (เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.2) (3) ปาล์มน้ามัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.7 (4) กุ้งขาวแวนนาไม เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.8 และ (5) ไข่ไก่คละ เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 ตามลาดับ ขณะที่สินค้าเกษตรสาคัญ ๆ ที่ราคาปรับตัวลดลง เช่น มันสาปะหลัง (ร้อยละ 31.9) ไก่เนื้อ (ร้อยละ 6.1) และข้าวเปลือก (ร้อยละ 2.1) ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรส่งผลให้รายได้เกษตรกรโดยรวม ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 7.7 รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การผลิตสาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงลดลงร้อยละ 1.8 เทียบกับ การเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.4 และรายได้ เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 สาขาการผลิตสินค้า อุตสาหกรรม สาขา ที่พักแรมและบริการ ด้านอาหาร สาขาการ ขายส่งและการขายปลีกฯ สาขาการขนส่งขยายตัว ต่อเนื่อง สาขาก่อสร้าง กลับมาขยายตัว เป็นครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส ขณะที่สาขา เกษตรกรรมปรับตัวลดลง ต่อเนื่อง สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงลดลง ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 0.5 ตามการลดลง ของผลผลิตหมวดพืชผล สาคัญ ในขณะที่ดัชนีราคา สินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 การเพิ่มขึ้นของ ดัชนีราคาผลผลิตสินค้า เกษตรส่งผลให้รายได้ เกษตรกรโดยรวมขยายตัว ต่อเนื่อง -20 -10 0 10 20 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 62 63 64 65 66 67 (%YoY) GDP สาขาเกษตรกรรมฯ ดัชนีราคาสินค้าเกษตร ดัชนีรายได้เกษตรกร ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร GDP สาขาเกษตรกรรมฯ ปรับลดลงต่อเนื่อง ในขณะที่ราคาสินค้าเกษตรปรับตัว เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่สาม ส่งผลให้รายได้เกษตรกรโดยรวมขยายตัวต่อเนื่อง ราคาสินค้าเกษตรปรับตัวเพิ่มขึ้น 3 รายการ ได้แก่ ยางพารา อ้อย และปาล์มน้ามัน ในขณะที่ มันสาปะหลัง และข้าวเปลือกปรับตัวลดลง ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร -100 -50 0 50 100 150 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 62 63 64 65 66 67 (%YoY) ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ยางแผ่นดิบชั้น 3 ปาล์มน้ามัน อ้อย ผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยในปี 2567 ต่อภาคเกษตร ในช่วงไตรมาสที่สามของปี 2567 ประเทศไทยต้องเผชิญกับสภาพอากาศแปรปรวนและได้รับอิทธิพลจากร่องมรสุม และพายุไต้ฝุ่นยางิซึ่งทาให้ มีฝนตกหนักและนาไปสู่สถานการณ์อุทกภัยในภูมิภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ประกอบกับฝนตกสะสมทั้งประเทศ ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2567 ทาให้มีปริมาณน้าสูงกว่าปกติ ทั้งนี้ จากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศจากดาวเทียมจัดเก็บโดยสานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA) ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน 25671 พบว่ามีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย จานวน 3.54 ล้านไร่ หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.10 ของประเทศไทย2 ครอบคลุมพื้นที่ใน 52 จังหวัด3 1 เป็นข้อมูลทางภาพถ่ายทางอากาศจากดาวเทียมที่พาดผ่านประเทศไทย อาทิ Sentinel-1A, TDX1, Theos-2, Radasat-2, TanDEM-X, ALOS-2, Pleiades-1A, และ Gaofen-3 2 จากข้อมูลของกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงมหาดไทย กรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกรมแผนที่ทหาร สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ทั้งสิ้น 320.67 ล้านไร่ แบ่งเป็นพื้นที่ป่าไม้ จานวน 102.14 ล้านไร่ (ร้อยละ 31.85) พื้นที่เกษตรกรรม จานวน 147.73 (ร้อยละ 46.06) และพื้นที่ นอกเกษตรกรรม จานวน 70.83 (ร้อยละ 22.09) กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 11 Economic Outlook NESDC ผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยในปี 2567 ต่อภาคเกษตร (ต่อ) เมื่อพิจารณาผลกระทบจากสถานการณ์ อุทกภัยที่สร้างความเสียหายต่อภาคเกษตร โดยอาศัยข้อมูลจากศูนย์ติดตามและ แก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2567 แสดงให้เห็นว่า ในไตรมาสที่สามของปี 2567 มีเกษตรกร และพื้นที่ภาคการเกษตรที่ได้รับผลกระทบ จากอุทกภัย แบ่งเป็น หมวดพืช เกษตรกร ได้รับผลกระทบ 130,420 ราย พื้นที่ได้รับ ผลกระทบ 0.98 ล้านไร่ หมวดประมง เกษตรกรได้รับผลกระทบ 8,874 ราย พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้าได้รับผลกระทบ 8,740 ไร่ กระชัง 8,261 ตรม. และหมวด ปศุสัตว์ เกษตรกรได้รับผลกระทบ 1,416 ราย สัตว์ได้รับผลกระทบ 120,796 ตัว โดยพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากน้าท่วม ในปี 2567 (ข้อมูล ณ วันที่ 11 พ.ย. 2567) พบว่า มีทั้งสิ้น 3.54 ล้านไร่ น้อยกว่าพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบ ร้อยละ 77.9 (15.96 ล้านไร่) ในปี 2554 และ ร้อยละ 33.6 (5.33 ล้านไร่) ในปี 2565 สรุปผลกระทบความเสียหาย ปี 2554 ปี 2565 ปี 2567 (11 พ.ย. 67) พื้นที่ประสบอุทกภัย (จังหวัด) 77 66 52 พื้นที่น้าท่วมจากข้อมูลดาวเทียม (Gistda) 15,996,151 5,331,739 3,540,178 คิดเป็นร้อยละ 4.99 1.66 1.10 ด้านพืช เกษตรกร (ราย) 1,299,668 649,807 130,420 รวมพื้นที่ (ไร่) 12,751,937 5,510,061 982,170 ข้าว (ไร่) 10,079,708 3,611,514 878,195 พืชไร่และพืชผัก (ไร่) 1,876,310 1,809,822 93,055 ไม้ผล ไม้ยืนต้น และอื่น ๆ (ไร่) 795,919 88,725 10,920 ด้านประมง เกษตรกร (ราย) 132,726 30,350 8,874 รวมพื้นที่ (ไร่) 272,052 45,988 8,740 กระชัง/บ่อซีเมนต์ (ตรม.) 300,739 54,580 8,261 ด้านปศุสัตว์ เกษตรกร (ราย) 254,670 90,432 1,416 รวมสัตว์ (ตัว) 30,317,232 8,595,491 120,796 สัตว์ปีก (ตัว) 29,541,550 8,212,554 120,064 สุกร (ตัว) 337,723 60,422 607 แพะ แกะ (ตัว) 43,505 29,147 45 โค กระบือ (ตัว) 394,454 293,368 125 ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม 3 52 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม บึงกาฬ บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลาภู อุดรธานี อุบลราชธานี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ตราด นครนายก ปราจีนบุรี กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง กระบี่ ตรัง ยะลา สตูล และสุราษฎร์ธานี 4 ประมวลผลจากข้อมูลพื้นที่ความเสียหายสิ้นเชิงจากศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2567 และหากพิจารณาถึงผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยที่สร้างความเสียหายต่อภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 8.65 ต่อ GDP) พบว่า มีมูลค่า ความเสียหายประมาณ 2,061 ล้านบาท โดย 5 จังหวัดที่ได้รับเสียหายสูงสุด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย (328.59 ล้านบาท) จังหวัดหนองคาย (201.17 ล้านบาท) จังหวัดนครพนม (144.90 ล้านบาท) จังหวัดพะเยา (130.21 ล้านบาท) และจังหวัดสกลนคร (110.85 ล้านบาท) พืชผลที่ได้รับ ความเสียหาย ได้แก่ 1. พืชไร่ อาทิ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง มันสาปะหลัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และ 2. พืชไม้ยืนต้นและไม้ผล อาทิ ปาล์มน้ามัน ยางพารา และลาไย เป็นสาคัญ4 0 20,000 40,000 60,000 80,000 100,000 120,000 140,000 160,000 0.00 50.00 100.00 150.00 200.00 250.00 300.00 350.00 10 จังหวัดที่ได้รับความเสียหายสูงสุดจากอุทกภัย เทียบกับพื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับความเสียหาย มูลค่าของเสียหาย (ล้านบาท) พื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับความเสียหาย (ไร่) RHS ล้านบาท ไร่ ที่มา: ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประมวลผลโดย สศช. 39,445 41,976 41,347 24,532 28,923 35,514 15,729 23,894 33,486 21,086 29,888 35,802 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 40,000 45,000 ก.ย. ต.ค. พ.ย. 2554 2565 2566 2567 ปริมาตรน้าใช้การ ณ ต้นเดือน ใน 36 เขื่อนทั่วประเทศ เดือนกันยายน ถึงเดือนพฤศจิกายน 2567 หมายเหตุ*: รนก. หมายถึง ระดับน้าเก็บกักของอ่างฯ ปริมาตรน้าใช้ได้จริงรายเดือน เทียบกับปีก่อนหน้า ปริมาตรน้า (ลบ.ม.) ค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี (ปี 2560 2564) 22,773 17,003 28,057 ที่มา: สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้า (องค์การมหาชน) ประมวลผลโดย สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงมหาดไทย กรมป่าไม้ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกรมแผนที่ทหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย 12 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook ผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยในปี 2567 ต่อภาคเกษตร (ต่อ) ในขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาสถานการณ์ปริมาตรน้าในเขื่อน ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2567 มีปริมาตรน้ากักเก็บอยู่ที่ระดับ 59,341 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 83.66 ของระดับน้าเก็บกักของอ่างเก็บน้าทั้งหมด (น้อยกว่าปริมาตรน้าปี 2554 ที่อยู่ที่ร้อยละ 91.88) และปริมาณฝนสะสมรวมทั้งประเทศอยู่ที่ระดับ 1,478.0 มม. (น้อยกว่าฝนสะสมปี 2554 ที่อยู่ระดับ 1,947.9 มม.) อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์เอนโซยังคงสภาวะเป็นลานีญาต่อเนื่องไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ปี 2568 ซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณฝนในช่วงที่เหลือของปี 2567 มีแนวโน้มสูงกว่าค่าเฉลี่ยปกติ และจะกลับเข้าสู่สถานการณ์ปกติประมาณเดือนมีนาคม 2568 ดังนั้น ภาครัฐจึงควรเตรียมความพร้อมสาหรับแนวทางในการรับมือกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในช่วงที่เหลือของปี 2567 และในช่วงต้นปี 2568 โดยให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้า การยกระดับประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานและระบบการเตือนภัยให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติต่าง ๆ อาทิ คันกั้นน้า ทานบ ผนังกั้นน้า ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการระบายน้าทั้งในเขตพื้นที่ชลประทาน และนอกเขตพื้นที่ชลประทาน ควบคู่ไปกับการให้ความรู้แก่เกษตรกรเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ของความแปรปรวนด้านสภาพภูมิอากาศ และเข้าถึงหลักการใช้น้าในการเพาะปลูกอย่างถูกต้อง ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกรผ่านการส่งเสริมรูปแบบและพัฒนาระบบประกันภัยพืชผลจากความเสี่ยงของสภาพอากาศ สาขาอุตสาหกรรม: เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัว ของกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก และกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ โดยในไตรมาสนี้ ดัชนีการผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 8 ไตรมาสโดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 1.7) ขยายตัวตามความต้องการแผงวงจรรวม (Integrated Circuit) ของประเทศคู่ค้าสาคัญ การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ร้อยละ 10.9) เป็นผลมาจากความต้องการอุปกรณ์สาหรับบันทึกข้อมูลแบบถาวร (Hard Disk Drive :HDD) เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลภายในศูนย์ข้อมูล (Data Center) การผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ร้อยละ 12.4) โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศ และการผลิตสัตว์น้าบรรจุกระป๋อง (ร้อยละ 37.4) ส่วนการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง เช่น การผลิตสัตว์น้าและผลิตภัณฑ์สัตว์น้าสด แช่เย็น หรือแช่แข็ง (ลดลงร้อยละ 6.8) และดัชนีการผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 โดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 6.1) และการผลิตน้ามันปาล์ม (ร้อยละ 12.9) ตามปริมาณผลผลิตปาล์มน้ามันที่เข้าสู่โรงสกัดน้ามันปาล์มดิบเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ อย่างไรก็ตาม การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และปูนปลาสเตอร์ และการผลิตเหล็กและเหล็กกล้า ขั้นมูลฐานลดลงร้อยละ 11.5 และร้อยละ 7.4 ตามลาดับ ในขณะที่ดัชนีการผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วน การส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 โดยการผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ลดลง ได้แก่ การผลิตยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 16.4) ตามการผลิตรถยนต์นั่งเพื่อการพาณิชย์และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลลดลง ร้อยละ 25.0 และลดลงร้อยละ 10.3 ตามลาดับ และการผลิตจักรยานยนต์ (ลดลงร้อยละ 12.7) อย่างไรก็ตาม การผลิตสินค้าสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ การผลิตอาหารสัตว์สาเร็จรูป (ร้อยละ 8.7) และการผลิตมอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องกาเนิดไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า และอุปกรณ์ควบคุมและจ่ายไฟฟ้า (ร้อยละ 29.6) สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตในไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 58.29 สูงกว่าร้อยละ 57.79 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 58.37 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในอุตสาหกรรมสาคัญ 30 รายการ มีอุตสาหกรรมที่มีการใช้กาลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 80.00 จานวน 3 รายการ ได้แก่ การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 87.98) การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ร้อยละ 84.09) และการฆ่าสัตว์ปีกและการผลิตเนื้อสัตว์ปีกสด แช่เย็น หรือแช่แข็ง (ร้อยละ 81.92) ขณะที่อุตสาหกรรมที่มีการใช้กาลังการผลิตต่ากว่าร้อยละ 50.00 มีจานวน 11 รายการ ที่สาคัญ เช่น การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ร้อยละ 49.15) การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ร้อยละ 43.34) และการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก (ร้อยละ 48.88) เป็นต้น สาขาอุตสาหกรรมขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ตามการกลับมาขยายตัวของกลุ่มการผลิตเพื่อ การส่งออก และการขยายตัวต่อเนื่องของกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ ในขณะที่กลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30-60 ลดลงต่อเนื่อง อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 58.29 สูงกว่าร้อยละ 57.75 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 58.37 ในไตรมาสเดียวกันของ ปีก่อน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 13 Economic Outlook NESDC รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 การผลิตสาขาการผลิตอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 0.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.5 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 58.82 เทียบกับร้อยละ 60.37 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร: ขยายตัวร้อยละ 8.4 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 7.8 ในไตรมาส ก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวต่อเนื่องของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และการขยายตัวของ การท่องเที่ยวภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) โดยในไตรมาสนี้ มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามา ท่องเที่ยวในประเทศไทยจานวน 8.588 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 93.22 ของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.1 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 26.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางมาไทยสูงที่สุด 5 อันดับแรก ประกอบด้วย จีน 1.815 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 21.14) มาเลเซีย 1.307 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 15.21) อินเดีย 0.496 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.78) เกาหลีใต้ 0.448 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 5.21) และญี่ปุ่น 0.292 ล้านคน (สัดส่วน ร้อยละ 3.40) ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขยายระยะเวลาการดาเนินมาตรการยกเว้นวีซ่าสาหรับ นักท่องเที่ยวในหลายประเทศ และมาตรการให้สิทธิ Visa on Arrival ประกอบกับการมีวันหยุดยาวในหลาย ประเทศ สาหรับมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยว1 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ 3.57 แสนล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 78.76 ของมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) เพิ่มขึ้นร้อยละ 45.6 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 51.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของ นักท่องเที่ยวชาวไทย (ไทยเที่ยวไทย) มีจานวน 63.337 ล้านคน-ครั้ง ขยายตัวร้อยละ 6.6 เทียบกับ การขยายตัวร้อยละ 13.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากช่วงวันหยุดยาวหลายช่วง ประกอบกับ การดาเนินมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวระยะเร่งด่วน (Quick Win) เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวภายในประเทศ รวมทั้งมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวผ่านงานเทศกาลและงานประจาปีในแต่ละจังหวัด จังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือน คนไทยสูงที่สุด 5 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ ชลบุรี 3.874 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 6.12) กาญจนบุรี 3.678 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 5.81) ประจวบคีรีขันธ์ 2.503 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 3.95) เพชรบุรี 2.404 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 3.79) และพระนครศรีอยุธยา 2.100 ล้านคน-ครั้ง (สัดส่วน ร้อยละ 3.32) สาหรับรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย2 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ 2.25 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 16.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยจังหวัดที่มีรายรับที่แท้จริงจากผู้เยี่ยม เยือนคนไทยสูงที่สุด 5 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ ชลบุรี (สัดส่วนร้อยละ 12.33) เชียงใหม่ (สัดส่วนร้อยละ 5.23) ประจวบคีรีขันธ์ (สัดส่วนร้อยละ 4.09) สุราษฎร์ธานี (สัดส่วนร้อยละ 3.60) และ กาญจนบุรี (สัดส่วนร้อยละ 3.58) ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของทั้งมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวและมูลค่า การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวไทย ส่งผลให้ในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจากการท่องเที่ยว3 อยู่ที่ 5.82 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 34.4 ในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับอัตราการเข้าพักใน สาขาที่พักแรมและบริการ ด้านอาหารขยายตัวต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 11 ร้อยละ 8.4 โดยมีปัจจัยสนับสนุน จากการขยายตัวต่อเนื่อง ของจานวนนักท่องเที่ยว ต่างประเทศ และการขยายตัวจาก การท่องเที่ยวภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) รายรับรวมจากการ ท่องเที่ยวในไตรมาสนี้อยู่ที่ 5.82 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 29.8 อัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ ร้อยละ 68.60 ต่ากว่า ร้อยละ 69.92 ในไตรมาส ก่อนหน้า แต่สูงกว่า ร้อยละ 66.16 ในไตรมาส เดียวกันของปีก่อน 1 มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยว จากตารางดุลการชาระเงิน ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) 2 รายรับจากนกั ทอ่ งเทยี่ วชาวไทย จากตารางสรุปสถานการณ์พกั แรม จานวนผเ ยยี่ มเยือน และรายไดจ้ กผเ ยยี่ มเยือนของกระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี (กก.) 3 รายรับรวมจากการท่องเที่ยว คือ ผลรวมของมูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวและรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย GDP สาขาอุตสาหกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง อัตราการใช้กาลังการผลิตในไตรมาสนี้สูงกว่าไตรมาสก่อนหน้า ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 50.00 55.00 60.00 65.00 70.00 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 65 66 67 -6.0 -3.0 0.0 3.0 6.0 9.0 Cap U (แกนขวา) GDP สาขาอุตสาหกรรม %YoY ร้อยละ มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสที่สามของปี 2567 มีจานวน 3.57 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 45.6 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย -100 0 100 200 300 400 0.0 0.2 0.4 0.6 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 63 64 65 66 67 (ล้านล้านบาท) มูลค่าบริการรับ %YoY (แกนขวา) (ร้อยละ) การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 (การจากัดการเดินทางระหว่างประเทศ) โครงการ Phuket Sandbox (1 ก.ค. 64) ยกเลิก Thailand Pass (1 ก.ค. 65) เป ดประเทศ และเริ่มใช้ Thailand Pass (1 พ.ย. 64) ขยายเวลาพานักวีซ่าบางประเภท (1 ต.ค. 65 ? 31 มี.ค. 66) มาตรการ VOA (1 พ.ย. 62 ? 30 เม.ย. 63) จีนเป ดประเทศ และอนุญาตให้พลเมือง เดินทางท่องเที่ยวนอกประเทศ 14 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook ไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 68.60 ต่ากว่าร้อยละ 69.92 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 66.16 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารขยายตัวร้อยละ 9.3 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.2 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศมีจานวน 26.089 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.1 และมูลค่ารายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ 1.093 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 49.5 เมื่อรวมกับรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย 0.703 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.6 ส่งผลให้รายรับรวมจาก การท่องเที่ยวมีมูลค่า 1.796 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.5 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 71.26 สูงกว่าร้อยละ 67.78 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์: เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 เร่งขึ้นจาก การขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวเร่งขึ้นของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ โดย (1) ดัชนีการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) ขยายตัวร้อยละ 26.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 17.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเร่งขึ้นของหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ โดยเฉพาะร้านเครื่องประดับ ร้านขายปลีกเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และร้านขายปลีกสัตว์เลี้ยงและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตามลาดับ และหมวดการขายปลีกบนแผงลอยและตลาด (2) ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 12.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นในหมวดของการขายส่งเครื่องใช้ในครัวเรือนและหมวดเครื่องจักรอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ เป็นสาคัญ ในขณะที่ (3) ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 8 ร้อยละ 11.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 10.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงในทุกหมวด อาทิ หมวดการขายยานยนต์ หมวดการขายชิ้นส่วนและอุปกรณ์เสริมของยานยนต์ หมวดการขายจักรยานยนต์ และหมวดการขายการบารุงรักษาและการซ่อมจักรยานยนต์ชิ้นส่วนและอุปกรณ์เสริมที่เกี่ยวเนื่อง รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า: ขยายตัวร้อยละ 9.0 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 8.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของบริการขนส่งทางอากาศ และการขยายตัวต่อเนื่องของบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เป็นสาคัญ โดยในไตรมาสนี้ บริการขนส่งเพิ่มขึ้นทุกประเภท ประกอบด้วย (1) บริการขนส่งทางอากาศ เพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงร้อยละ 28.9 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 22.3 ในไตรมาส ก่อนหน้า ตามการขยายตัวของปริมาณการขนส่งทั้งผู้โดยสารและสินค้าทางอากาศ (2) บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 5.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของปริมาณผู้ใช้บริการรถสาธารณะ ปริมาณการใช้น้ามันดีเซลและก๊าซปิโตรเลียมเหลว ปริมาณผู้โดยสารรถไฟฟ้า จานวนรถบรรทุก และปริมาณการใช้น้ามันเบนซิน และ (3) บริการขนส่งทางน้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 2.6 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการขยายตัวของดัชนีปริมาณตู้สินค้าและปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางน้าของไทย สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 12.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และบริการไปรษณีย์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 9.7 ในไตรมาสก่อนหน้า รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยบริการขนส่งขยายตัวร้อยละ 8.8 ประกอบด้วย บริการขนส่ง ทางอากาศขยายตัวร้อยละ 26.2 บริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียงขยายตัวร้อยละ 5.6 และบริการขนส่ง ทางน้าขยายตัวร้อยละ 3.7 ตามลาดับ ส่วนบริการสนับสนุนการขนส่งขยายตัวร้อยละ 10.9 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวร้อยละ 10.8 สาขาการขายส่งและ การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 14 ร้อยละ 3.5 เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 12 ร้อยละ 9.0 เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของบริการขนส่งในทุกประเภททั้งบริการขนส่งทางอากาศ ทางบกและท่อลาเลียง และทางน้า 15 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook สาขาการก่อสร้าง: ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 15.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของการก่อสร้างภาครัฐ ในขณะที่การก่อสร้างภาคเอกชนลดลงต่อเนื่อง โดยในไตรมาสนี้ การก่อสร้างภาครัฐขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 33.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 7.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้างของรัฐบาลกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส ร้อยละ 49.4 ตามการเพิ่มขึ้นของการก่อสร้างโครงการสาคัญ ๆ เช่น โครงการโครงข่ายทางหลวงแผ่นดิน และโครงการพัฒนาทางและสะพานโครงข่ายทางหลวงชนบทสนับสนุนด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 2.5 ตามการปรับตัวเพิ่มขึ้นของการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ ๆ เช่น โครงการพัฒนาระบบส่งและจาหน่ายระยะที่ 2 (กฟภ.) และโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูนราษฎร์บูรณะ (รฟม.) ตามลาดับ ในขณะที่การก่อสร้างภาคเอกชนลดลงต่อเนื่องเป็น ไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 5.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวลดลง อย่างต่อเนื่องของการก่อสร้างที่อยู่อาศัยทุกประเภท รวมทั้งการก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะอาคารพาณิชย์ และการก่อสร้างอื่น ๆ สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีปริมาณการจาหน่ายวัสดุก่อสร้างและพื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส ร้อยละ 0.6 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ (ร้อยละ 4.1) หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา (ร้อยละ 3.4) หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (ร้อยละ 4.6) และหมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต (ร้อยละ 1.2) เป็นสาคัญ ในขณะที่ราคาวัสดุก่อสร้างสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง อาทิ หมวดเหล็ก (ลดลงร้อยละ 2.1) และหมวดสุขภัณฑ์ (ลดลงร้อยละ 3.4) เป็นต้น รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 สาขาการก่อสร้างลดลงร้อยละ 2.5 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยการก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 2.3 (การก่อสร้างของรัฐบาลลดลงร้อยละ 5.5 ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4) และการก่อสร้างภาคเอกชนลดลงร้อยละ 1.4 ผู้มีงานทา: จานวนผู้มีงานทาปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ตามการลดลงของผู้มีงานทาใน ภาคเกษตร เป็นสาคัญ ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ส่วนอัตรา การว่างงานลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าแต่สูงกว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในไตรมาสที่สามของปี 2567 ผู้มีงานทามีจานวนทั้งสิ้น 40.04 ล้านคน ลดลงร้อยละ 0.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า จาแนกเป็น ผู้มีงานทาชาวไทยจานวน 36.69 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 91.62) ลดลงร้อยละ 1.8 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า และผู้มีงานทาชาวต่างด้าวจานวน 3.35 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 8.38) เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.2 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผู้มีงานทาภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 30.50) ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 3.4 สอดคล้องกับการลดลงของผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการ เช่น ข้าวเปลือก กลุ่มไม้ผล กุ้งขาวแวนนาไม มันสาปะหลัง และยางพารา เป็นต้น ในขณะที่ผู้มีงานทานอกภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 69.50) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ร้อยละ 1.4 ตามการเพิ่มขึ้นของผู้มีงานทาในสาขาพักแรมและบริการด้านอาหาร และสาขาก่อสร้าง เป็นสาคัญ ส่วนสาขาอุตสาหกรรม และสาขาขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และรถจักรยานยนต์ปรับตัวลดลง สาหรับอัตราการว่างงานในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 1.02 ต่ากว่าร้อยละ 1.07 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 0.99 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 4.14 แสนคน ต่ากว่าผู้ว่างงานจานวน 4.29 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าผู้ว่างงานจานวน 4.01 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนหน้า เฉลี่ย 9 เดือนแรกของปี 2567 ผู้มีงานทาลดลงร้อยละ 0.2 ตามการลดลงของผู้มีงานทาในภาคเกษตร เป็นสาคัญ และอัตราการว่างงานเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.03 สาขาการก่อสร้างกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรก ในรอบ 4 ไตรมาส ร้อยละ 15.5 ตามการเพิ่มขึ้นของการก่อสร้างภาครัฐ โดยเฉพาะการก่อสร้างของรัฐบาล ในขณะที่ การก่อสร้างภาคเอกชนลดลงต่อเนื่อง ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส ร้อยละ 0.6 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ และหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา เป็นสาคัญ จานวนผู้มีงานทาปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ตามการปรับตัวลดลงต่อเนื่องของผู้มีงานทา ในภาคเกษตร เป็นสาคัญ ในขณะที่ผู้มีงานทา นอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 อัตราการว่างงานอยู่ที่ ร้อยละ 1.02 ต่ากว่า ไตรมาสก่อนหน้าแต่สูงกว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 16 Economic Outlook NESDC สถานการณ์ด้านแรงงานในระบบประกันสังคม: จานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 14 โดยสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 สูงกว่าไตรมาสก่อน หน้าแต่ใกล้เคียงไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสที่สามของปี 2567 ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม รวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ประกอบด้วย ผู้ประกันตนภาคบังคับ ตามมาตรา 33 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้า และผู้ประกันตนตาม ความสมัครใจ (มาตรา 40) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 39) ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 9 ร้อยละ 6.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 5.9 ในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 ในไตรมาส นี้อยู่ที่ร้อยละ 1.93 ใกล้เคียงกับร้อยละ 1.92 ในไตรมาสก่อนหน้า และเท่ากับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีจานวนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 เฉลี่ยจานวน 2.33 แสนคน สูงกว่าจานวน 2.30 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าจานวน 2.29 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จานวนผู้ประกันตนใน ระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 14 ร้อยละ 0.8 ตามการเพิ่มขึ้น ของผู้ประกันตนภาคบังคับ ตามมาตรา 33 และ ผู้ประกันตนตาม ความสมัครใจ (มาตรา 40) ในขณะที่ผู้ประกันตนตาม ความสมัครใจ (มาตรา 39) ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง เป็นไตรมาสที่ 9 สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับ ประโยชน์กรณีว่างงานตาม มาตรา 33 ในไตรมาสนี้ อยู่ที่ร้อยละ 1.93 ใกล้เคียงกับร้อยละ 1.92 ในไตรมาสก่อนหน้า และเท่ากับไตรมาส เดียวกันของปีก่อน 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 35 36 37 38 39 40 41 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 2567 ผู้มีงานทาลดลงร้อยละ 0.1 ตามการลดลงของผู้มีงานทาภาคเกษตร อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 1.02 การจ้างงาน อัตราการว่างงาน (แกนขวา) (ล้านคน) (ร้อยละ) ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) การจ้างงานจาแนกตามสาขาการผลิต %YOY สัดส่วน Q3/67 2566 2567 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 ผู้มีงานทารวม 100.00 1.8 2.4 1.7 1.3 1.7 -0.1 -0.4 -0.1 - ภาคเกษตร 30.50 1.2 1.6 -0.2 2.0 1.0 -5.7 -5.0 -3.4 - นอกภาคเกษตร 69.50 2.0 2.7 2.5 1.0 2.0 2.2 1.5 1.4 อุตสาหกรรม 15.45 0.1 0.4 0.3 0.6 -2.3 0.7 2.2 -1.4 ก่อสร้าง 5.39 2.1 -1.8 6.0 2.9 3.1 5.0 1.5 0.7 สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ฯ 16.75 1.8 4.4 0.5 -0.2 3.8 -0.4 0.2 -0.8 ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 8.42 9.3 8.2 11.7 8.3 8.0 10.6 4.9 6.1 กาลังแรงงานรวม (ล้านคน) 40.45 40.28 40.31 40.53 40.67 40.23 40.18 40.48 จานวนผู้มีงานทา (ล้านคน) 39.92 39.63 39.68 40.09 40.25 39.58 39.50 40.04 จานวนผู้ว่างงาน (ล้านคน) 0.40 0.42 0.43 0.40 0.33 0.41 0.43 0.41 อัตราการว่างงาน (%) 0.98 1.05 1.06 0.99 0.81 1.01 1.07 1.02 ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 10,500,000 11,000,000 11,500,000 12,000,000 12,500,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 2562 2563 2564 2565 2566 2567 จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ 12.1 ล้านคน และสัดส่วนผู้ใช้บริการกรณีว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 1.93 จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ สัดส่วนผู้ใช้บริการ กรณีว่างงาน (แกนขวา) (ล้านคน) (ร้อยละ) ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน จานวนผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) และผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 จานวน (พันคน) 2566 2567 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33)1/ 11,891 11,689 11,725 11,842 11,891 11,883 12,006 12,096 ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.39)2/ 1,798 1,866 1,850 1,826 1,798 1,770 1,740 1,716 ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.40)3/ 10,958 10,911 10,935 10,957 10,958 10,980 10,996 11,004 รวมผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) 24,647 24,466 24,511 24,625 24,647 24,634 24,742 24,816 ผปู้ ระกันตนทไ ดร้ บั ประโยชนก์ รณวี งงานจาก ม.33 207 227 250 229 207 218 231 233 สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 (ร้อยละ) 1.74 1.94 2.13 1.93 1.74 1.84 1.92 1.93 ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน หมายเหตุ: 1/ ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33) คือ พนักงานบริษัทเอกชนทั่วไป ซึ่งมีสถานะเป็นลูกจ้างที่ทางานอยู่ในสถานประกอบการที่มีพนักงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป อายุไม่ต่ากว่า 15 ปี และไม่เกิน 60 ปี 2/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.39) คือ บุคคลที่เคยทางานอยู่ในบริษัทเอกชนในมาตรา 33 มาก่อนแล้วลาออกแต่ต้องการรักษาสิทธิประกันสังคมไว้ จึงสมัครเข้าใช้สิทธิ ประกันสังคมในมาตรา 39 แทน 3/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.40) คือ ผู้ประกันตนในมาตรา 40 นี้ คือ บุคคลที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างในบริษัทเอกชนตามมาตรา 33 และไม่เคยสมัครเป็นผู้ประกันตนใน มาตรา 39 ผู้ที่จะสมัครประกันสังคมในมาตรา 40 ได้นั้น ต้องเป็นผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระหรือแรงงานนอกระบบ มีอายุไม่ต่ากว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 60 ปี 17 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook การจัดเก็บรายได้รัฐบาล ในไตรมาสที่สี่ของปีงบประมาณ 2567 (กรกฎาคม - กันยายน 2567) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 782,425.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 10.0 โดยเป็นผลมาจาก (1) การนาส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 129.2 เนื่องจากบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) มีการนาส่งเงินปันผลระหว่างกาล ปี 2567 ล่วงหน้า จากปกติที่มีกาหนดนาส่งในช่วงเดือนตุลาคม (2) การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0 สอดคล้องกับการนาเข้าและการบริโภคในประเทศที่เพิ่มขึ้น (3) การนาส่งรายได้ของส่วนราชการอื่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.6 เนื่องจากการนาส่งค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมย่าน 900 MHz ของสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เป็นสาคัญ (4) การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.9 และ (5) การจัดเก็บภาษีเงินได้ นิติบุคคลเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 จากผลประกอบการของภาคธุรกิจที่ปรับตัวดีขึ้น รวมทั้งปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ จานวน 2,792,910.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้าร้อยละ 4.7 แต่ต่ากว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณร้อยละ 0.1 โดยภาษีที่จัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ ที่สาคัญ ได้แก่ (1) ภาษีรถยนต์ ต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 35.8 เนื่องจากการลดลงของปริมาณการจาหน่าย รถกระบะ และรถอเนกประสงค์ที่มีพื้นฐานและดัดแปลงมาจากรถกระบะ (Pick-Up Passenger Vehicle: PPV) และมาตรการลดอัตราภาษีรถยนต์ไฟฟ้าลงร้อยละ 80 เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า (2) ภาษีเงินได้นิติบุคคล ต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 3.4 โดยมีสาเหตุจากการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับ ครึ่งรอบระยะเวลาบัญชีหรือรอบ 6 เดือน (ภ.ง.ด. 51) และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด. 53) (3) ภาษีสรรพสามิตน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน ต่ากว่าเป้าหมายร้อยละ 11.7 เนื่องจากมีการปรับลดอัตราภาษีน้ามันดีเซลและน้ามันเบนซิน4 ขณะที่รายได้ที่จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการที่สาคัญ ได้แก่ (1) รายได้นาส่งของรัฐวิสาหกิจ สูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 25.4 และ (2) รายได้นาส่งของส่วนราชการอื่น สูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 8.8 เนื่องจากการนาส่งเงินเหลือจ่ายจากเงินกู้ พระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 และการนาส่งเงินส่วนเกินจากการจาหน่ายพันธบัตรจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสที่สี่ของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลมีการใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 849,007.8 ล้านบาท5 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 9.0 ประกอบด้วย การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จานวน 736,888.3 ล้านบาท6 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 12.6 จาแนกเป็น (1) รายจ่ายประจา จานวน 557,579.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6.1 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 19.9 เทียบกับร้อยละ 20.5 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนและร้อยละ 31.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และ (2) รายจ่ายลงทุน จานวน 179,308.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 39.3 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 26.3 เทียบกับร้อยละ 20.9 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อนและร้อยละ 25.4 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายในหมวดครุภัณฑ์ การจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิ ในไตรมาสที่สี่ ปีงบประมาณ 2567 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.0 ตามการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นิติบุคคล และการนาส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจและส่วนราชการอื่นที่เพิ่มขึ้น 4 วันที่ 20 กันยายน - 31 ธันวาคม 2566 ลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 2.50 บาทต่อลิตร วันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 - 31 มกราคม 2567 ลดอัตราภาษีน้ามันเบนซิน 1 บาทต่อลิตร วันที่ 20 มกราคม - 19 เมษายน 2567 ลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 1 บาทต่อลิตร 5 การใช้จ่ายของรัฐบาล ประกอบด้วย (1) งบประมาณรายจ่ายประจาปี (2) งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี (3) งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (รวมการลงทุนในประเทศของ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ) หักรายจ่ายลงทุนที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี และ (4) เงินกู้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19ฯ 6 ไม่รวมงบกลาง รายการค่าใช้จ่ายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจ จานวน 122,000 ล้านบาท ปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 2.792 ล้านล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ ร้อยละ 0.1 การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสที่สี่ ปีงบประมาณ 2567 เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0 เนื่องจากการเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี ด้านการคลัง กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 18 Economic Outlook NESDC การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 34,202.7 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 19.6 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 21.4 สาหรับการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือที่ลงทุนในประเทศ) จานวน 87,547.6 ล้านบาท7 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ร้อยละ 8.2 โดยเป็นผลมาจากการลดลงของการเบิกจ่ายของการรถไฟแห่งประเทศไทย และบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือที่ลงทุนในประเทศ เป็นสาคัญ ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจที่มีมูลค่าการเบิกจ่ายสูงสุด 5 อันดับ แรก ได้แก่ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ ไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย และการประปานครหลวง ในส่วนของการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้พระราชกาหนดให้ อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจาก การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19ฯ) จานวน 8.0 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลมีการใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 3,764,374.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 4.1 โดย (1) การเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จานวน 3,273,958.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 94.1 ต่ากว่าร้อยละ 97.0 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) โดยมี การเบิกจ่ายรายจ่ายประจา จานวน 2,829,320.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.4 (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 101.1 เทียบกับร้อยละ 101.6 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) และการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน จานวน 444,637.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 7.0 (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 65.2 ต่ากว่าร้อยละ 77.7 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) (2) การเบิกจ่าย งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 146,429.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 15.8 (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 91.4 สูงกว่าร้อยละ 91.3 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมการลงทุนในประเทศ ของบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ จานวน 379,681.2 ล้านบาท8 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 โดยรัฐวิสาหกิจที่มีการเบิกจ่ายงบลงทุนสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การรถไฟแห่งประเทศไทย และการรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนแห่งประเทศไทย และ (4) พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19ฯ จานวน 19.5 ล้านบาท หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2567 มีมูลค่าทั้งสิ้น 11,627,853.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 63.3 ของ GDP ลดลงจากร้อยละ 63.4 ณ สิ้นไตรมาสที่สามของปีงบประมาณ 2567 โดยหนี้สาธารณะ ประกอบด้วย เงินกู้ภายในประเทศ 11,505,765.8 ล้านบาท (ร้อยละ 99.0 ของหนี้สาธารณะ) และเงินกู้จากต่างประเทศ 122,087.7 ล้านบาท (ร้อยละ 1.0 ของหนี้สาธารณะ) ทั้งนี้ แบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล 10,259,126.2 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,066,825.8 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาล ค้าประกัน) 189,252.9 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 112,648.6 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 88.2 ร้อยละ 9.2 ร้อยละ 1.6 และร้อยละ 1.0 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลาดับ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2567 หนี้สาธารณะคงค้าง อยู่ที่ร้อยละ 63.3 ของ GDP เทียบกับ ร้อยละ 63.4 ในไตรมาส ก่อนหน้า ในปีงบประมาณ 2567 การใช้จ่ายของรัฐบาล เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.1 จากการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่าย ประจาปี และงบลงทุน รัฐวิสาหกิจ 7 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 9,638.9 ล้านบาท 8 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 35,714.2 ล้านบาท -40 -20 0 20 40 60 80 100 -400,000 -200,000 0 200,000 400,000 600,000 800,000 1,000,000 1,200,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 62 63 64 65 66 67 ล้านบาท ร้อยละ ที่มา: ระบบ GFMIS ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2567 การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี รายจ่ายลงทุน (แกนซ้าย) รายจ่ายประจา (แกนซ้าย) อัตราการขยายตัวของการเบิกจ่ายรวม (แกนขวา) 0 10 20 30 40 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 62 63 64 65 66 67 ร้อยละ ที่มา: ระบบ GFMIS ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2567 อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 19 Economic Outlook NESDC ฐานะการคลัง ในไตรมาสที่สี่ของปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 105,656 ล้านบาท เมื่อรวมกับ การเกินดุลเงินนอกงบประมาณ 14,947 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 154,830 ล้านบาท ทาให้ รัฐบาลเกินดุลเงินสดสุทธิ 64,121 ล้านบาท และเมื่อรวมกับเงินคงคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่สามของปีงบประมาณ 2567 จานวน 449,980 ล้านบาท ส่งผลให้ฐานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2567 รวมทั้งสิ้น 514,101 ล้านบาท รวมทั้งปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 750,676 ล้านบาท เมื่อรวมกับการเกินดุลเงินนอก งบประมาณ 142,721 ล้านบาท และมีการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 583,000 ล้านบาท ส่งผลให้รัฐบาลยังคง ขาดดุลเงินสดหลังกู้สุทธิ 24,955 ล้านบาท 0 10 20 30 40 50 60 70 0 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 12,000 14,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 62 63 64 65 66 67 พันล้านบาท ร้อยละ ที่มา: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะคงค้าง หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ หนี้สาธารณะคงค้าง ต่อ GDP (แกนขวา) 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 300,000 350,000 400,000 0 100,000 200,000 300,000 400,000 500,000 600,000 700,000 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 62 63 64 65 66 67 ที่มา: กระทรวงการคลัง สถานะเงินคงคลัง สถานะเงินคงคลัง ณ สิ้นงวด (แกนซ้าย) กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (แกนขวา) ล้านบาท ล้านบาท เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน กันยายน 2567 อยู่ที่ 514,101 ล้านบาท มาตรการการเงินการคลัง ปี 2567 และปี 2568 20 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยทรงตัวที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี ในไตรมาสที่สามของปี 2567 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในการประชุมวันที่ 21 สิงหาคม 2567 มีมติ 6 ต่อ 1 เสียง ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 2.50 ต่อปี โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ในระดับปัจจุบันสอดคล้องกับการขยายตัวของเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มเข้าสู่ศักยภาพและการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและการเงินในระยะยาว ทั้งนี้ การดาเนินนโยบายการเงินของไทยสอดคล้องกับทิศทางนโยบายการเงินของธนาคารกลางในภูมิภาค ได้แก่ เกาหลีใต้ อินเดีย เวียดนาม และมาเลเซีย ที่คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับเดิม ขณะที่ธนาคารกลางอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 เพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจ ด้านธนาคารกลางจีนคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย แต่ปรับลดอัตราส่วนการกันสารองของธนาคารพาณิชย์ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะกลาง (MLF) และอัตราดอกเบี้ย Reverse Repo เพื่อเพิ่มสภาพคล่องในระบบเศรษฐกิจ สาหรับธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลักส่วนใหญ่ดาเนินนโยบายทางการเงินในทิศทางผ่อนคลายลง อาทิ ธนาคารกลางสหรัฐฯ สหภาพยุโรป อังกฤษ และแคนาดา ที่ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายหลังจากอัตราเงินเฟ้อเริ่มกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมาย ขณะที่ธนาคารกลางญี่ปุ่นปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 0.25 เพื่อลดแรงกดดันจากเงินเฟ้อ ในเดือนตุลาคม 2567 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2567 กนง. มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงร้อยละ 0.25 เป็นครั้งแรกในรอบ 53 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 20 พฤษภาคม 2563 เพื่อบรรเทาภาระหนี้ภาคครัวเรือน ที่อยู่ในระดับสูงโดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ พร้อมทั้งส่งสัญญาณว่า อัตราดอกเบี้ยปัจจุบันมีความเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ และสอดคล้องกับทิศทางนโยบายการเงินของทั้งประเทศเศรษฐกิจหลักและประเทศในภูมิภาค อาทิ สหภาพยุโรป แคนาดา จีน ฟิลิปปินส์ และเกาหลีใต้ ธนาคารแห่งประเทศไทยคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับเดิม สอดคล้องกับประเทศส่วนใหญ่ ในภูมิภาค ขณะที่ประเทศเศรษฐกิจหลักส่วนใหญ่ผ่อนคลายนโยบายการเงินต่อเนื่อง ภาวะการเงิน อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (ร้อยละ) ณ สิ้นงวด 2565 2566 2567 ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. สหรัฐฯ 4.25-4.50 5.25-5.50 4.75-5.00 5.00-5.25 5.25-5.50 5.25-5.50 5.25-5.50 5.25-5.50 4.75-5.00 5.25-5.50 5.25-5.50 4.75-5.00 4.75-5.00 สหภาพยุโรป 2.50 4.50 3.50 4.00 4.50 4.50 4.50 4.25 3.65 4.25 4.25 3.65 3.40 อังกฤษ 3.50 5.25 4.25 5.00 5.25 5.25 5.25 5.25 5.00 5.25 5.00 5.00 5.00 แคนาดา 4.25 5.00 4.50 4.75 5.00 5.00 5.00 4.75 4.25 4.50 4.50 4.25 3.75 ไทย 1.25 2.50 1.75 2.00 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.25 รัสเซีย 7.50 16.00 7.50 7.50 13.00 16.00 16.00 18.00 19.00 18.00 18.00 19.00 21.00 อินโดนีเซีย 5.50 6.00 5.75 5.75 5.75 6.00 6.00 6.25 6.00 6.25 6.25 6.00 6.00 จีน 3.65 3.45 3.65 3.55 3.45 3.45 3.45 3.35 3.35 3.35 3.35 3.35 3.10 บราซิล 13.75 11.75 13.75 13.75 12.75 11.75 10.75 10.50 10.75 10.5 10.5 10.75 10.75 ญี่ปุ่น -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 0.10 0.10 0.25 0.10 0.25 0.25 0.25 ฟิลิปปินส์ 5.50 6.50 6.25 6.25 6.25 6.50 6.5 6.5 6.25 6.50 6.25 6.25 6.00 เกาหลีใต้ 3.25 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.25 อินเดีย 6.25 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 ออสเตรเลีย 3.10 4.35 3.60 4.10 4.10 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 นิวซีแลนด์ 4.25 5.50 4.75 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 5.50 เวียดนาม 4.50 3.00 3.50 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 มาเลเซีย 2.75 3.00 2.75 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 ที่มา: รวบรวมโดย สศช. ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2567 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ธนาคารพาณิชย์ขนาดกลาง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) คงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ที่ระดับเดิม โดยในไตรมาสที่สามของปี 2567 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ธนาคารพาณิชย์ขนาดกลาง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือน ไว้ที่ร้อยละ 1.65 ร้อยละ 1.58 และร้อยละ 1.73 ตามลาดับ และคงอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้า รายใหญ่ชั้นดี (MLR) ไว้ที่ร้อยละ 7.25 และร้อยละ 8.30 และร้อยละ 6.79 ตามลาดับ ในขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ที่แท้จริงเฉลี่ยทุกธนาคารปรับตัวเพิ่มขึ้นตามอัตราเงินเฟ้อที่ชะลอตัวลง ในเดือนตุลาคม 2567 ธนาคารพาณิชย์ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือน จากร้อยละ 1.65 เป็นร้อยละ 1.63 พร้อมทั้งปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) จากร้อยละ 7.25 เป็นร้อยละ 7.21 สอดคล้องกับการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของคณะกรรมการนโยบายการเงิน ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ธนาคารพาณิชย์ขนาดกลาง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) คงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ในระดับเดียวกับไตรมาสที่แล้ว กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 21 Economic Outlook NESDC ณ สิ้นไตรมาสที่สามของปี 2567 เงินให้กู้ยืมคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวร้อยละ 0.20 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 1.00 ในไตรมาสที่แล้ว ตามการลดลงของเงินให้กู้ยืมของธนาคารพาณิชย์และ การชะลอลงของเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ เงินให้กู้ยืมภาคเอกชนในระบบธนาคารพาณิชย์ลดลงร้อยละ 1.42 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.48 ในไตรมาส ก่อนหน้า และเป็นการลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 ของปี 2566 โดยเงินให้กู้ยืมในภาคธุรกิจลดลงร้อยละ 0.77 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.08 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลจากการลดลงของทั้งสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ และธุรกิจ SMEs โดยสินเชื่อธุรกิจ SMEs ลดลงร้อยละ 3.28 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 4.78 ในไตรมาส ก่อนหน้า โดยเฉพาะในสาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ สาขาการผลิต และสาขากิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ ขณะที่สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ลดลงร้อยละ 1.63 เทียบกับการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.79 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะในสาขาการเงินและการประกันภัย สาขาการผลิต และสาขาการขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ทั้งนี้ ในไตรมาสที่สามของปี 2567 มาตรฐานการให้ สินเชื่อโดยรวมทั้งธุรกิจขนาดใหญ่และธุรกิจ SMEs มีความเข้มงวดมากขึ้นในกลุ่มผู้กู้ที่มีความเสี่ยงสูงขึ้น เนื่องจากการลดลงของความเชื่อมั่นต่อภาวะเศรษฐกิจและสาขาธุรกิจ รวมถึงความเสี่ยงด้านหลักทรัพย์ ค้าประกันที่ปรับสูงขึ้น ส่งผลให้สถาบันการเงินบางแห่งเพิ่มความเข้มงวดในการกาหนดเงื่อนไขประกอบสัญญา การให้สินเชื่อ โดยเพิ่มหลักทรัพย์ค้าประกัน และปรับเพิ่มมูลค่าหลักประกัน (Margin) สาหรับกลุ่มธุรกิจที่มี ความเสี่ยงให้สูงขึ้น สาหรับเงินให้กู้ยืมภาคครัวเรือน ลดลงร้อยละ 2.11 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.08 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของสินเชื่อเพื่อการซื้อหรือเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ และสินเชื่อเพื่อ การบริโภคส่วนบุคคลอื่น ๆ เป็นสาคัญ ซึ่งเป็นผลจากภาระหนี้สินภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง และคุณภาพสินเชื่อ ที่ปรับลดลง ประกอบกับมาตรฐานการให้สินเชื่อภาคครัวเรือนมีความเข้มงวดมากขึ้นในกลุ่มผู้กู้ที่มีความเสี่ยงสูงขึ้น ในทุกประเภทสินเชื่อ เนื่องจากสถาบันการเงินมีความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจและจากความน่าเชื่อถือด้านเครดิต ของผู้กู้ ส่งผลให้สถาบันการเงินบางแห่งมีการปรับเพิ่มเกณฑ์รายได้ขั้นต่าในการขอสินเชื่อประเภทเช่าซื้อรถยนต์ และสินเชื่อเพื่อการบริโภคอื่น เงินให้กู้ยืมภาคเอกชนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในไตรมาสที่สาม ของปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 2.64 ชะลอตัว จากการขยายตัวร้อยละ 3.54 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของทั้งสินเชื่อภาคธุรกิจและสินเชื่อครัวเรือน โดยเฉพาะสินเชื่อภาคครัวเรือนที่ชะลอตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากภาระหนี้ของภาคครัวเรือน ที่อยู่ในระดับสูงและคุณภาพสินเชื่อที่ลดลงต่อเนื่อง ผลการดาเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทยเฉลี่ย ในไตรมาสที่สาม ของปี 2567 ธนาคารพาณิชย์มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.32 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.49 ในไตรมาสก่อนหน้า และมีรายจ่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.88 เทียบกับ การเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.80 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่รายได้ดอกเบี้ยสุทธิต่อสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ดอกเบี้ย เฉลี่ย (NIM) อยู่ที่ร้อยละ 3.32 เทียบกับร้อยละ 3.28 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 3.18 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน เงินให้กู้ยืมคงค้าง ภาคเอกชนของสถาบันรับ ฝากเงินชะลอตัวลง ตามการหดตัวของเงิน ให้กู้ยืมของธนาคาร พาณิชย์และการชะลอลง ของเงินให้กู้ยืมของ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ -4 -2 0 2 4 6 8 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 63 64 65 66 67 %YOY %YOY เงินให้กู้ยืมภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) ของธนาคารพาณิชย์ลดลง เงินให้กู้ยืมภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) เงินให้กู้ยืมภาคธุรกิจ (แกนขวา) เงินให้กู้ยืมภาคครัวเรือน (แกนขวา) ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 0 2 4 6 8 10 12 14 0 1 2 3 4 5 6 7 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 63 64 65 66 67 %YOY %YOY เงินให้กู้ยืมภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) ของสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ ชะลอตัวจากไตรมาสก่อนหน้า เงินให้กู้ยืมภาคครัวเรือน (แกนขวา) เงินให้กู้ยืมภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) เงินให้กู้ยืมภาคธุรกิจ (แกนขวา) ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 22 Economic Outlook NESDC สถานการณ์และคุณภาพสินเชื่อของนิติบุคคล (ข้อมูลของบริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด) ข้อมูลสินเชื่อของบริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด ในไตรมาสที่สองของปี 2567 พบว่า สินเชื่อนิติบุคคล ขยายตัวร้อยละ 1.45 ชะลอลงจากการขยายตัว ร้อยละ 2.53 ในไตรมาสก่อนหน้า เมื่อจาแนกสินเชื่อตามสาขาธุรกิจ (TSIC) พบว่า ยอดคงค้างสินเชื่อนิติบุคคลสาขาสาคัญ ๆ ชะลอลงทุกสาขา ยกเว้น สาขาบริการที่ยังคงขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า อาทิ บริการข้อมูล ข่าวสารและการสื่อสาร บริการสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ ในขณะที่ บริการที่พักแรมและบริการด้านอาหารมียอดสินเชื่อคงค้างลดลงต่อเนื่อง ส่วนสาขาอสังหาริมทรัพย์ยังคงขยายตัวได้ในเกณฑ์สูง ทั้งนี้ เมื่อจาแนกตาม วงเงินสินเชื่อ พบว่า กลุ่มผู้ประกอบการขนาดเล็กและเล็กมาก (วงเงินสินเชื่อ ไม่เกิน 100 ล้านบาท) มียอดคงค้างสินเชื่อนิติบุคคลลดลง ส่วนกลุ่มที่มีวงเงิน สินเชื่อมากกว่า 100 ล้านบาทยังคงขยายตัวได้ดี ด้านคุณภาพสินเชื่อนิติบุคคลในไตรมาสที่สองของปี 2567 พิจารณาจาก สัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loans : NPLs)1 และ สัดส่วนเงินให้สินเชื่อกล่าวถึงเป็นพิเศษ (Special Mention Loans : SMLs)2 ต่อยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อรวม พบว่าคุณภาพของสินเชื่อนิติบุคคลในภาพรวม ด้อยลงจากไตรมาสก่อน โดยสัดส่วน NPLs อยู่ที่ร้อยละ 3.74 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.71 ในไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ดี มีแนวโน้มว่าคุณภาพสินเชื่อจะปรับดีขึ้น สะท้อนจากสัดส่วน SMLs ที่ลดลงจากร้อยละ 2.07 ในไตรมาสที่แล้ว มาเป็นร้อยละ 1.97 ในไตรมาสนี้ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาตามขนาดธุรกิจพบว่า สัดส่วน NPLs ของ สถานประกอบการขนาดเล็กและเล็กมาก (วงเงินสินเชื่อไม่เกิน 100 ล้านบาท) ยังคงอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะในสาขาสาขาก่อสร้างที่มีสัดส่วน NPLs สูงถึง ร้อยละ 14.53 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.43 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับ สัดส่วน SMLs ของสินเชื่อที่มีวงเงินขนาดเล็กและเล็กมากยังคงอยู่ในระดับสูง เช่นกัน โดยเฉพาะในสาขาก่อสร้าง สาขาสาธารณูปโภค และสาขาบริการ (อาทิ สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร) ซึ่งมีสัดส่วน SMLs ร้อยละ 9.13 ร้อยละ 9.08 และร้อยละ 6.85 ตามลาดับ จึงถือเป็นกลุ่มที่จะต้องติดตามคุณภาพ สินเชื่ออย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เป็นข้อจากัดต่อการขยายตัวของธุรกิจในระยะต่อไป 1 สินเชื่อที่มีสถานะค้างชาระตั้งแต่ 90 วันขึ้นไป 2 สินเชื่อที่มีสถานะค้างชาระระหว่าง 1 - 90 วัน 1.43 -0.30 -0.22 -0.58 0.79 -0.51 1.09 2.52 3.04 2.28 -1.5 -0.5 0.5 1.5 2.5 3.5 Q1/67 Q2/67 ต่ากว่า 5 ล้านบาท 5 20 ล้านบาท 21 100 ล้านบาท 101 500 ล้านบาท มากกว่า 500 ล้านบาท สินเชื่อนิติบุคคลของธุรกิจขนาดใหญ่ยังขยายตัวได้ดี %YoY ที่มา: บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ (NCB) 0.77 -0.27 -0.23 -0.66 1.64 0.58 -0.13 -4.11 3.36 6.04 16.90 15.96 4.43 3.53 -10 -5 0 5 10 15 20 Q1/67 Q2/67 ไม่ระบุประเภท (25%) ขายปลีก ขายส่ง (17%) การผลิต (19%) การเงิน (11%) บริการ (9%) อสังหาฯ (8%) ก่อสร้าง (3%) สินเชื่อนิติบุคคล ในสาขาสาคัญๆ ชะลอลงทุกสาขา ยกเว้นสาขาบริการ %YoY ที่มา: บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ (NCB) 8.19 8.86 6.02 7.56 7.59 14.53 4 6 8 10 12 14 16 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 63 64 65 66 67 %NPL ต่อสินเชื่อรวม การผลิต (18.5%) ขายส่ง ปลีก (16.9%) บริการ (8.9%) อสังหาฯ (8.3%) สาธารณูปโภค (7.5%) ก่อสร้าง (3.5%) สัดส่วน NPL สินเชื่อรายสาขาที่มีวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท ที่มา: บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ (NCB) 4.12 5.11 6.85 3.54 9.08 9.13 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 63 64 65 66 67 %SML ต่อสินเชื่อรวม การผลิต (18.5%) ขายส่ง ปลีก (16.9%) บริการ (8.9%) อสังหาฯ (8.3%) สาธารณูปโภค (7.5%) ก่อสร้าง (3.5%) สัดส่วน SML สินเชื่อรายสาขาที่มีวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท ที่มา: บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ (NCB) กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 23 Economic Outlook NESDC อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. เฉลี่ยในไตรมาสสามของปี 2567 แข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสที่สามของปี 2567 เงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 34.81 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ร้อยละ 5.17 สอดคล้องกับการอ่อนค่าลงร้อยละ 2.37 ของดัชนีดอลลาร์ สรอ. (Dollar Index) ซึ่งเป็นผลจาก การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ ในอัตราร้อยละ 0.50 และเป็นการปรับลดครั้งแรก ในรอบ 4 ปี ขณะเดียวกัน ค่าเงินบาทได้รับแรงสนับสนุนเพิ่มเติมจากการไหลเข้าของเงินลงทุนในตลาด หลักทรัพย์และตลาดตราสารหนี้ เนื่องจากความต้องการสินทรัพย์เสี่ยงที่เพิ่มขึ้นหลังธนาคารกลางสหรัฐฯ เริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ย ประกอบกับสถานการณ์การเมืองภายในประเทศที่มีความชัดเจนมากขึ้นภายหลัง การจัดตั้งรัฐบาล และความคาดหวังของนักลงทุนในการเข้าซื้อหลักทรัพย์ไทยของกองทุนวายุภักษ์ ทั้งนี้ การแข็งค่าของเงินบาทในไตรมาสนี้ สอดคล้องกับการแข็งค่าของเงินสกุลต่าง ๆ ในภูมิภาค อาทิ มาเลเซีย (ร้อยละ 5.77) ญี่ปุ่น (ร้อยละ 4.10) สิงค์โปร์ (ร้อยละ 2.42) อินโดนีเซีย (ร้อยละ 2.19) เกาหลีใต้ (ร้อยละ 0.84) ฟิลิปปินส์ (ร้อยละ 0.84) ฮ่องกง (ร้อยละ 0.23) และไต้หวัน (ร้อยละ 0.16) และเมื่อเทียบกับประเทศ คู่ค้า/คู่แข่ง พบว่า เงินบาทเคลื่อนไหวในทิศทางแข็งค่าขึ้น โดยดัชนีค่าเงินบาท (NEER) เฉลี่ยอยู่ที่ 121.84 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.97 จากไตรมาสก่อนหน้า ในเดือนตุลาคม 2567 เงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 33.36 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ย ในไตรมาสที่สาม อย่างไรก็ดี ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวในทิศทางที่อ่อนค่าลงตลอดทั้งเดือน ตามการแข็งค่าขึ้นของ เงินดอลลาร์ สรอ. ซึ่งเป็นผลจากความไม่แน่นอนของการเมืองสหรัฐฯ รวมทั้งความขัดแย้งในตะวันออกกลาง ส่งผลให้ค่าเงินบาทเฉลี่ยในช่วง 10 เดือนแรก อยู่ที่ 35.45 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 1.84 จากค่าเฉลี่ยที่ 34.81 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในปี 2566 เงนิ บาทเทยี บกบั ดอลลาร สรอ. เฉลี่ยแข็งค่าขึ้นจากไตรมาส ก่อนหน้า สอดคล้องกับ ทศิ ทางคา เงนิ สกลุ อนื่ ในภูมิภาค ภายหลัง ธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับลดอัตราดอกเบี้ย เป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี -5.77 -5.17 -4.10 -2.42 -2.19 -0.84 -0.84 -0.23 -0.16 0.02 0.13 0.41 มาเลเซีย ไทย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ ฟ ลิปป นส์ องกง ไต้หวัน เวียดนาม จีน อินเดีย การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินประเทศต่าง ๆ เทียบกับค่าเงิน ดอลลาร์ สรอ. เฉลี่ยในไตรมาสที่ 3 ของปี 2567 (เทียบกับ ค่าเฉลี่ยของไตรมาสก่อนหน้า) ที่มา: CEIC ค่าเงินบาทมีความผันผวนในระดับสูง ในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2567 ค่าเงินบาทมีความผันผวนมากดังจะเห็นได้จากการเคลื่อนไหวในกรอบ 32.29 - 37.10 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. โดยในไตรมาสที่สองของปี 2567 ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 36.71 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 2.96 จากไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ดี ในช่วงไตรมาสที่สามของปี 2567 เงินบาทเคลื่อนไหวแข็งค่าขึ้นภายหลังธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.50 ซึ่งเป็นการปรับลดครั้งแรกในรอบ 4 ปี ส่งผลให้เงินบาทเฉลี่ยในไตรมาสที่สามอยู่ที่ 34.81 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นร้อยละ 5.1 7 จากไตรมาสก่อนหน้า โดยแข็งค่ามากที่สุดเป็นอันดับสองในภูมิภาค รองจากมาเลเซียที่แข็งค่าร้อยละ 5.77 และในเดือนตุลาคม 2567 ต่อเนื่อง ถึงช่วงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2567 เงินบาทกลับมาเคลื่อนไหวในทิศทางที่อ่อนค่าลงอีกครั้งตามการแข็งค่าขึ้นของเงินดอลลาร์ สรอ. 29.0 30.0 31.0 32.0 33.0 34.0 35.0 36.0 37.0 38.0 95 39.0 100 105 110 115 120 125 130 ม.ค. 63 เม.ย. 63 ก.ค. 63 ต.ค. 63 ม.ค. 64 เม.ย. 64 ก.ค. 64 ต.ค. 64 ม.ค. 65 เม.ย. 65 ก.ค. 65 ต.ค. 65 ม.ค. 66 เม.ย. 66 ก.ค. 66 ต.ค. 66 ม.ค. 67 เม.ย. 67 ก.ค. 67 ต.ค. 67 ดัชนี NEER REER บาท/ดอลลาร์ สรอ. (แกนขวา) บาท/ดอลลาร์ สรอ. ค่าเงินบาทเฉลี่ยเฉลี่ยแข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ที่มา: CEIC, ธนาคารแห่งประเทศไทย กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 24 Economic Outlook NESDC ค่าเงินบาทมีความผันผวนในระดับสูง (ต่อ) ทิศทางการเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทดังกล่าว สอดคล้องกับประเทศในภูมิภาค อย่างไรก็ดี ค่าเงินบาทในปี 2567 มีความผันผวนในระดับสูง เห็นได้จากกรอบการเคลื่อนไหวที่มีความแตกต่างกันสูงถึงร้อยละ 14.89 สูงขึ้นจากร้อยละ 13.62 ในปี 2566 และร้อยละ 13.59 ในปี 2564 นอกจากนี้ ข้อมูลจาก Bloomberg ที่ได้จัดทาค่าความผันผวน (implied volatility)1 ของค่าเงินของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาค พบว่า ณ สิ้นเดือน มิถุนายน เดือนกันยายน และเดือนตุลาคม ค่าเงินบาทมีความผันผวนที่ระดับ 4.75 ระดับ 10.63 และระดับ 10.35 ตามลาดับ มากกว่าประเทศ ส่วนใหญ่ในภูมิภาค รองจากญี่ปุ่น เกาหลี และอินโดนีเซีย และค่าความผันผวนดังกล่าวปรับเพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงเดือนกันยายน 2567 ซึ่งเป็นช่วงที่ ปัจจัยในประเทศสนับสนุนให้เกิดเงินทุนเคลื่อนย้ายเข้าตลาดทุนไทย ได้แก่ ความชัดเจนทางการเมืองหลังการจัดตั้งรัฐบาล และการเสนอขาย หน่วยลงทุนในกองทุนรวมวายุภักษ์ สาหรับค่าเงินบาทในช่วงที่เหลือของปี 2567 มีแนวโน้มว่าจะมีความผันผวนในระดับสูงต่อไป จากความไม่แน่นอนจากทิศทางการดาเนิน นโยบายทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ โดยเฉพาะนโยบายทางการค้าที่จะส่งผลต่อการดาเนินนโยบายการเงินของสหรัฐฯ รวมทั้งนโยบายเศรษฐกิจของไทย ดังนั้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวและเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยน หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องจึงควรส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ เข้าถึงเครื่องมือทางการเงินและมีทางเลือกการลงทุนเพื่อช่วยบริหารจัดการและป้องกันความเสี่ยงจาก ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนให้ทั่วถึง เพื่อช่วยให้ภาคธุรกิจ โดยเฉพาะในธุรกิจ SMEs สามารถบริหารจัดการการเงินและวางแผนการผลิต ให้เหมาะสมกับประเภทและขนาดของธุรกิจได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้แนวโน้มอัตราแลกเปลี่ยนมีความผันผวนสูงในระยะต่อไป 1 Implied volatility จัดทาโดย Bloomberg ที่เป็นการคานวณการเปลี่ยนแปลงในอนาคตของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่ตลาดคาดการณ์ไว้ ตั้งแต่ปัจจุบันจนถึงวันครบ กาหนดของสญั ญาออปชนั่ (options) ซงึ่ คานวณมลู ค่าจาก Black-Scholes model 98 100 102 104 106 32 108 33 34 35 36 37 38 Jan-24 Apr-24 Jul-24 Oct-24 ในปี 2567 ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวผันผวนและมีกรอบการเคลื่อนไหว ค่อนข้างกว้างที่ 32.29 37.10 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. Baht/USD Dollar Index (แกนขวา) 0.06 0.22 0.47 2.88 2.96 3.20 3.23 3.31 4.89 CH MY IN TW TH KR PH ID JP ค่าเงินบาทเฉลี่ยไตรมาส 2/2567 อ่อนค่าลง ร้อยละ 2.96 จากไตรมาสก่อนหน้า -5.77 -5.17 -4.10 -2.19 -0.84 -0.84 -0.16 0.13 0.41 MY TH JP ID PH KR TW CH IN ค่าเงินบาทเฉลี่ยไตรมาส 3/2567 แข็งค่าขึ้น ร้อยละ 5.17 จากไตรมาสก่อนหน้า ที่มา:CEIC 0 50 100 150 200 250 Jan-24 Mar-24 May-24 Jul-24 Sep-24 Nov-24 Index (27 Dec 22=100) ดัชนีความผันผวนของค่าเงินสกุลต่างๆ แสดงให้เห็นว่าค่าเงินบาทใน Q3/2567 มีความผันผวนสูง JPY CNY INR KRW MYD PHP THB TWD ที่มา:Bloomberg ประมวลผลโดย สศช. 5.90 5.56 4.75 4.64 4.57 3.71 2.52 1.46 0.93 Indonesia Japan Thailand S.Korea Malaysia Philippines Taiwan India China ค่าความผันผวนของค่าเงิน (implied volatility) ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2567 13.84 10.63 9.64 8.21 7.69 7.19 5.90 5.34 2.17 Japan Thailand S.Korea Philippines Taiwan Malaysia Indonesia China India ค่าความผันผวนของค่าเงิน (implied volatility) ณ สิ้นเดือนกันยายน 2567 11.59 17.05 10.35 9.90 8.44 7.98 5.94 5.41 2.21 Japan S.Korea Thailand Philippines Malaysia Indonesia China Taiwan India ค่าความผันผวนของค่าเงิน (implied volatility) ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2567 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 25 Economic Outlook NESDC ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ณ สิ้นไตรมาสที่สามของปี 2567 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,448.8 จุด เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ร้อยละ 11.4 สอดคล้องกับ การเพิ่มขึ้นของตลาดหลักทรัพย์ของประเทศส่วนใหญ่ทั้งในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่และประเทศเศรษฐกิจ หลัก โดยมีปัจจัยสาคัญมาจาก (1) การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ ลงร้อยละ 0.5 มาอยู่ที่ระดับร้อยละ 4.75 - 5.00 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการเข้าสู่วัฏจักรการผ่อนคลายนโยบายการเงิน ส่งผลให้ นักลงทุนเพิ่มการถือครองสินทรัพย์เสี่ยง (2) การดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจครั้งใหญ่ของธนาคารกลางจีน (3) สถานการณ์ทางด้านการเมืองในประเทศที่มีความชัดเจนมากขึ้น ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน (4) การดาเนินมาตรการเพื่อป้องกันการขายชอร์ตของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งช่วยเพิ่มความเชื่อมั่น ให้นักลงทุนรายย่อย และ (5) ความคาดหวังของนักลงทุนในการเข้าซื้อหลักทรัพย์ไทยของกองทุนรวมวายุภักษ์ ภายหลังมีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการและเริ่มมีการระดมเงินจากนักลงทุนในไตรมาสนี้ ทั้งนี้ นักลงทุนต่างชาติ มีสถานะซื้อสุทธิ 21.5 พันล้านบาท เทียบกับสถานะขายสุทธิ 47.7 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีฯ ทุกกลุ่มอุตสาหกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มเทคโนโลยี (เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.7) กลุ่มธุรกิจการเงิน (เพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.8) กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง (เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.1) และ กลุ่มบริการ (เพิ่มขึ้นร้อยล 9.3) สาหรับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกับดัชนีตลาด หลักทรัพย์ไทย ได้แก่ ฮ่องกง (เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.3) จีน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1) ฟิลิปปินส์ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4) สิงคโปร์ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6) อินเดีย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7) อินโดนีเซีย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6) มาเลเซีย (เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.7) และเวียดนาม (เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4) ขณะที่ดัชนีหลักทรัพย์ของประเทศในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ เกาหลีใต้ (ลดลงร้อยละ 7.3) ญี่ปุ่น (ลดลงร้อยละ 4.2) และไต้หวัน (ลดลงร้อยละ 3.5) ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2567 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์อยู่ที่ 1,466.0 จุด ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก สิ้นเดือนกันยายน 2567 ร้อยละ 1.2 ท่ามกลางการลดลงของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศส่วนใหญ่ทั้งในกลุ่มประเทศ เศรษฐกิจใหม่และประเทศเศรษฐกิจหลัก โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากการเข้าซื้อหลักทรัพย์ของกองทุนรวม วายุภักษ์ และการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 ของคณะกรรมการนโยบายการเงินเพื่อบรรเทา ภาระหนี้สินภาคครัวเรือน 85 90 95 100 105 110 115 120 125 ก.ค. 67 ส.ค. 67 ก.ย. 67 Index (ณ สิ้นเดือน มิ.ย. = 100) การเคลื่อนไหวของดัชนีหลักทรัพย์ไทยและต่างประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ 3 ปี 2567 S&P500,US NIFTY,India KOSPI,South Korea JKSE,Indonesia PSEi,Philipines Hang Seng,Hong Kong CSI300,China SET,Thailand KLCI,Malaysia STI,Singapore : Bloomberg อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยปรับตัวลดลง ในช่วงไตรมาสที่สามของปี 2567 อัตราผลตอบแทน พันธบัตรรัฐบาลปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุ สอดคล้องกับการลดลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ภายหลังธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย อ้างอิงอายุ 2 ปี และอายุ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 2.14 ต่อปี และร้อยละ 2.48 ต่อปี ลดลงจากร้อยละ 2.35 ต่อปี และร้อยละ 2.68 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ โดยเงินลงทุนของนักลงทุนต่างชาติในตลาดตราสารหนี้ ไหลเข้าสุทธิอย่างต่อเนื่องที่ 58.9 พันล้านบาท เทียบกับการไหลออกสุทธิ 30.7 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับการระดมทุนใหม่ผ่านตลาดตราสารหนี้มีมูลค่าทั้งสิ้น 398.9 พันล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนของ ธุรกิจในกลุ่มเงินทุนและหลักทรัพย์ กลุ่มธุรกิจพลังงาน และกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ ในเดือนตุลาคม 2567 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นและระยะยาวส่วนใหญ่ ปรับตัวลดลงเล็กน้อย จากเดือนก่อนหน้า โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 ปี และอายุ 10 ปี ปรับตัวลดลงอยู่ที่ร้อยละ 2.10 ต่อปี และร้อยละ 2.44 ต่อปี ตามลาดับ สอดคล้องกับการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของคณะกรรมการนโยบาย การเงิน อัตราผลตอบแทน พันธบัตรรัฐบาลปรับตัว ลดลงทุกช่วงอายุ สอดคล้องกับการปรับลด อัตราดอกเบยี้ นโยบายของ ธนาคารกลางสหรัฐฯ ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับตลาด หลักทรัพย์ของประเทศ ส่วนใหญ่ทั่วโลก ภายหลัง ธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับลดอัตราดอกเบี้ย 1,000 1,200 1,400 1,600 1,800 2,000 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 90,000 100,000 110,000 63 64 65 66 67 ล้านบาท มูลค่าซื้อขายเฉลี่ย Set Index (แกนขวา) ดัชนีหลักทรัพย์และมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยปรับตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ที่มา: SET 26 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook ความเคลื่อนไหวของตลาดเงินตลาดทุนหลังการประกาศผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ 1 ดัชนี CSI300 ของจีน ลดลงร้อยละ 0.5 ในวันที่ 7 พฤศจิกายน 2567 แต่กลับมาปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 1.47 ในที่ 8 พฤศจิกายน 2567 จากตัวเลข การส่งออกของประเทศจีนที่สูงกว่าที่นักลงทุนคาดการณ์ และความคาดหวังของนักลงทุนว่าจะมีการประกาศมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจีนขนาดใหญ่ หลังการประชุมสภาประชาชนแห่งชาติจีน (NPC) ภายหลังจากที่นายโดนัลด์ ทรัมป์ ได้ขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ประกาศชัยชนะในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2567 ตามเวลาในประเทศไทย ดัชนีดอลลาร์ สรอ. (DXY) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.6 และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อ้างอิงอายุ 10 ปี ปรับเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 3.8 ขณะที่ราคาสินทรัพย์สาคัญ ๆ อาทิ ดัชนี Dow Jones ดัชนี S&P 500 ดัชนี Nasdaq ดัชนี Russell 2000 และ Bitcoin ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นทันที เนื่องจากนักลงทุนคาดหวังว่าจะได้รับผลบวกจากนโยบายของนายโดนัลด์ ทรัมป์ เช่น การปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล การขยายเวลาการลดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การขึ้นภาษีนาเข้าสินค้าจากประเทศต่าง ๆ การลดความเข้มงวดในการกากับดูแลภาคการเงิน ในสหรัฐฯ การสนับสนุนเงินดิจิทัล เป็นต้น อย่างไรก็ดี นโยบายดังกล่าวมีแนวโน้มจะสร้างแรงกดดันเงินเฟ้อให้กับเศรษฐกิจสหรัฐฯ และทาให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ อาจปรับลดอัตราดอกเบี้ยได้ช้าลงกว่าที่เคยได้คาดการณ์ไว้ ประกอบกับความกังวลเกี่ยวกับนโยบายการปรับขึ้นอัตราภาษีนาเข้าสินค้า จากต่างประเทศของนายโดนัลด์ ทรัมป์ ส่งผลให้เกิดแรงกดดันต่อสินทรัพย์ของกลุ่มประเทศในภูมิภาคและตลาดเกิดใหม่ในฐานะสินทรัพย์เสี่ยงและ ผู้ส่งออกสุทธิไปยังสหรัฐฯ ข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 หรือ 2 วันหลังจากการประกาศผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ ในภูมิภาค อาทิ เกาหลีใต้ ฟิลิปปินส์ จีน ไต้หวัน เคลื่อนไหวอ่อนค่าลงจากวันที่ 5 พฤศจิกายน 2567 โดยเงินบาทของไทยอ่อนค่าลงร้อยละ 1.1 ขณะเดียวกัน ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของหลายประเทศในภูมิภาคปรับตัวลดลง อาทิ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ฮ่องกง และเกาหลีใต้ โดยดัชนี SET Index ของไทย ลดลงร้อยละ 1.2 ขณะที่ดัชนีหลักทรัพย์ของ สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน1 และ มาเลเซีย ปรับตัวเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตลาดเงินและตลาดทุนดังกล่าวเป็นการตอบรับของนักลงทุนตามนโยบายของนายโดนัลด์ ทรัมป์ ที่ได้เคย หาเสียงไว้ในช่วงก่อนการเลือกตั้ง ในระยะต่อไปจึงจาเป็นจะต้องติดตามความชัดเจนทั้งระดับความเข้มข้นและช่วงเวลาของการดาเนินนโยบายในด้านต่าง ๆ ของรัฐบาลสหรัฐฯ ซึ่งอาจสร้างความผันผวนให้กับตลาดเงินตลาดทุนโลกโดยเฉพาะค่าเงินและตลาดหลักทรัพย์ของกลุ่มประเทศในภูมิภาค ความเคลื่อนไหวของค่าเงินสกุลต่าง ๆ ในภูมิภาค สกุลเงิน ต่อ USD 5 พ.ย. 67 8 พ.ย. 67 % Chg. ดัชนีดอลลาร์ สรอ. (DXY) 103.42 105.00 1.53 วอน (KRX) 1,371.3 1,399.1 2.03 บาท (THB) 33.71 34.07 1.06 เปโซ (PHP) 58.24 58.75 0.87 หยวน (RMB) 7.10 7.14 0.59 ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ (NTD) 31.97 32.12 0.46 รูปี (IND) 84.12 84.38 0.30 ริงกิต (RMB) 4.37 4.38 0.27 เยน (YEN) 152.28 152.64 0.24 ดอลลาร์สิงคโปร์ (SGD) 1.319 1.322 0.22 ดองเวียดนาม (VND) 24,248 24,278 0.12 รูเปียห์ (IDR) 15,751 15,767 0.10 ที่มา: CEIC 91949710010310610911230/93/106/109/1012/1015/1018/1021/1024/1027/1030/102/115/118/11ความเคลื่อนไหวของดัชนีหลักทรัพย์ประเทศในภูมิภาคCSI 300TWSENikkei 225VNIKLCIHang SengSTIJKSEPSEiKOSPISETNIFTYที่มา : Bloomberg ประมวลผลโดย สศช.Index ณ สิ้นเดือน ก.ย. = 100-2.2 -2.2 -0.3 0.9 1.9 2.3 3.7 4.2 4.6 6.1 10.7 -0.4 -3.1 -0.6 3.8 2.0 1.4 2.5 3.6 3.0 5.8 9.8 -6-3036912น้ามันดิบ WTIGold (spot)MSCI Emerging10Y US bond yield2Y US bond yieldMSCI ACWI ex JPS&P 500Dow JonesNASDAQRussell 2000Bitcoin6 พ.ย.8 พ.ย.การเปลี่ยนแปลงราคาสินทรัพย์ เมื่อเทียบกับวันที่ 5 พ.ย. (%) ที่มา : Bloomberg ประมวลผลโดย สศช. 27 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook ดุลบัญชีเดินสะพัด ในไตรมาสที่สามของปี 2567 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 2.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (198.5 พันล้านบาท) เทียบกับการเกินดุล 3.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (238.0 พันล้านบาท) ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และการเกินดุล 0.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (203.1 พันล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจาก การเกินดุลการค้า 5.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (191.8 พันล้านบาท) (เทียบกับการเกินดุล 6.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน แต่สูงกว่าการเกินดุล 5.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า) ขณะที่ ดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิขาดดุล 3.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (เพิ่มขึ้นจากการขาดดุล 3.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน แต่ต่ากว่าการขาดดุล 4.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า) รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 5.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (188.8 พันล้านบาท) เทียบกับการเกินดุล 3.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (136.2 พันล้านบาท) ในช่วงเดียวกันของปีก่อน เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2567 อยู่ที่ 243.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นจาก 211.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 เมื่อคิดในรูปเงินบาท เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2567 อยู่ที่ 7,839.2 พันล้านบาท สูงกว่า 7,736.5 พันล้านบาท ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2567 อยู่ที่ 243.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน อัตราเงินเฟ้อ ในไตรมาสที่สามของปี 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.6 ต่อเนื่องจากร้อยละ 0.8 ในไตรมาสที่สอง เนื่องจากดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอ อล์เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 ตามดัชนีราคาผักและผลไม้ ข้าวและผลิตภัณฑ์จากแป้ง และไข่และผลิตภัณฑ์นมที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.2 ร้อยละ 2.6 และร้อยละ 2.0 เป็นสาคัญ สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตที่เข้าสู่ตลาดลดลง โดยเฉพาะผักและผลไม้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยในหลายพื้นที่ ส่วนดัชนีราคาหมวดที่มิใช่อาหารและเครื่องดื่มลดลงร้อยละ 0.2 ตามดัชนีราคากลุ่มพลังงานที่ลดลงร้อยละ 1.3 ซึ่งสอดคล้องกับการลดลงของราคาน้ามันในตลาดโลก ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาอาหารสาเร็จรูป และเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ เป็นสาคัญ รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.2 เทียบกับร้อยละ 1.8 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.5 เทียบกับร้อยละ 1.5 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ในเดือนตุลาคม 2567 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 0.8 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาอาหาร โดยเฉพาะ ผักและผลไม้ อาหารสาเร็จรูป และไข่และผลิตภัณฑ์นม รวมถึงค่าไฟฟ้าจากฐานราคาที่ต่าในปีที่ผ่านมา ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.8 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ ร้อยละ 0.6 ตาม การเพิ่มขึ้นของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ขณะที่หมวดที่มิใช่อาหารและเครื่องดื่มลดลง -15,000-10,000-5,00005,00010,00015,00020,000Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3626364656667ล้านดอลลาร์ สรอ.ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการค้าและดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิดุลบัญชีเดินสะพัดดุลการค้าดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 28 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook ดัชนีราคาผู้ผลิต ในไตรมาสที่สามของปี 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 ต่อเนื่องจากร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 สอดคล้องกับดัชนีราคาผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก เครื่องจักรและเครื่องมือ และเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 ร้อยละ 4.6 และร้อยละ 3.0 ตามลาดับ เป็นสาคัญ และหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมงเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่ร้อยละ 10.5 ขณะที่หมวดผลิตภัณฑ์จากเหมือง ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 2.5 ตามการลดลงของดัชนีราคากลุ่มปิโตรเลียมดิบและก๊าซธรรมชาติร้อยละ 2.9 รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตเฉลี่ยปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.6 ในเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมและการประมง เป็นสาคัญ ในเดือนตุลาคม 2567 ดัชนีราคาผู้ผลิตลดลงร้อยละ 1.4 ตามการลดลงของดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยเฉพาะดัชนีราคาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมซึ่งสอดคล้องกับราคาน้ามันดิบในตลาดโลก ผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ และเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ เนื่องจากการลดลงของราคาวัตถุดิบ รวมถึงการลดลงของดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์จากเหมือง ขณะที่ดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมและการประมงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมง -10.0-5.00.05.010.015.0Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3626364656667%YoYดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปในไตรมาสที่สามของปี 2567เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานดัชนีราคาผู้ผลิตที่มา: กระทรวงพาณิชย์ 29 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 NESDC Economic Outlook ราคาน้ามันดิบลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน และจากไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสที่สามของปี 2567 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสต์เท็กซัส) อยู่ที่ 77.7 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ลดลงร้อยละ 8.9 เมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ย 85.3 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และลดลงร้อยละ 7.4 จากราคาเฉลี่ย 83.9 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีสาเหตุมาจากการชะลอตัวของความต้องการน้ามันดิบในตลาดโลกโดยเฉพาะจากจีน สะท้อนจากมูลค่าการนาเข้าน้ามันดิบของจีนในไตรมาสที่สามของปี 2567 อยู่ที่ 80,882.0 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 3.0 เทียบกับมูลค่า การนาเข้า 83,379.4 ล้านดอลลาร์ สรอ. ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ประกอบกับการปรับลดคาดการณ์อุปสงค์น้ามันดิบในตลาดโลกของกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ามัน และชาติพันธมิตร (โอเปกพลัส) โดยคาดการณ์ว่า จะขยายตัวเพียงร้อยละ 1.8 ในปี 2567 และร้อยละ 1.5 ในปี 2568 รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาดอยู่ที่ 80.5 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 จากค่าเฉลี่ย 80.3 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรลในช่วงเดียวกันของปีก่อน ในเดือนตุลาคม 2567 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ยอยู่ที่ 74.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ลดลงร้อยละ 16.2 จากค่าเฉลี่ย 88.3 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรลในเดือนตุลาคม 2566 แต่ปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 จากค่าเฉลี่ย 72.4 ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากความกังวลต่อสถานการณ์ความขัดแย้งในตะวันออกกลางระหว่างอิสราเอลและอิหร่านที่ทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่ออุปทานน้ามันดิบในตะวันออกกลาง ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนและไตรมาสก่อนหน้า 2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ามันไตรมาสที่สามของปี 2567 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลก ปี ราคา (ดอลลาร์ สรอ. /บาร์เรล) อัตราการขยายตัว (%YOY) WTI BRENT DUBAI OMAN เฉลี่ย WTI BRENT DUBAI OMAN เฉลี่ย 2564 ทั้งปี 68.1 70.9 69.5 69.3 69.4 72.1 63.4 63.8 65.5 65.4 2565 ทั้งปี 94.2 98.8 96.2 96.5 96.5 38.4 39.4 38.4 39.4 38.9 2566 ทั้งปี 77.4 82.1 81.8 81.9 80.8 -17.8 -16.9 -15.0 -15.2 -16.2 Q1 76.0 82.1 80.2 80.4 79.7 -19.7 -16.1 -16.5 -16.6 -17.2 Q2 73.1 77.3 76.9 76.9 76.0 -33.0 -31.2 -29.1 -27.0 -30.1 Q3 82.1 86.0 86.6 86.6 85.3 -10.2 -11.8 -10.3 -14.0 -11.6 Q4 78.8 83.0 83.8 83.8 82.4 -4.6 -6.2 -1.0 -1.1 -3.2 2567 Q1 76.9 81.8 81.1 81.0 80.3 1.2 -0.4 1.2 0.8 0.7 Q2 80.5 84.8 85.1 85.2 83.9 10.1 9.7 10.6 10.8 10.4 Q3 75.1 78.6 78.3 78.5 77.7 -8.5 -8.6 -9.6 -9.4 -8.9 ก.ค. 80.7 84.1 84.0 84.1 83.3 7.3 5.5 5.2 5.2 5.9 ส.ค. 75.4 78.8 77.4 77.8 77.4 -7.2 -7.3 -10.3 -10.0 -8.7 ก.ย. 69.4 72.9 73.4 73.7 72.4 -22.3 -21.3 -21.0 -20.7 -21.2 9M 77.4 81.6 81.3 81.4 80.5 0.4 -0.3 0.1 0.2 0.2 ต.ค. 71.3 75.2 74.7 74.9 74.0 -16.5 -15.2 -16.6 -16.4 -16.2 10M 76.7 80.9 80.6 80.7 79.8 -1.5 -1.9 -1.7 -1.6 -1.6 ที่มา: บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) และสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 30 NESDC Economic Outlook เศรษฐกิจโลกในไตรมาสที่สามของปี 2567 ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจหลัก โดยเฉพาะสหรัฐฯ จีน เช่นเดียวกับเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหม่ที่มีอัตราขยายตัวต่าสุดในรอบหลายไตรมาส9 ตามการชะลอตัวของการลงทุนภายในประเทศและการผลิตภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมที่ปรับตัวลดลงต่ากว่าระดับ 50 และนับเป็นระดับต่าสุดในรอบหลายไตรมาส ในขณะที่เศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่และประเทศก่าลังพัฒนาส่วนใหญ่ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง ตามการส่งออกที่ขยายตัวในเกณฑ์ดีสอดคล้องกับวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ส่าหรับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อลดลงอย่างต่อเนื่อง10 ตามการลดลงของราคาอาหารและพลังงาน รวมถึงการผ่อนคลายความตึงตัวของตลาดแรงงาน ส่งผลให้ธนาคารกลางประเทศเศรษฐกิจหลักปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง อาทิ ธนาคารกลางสหรัฐฯ ธนาคารกลางยุโรป และธนาคารกลางอังกฤษ เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 2.7 (Advance Estimate) ชะลอลงจากร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวลงของ การลงทุนภาคเอกชนโดยเฉพาะการชะลอตัวของการลงทุนในหมวดที่อยู่อาศัย (Residential Investment) ขณะที่ การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนยังคงขยายตัวดีสอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคและดัชนีการค้าปลีกที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม อัตราการว่างงานปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่องที่ร้อยละ 4.2 สูงสุดในรอบ 11 ไตรมาส เช่นเดียวกับต่าแหน่งงานเปิดใหม่ในเดือนกันยายนจ่านวน 7.4 ล้านต่าแหน่ง ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 สอดคล้องกับอัตราค่าจ้างแรงงานที่ชะลอลง ส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อลดลงเข้าใกล้เป้าหมายนโยบายการเงิน โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไป (PCE) อยู่ที่ร้อยละ 2.3 ชะลอลงจากร้อยละ 2.6 ในไตรมาสก่อน นับเป็นระดับต่าสุดในรอบ 14 ไตรมาส ท่ามกลางแนวโน้มเศรษฐกิจที่ชะลอตัวและแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ลดลงต่อเนื่อง ธนาคารกลางสหรัฐฯ ในการประชุมในเดือนกันยายน 2567 ตัดสินใจปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 256311 เศรษฐกิจยูโรโซน ขยายตัวร้อยละ 0.9 เทียบกับร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นการขยายตัวสูงสุดในรอบ 6 ไตรมาส โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและภาคบริการโดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการลดลงของแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ รวมถึงตลาดแรงงานที่ยังแข็งแกร่ง สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 52.1 มากกว่าระดับ 50.0 เป็นไตรมาสที่ 3 ติดต่อกัน เช่นเดียวกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ติดต่อกัน อย่างไรก็ตาม ภาคการผลิตอุตสาหกรรมยังคงปรับตัวลดลง สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 45.5 ต่ากว่าระดับ 50.0 เป็นไตรมาสที่ 9 ติดต่อกัน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากต้นทุนค่าพลังงานและค่าขนส่งที่อยู่ในระดับสูงเนื่องจากผลกระทบของเหตุการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ รวมถึงต้นทุนที่เพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการ จากการบังคับใช้มาตรการทางสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติม อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 2.2 ลดลงจากร้อยละ 2.5 ต่าสุดในรอบ 13 ไตรมาส ตามการลดลงของราคาสินค้าพลังงานที่ร้อยละ 8.7 ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ติดต่อกัน ส่งผลให้ธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ12 เศรษฐกิจญี่ปุ่น ขยายตัวร้อยละ 0.3 จากการลดลงร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศซึ่งได้รับ แรงสนับสนุนจากการขยายตัวในระดับสูงของอัตราค่าจ้างจากการเจรจาต่อรองค่าจ้างในช่วงฤดูใบไม้ผลิ การปรับลดภาษีเงินได้ของรัฐบาล13 รวมถึงการเพิ่มขึ้นของจ่านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ช่วยสนับสนุนการขยายตัวของภาคบริการที่เกี่ยวข้อง สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการที่ยังคงอยู่ในระดับสูงที่ 53.5 สูงกว่าระดับ 50.0 ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 ขณะที่การส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 1.4 เป็นการกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 10 ไตรมาส โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวของการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม กลุ่มเซมิคอนดักเตอร์ อย่างไรก็ตาม ภาคการผลิตยังคงชะลอตัวโดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 3 เฉลี่ยอยู่ที่ 49.5 ลดลงจาก 50.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในไตรมาสที่สามอยู่ที่ร้อยละ 2.8 ทรงตัวจากร้อยละ 2.7 ในไตรมาสที่สอง และยังสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 โดยเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงานภายหลังสิ้นสุดมาตรการอุดหนุนด้านพลังงานในช่วงเดือนพฤษภาคม 2567 และการเพิ่มขึ้นของอัตราค่าจ้าง ส่งผลให้ธนาคารกลางญี่ปุ่นด่าเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดมากขึ้น14 ซึ่งท่าให้อัตราแลกเปลี่ยนเงินเยนของญี่ปุ่นปรับตัวแข็งค่าขึ้น โดยค่าเงินเยนเฉลี่ยในไตรมาสที่ 3 อยู่ที่ 149.2 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. เทียบกับเฉลี่ย 155.8 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสที่สอง 3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสที่สามของปี 2567 9 เศรษฐกิจเกาหลีใต้ ไต้หวัน อินโดนีเซีย ขยายตัวต่าสุดในรอบ 4 ไตรมาส ขณะที่เศรษฐกิจฟิลิปปินส์ขยายตัวต่าสุดในรอบ 5 ไตรมาส 10 อัตราเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ยูโรโซน ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2567 อยู่ที่ร้อยละ 2.6 ร้อยละ 2.2 ร้อยละ 2.8 ร้อยละ 2.1 ร้อยละ 2.2 และร้อยละ 2.0 ปรับลดลงจากร้อยละ 3.2 ร้อยละ 2.5 ร้อยละ 3.8 ร้อยละ 2.7 ร้อยละ 2.8 และร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า 11 คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC) ในการประชุมเมื่อวันที่ 17 - 18 กันยายน 2567 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.5 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่ช่วงร้อยละ 4.75 - 5.00 ซึ่งเป็นการปรับลดครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2563 โดย FOMC มีความมั่นใจมากขึ้นว่าอัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มที่จะปรับตัวเข้าสู่เป้าหมายที่ร้อยละ 2.0 อย่างมีเสถียรภาพ เช่นเดียวกับความเสี่ยงที่ลดลงจากการด่าเนินนโยบายเพื่อบรรลุเป้าหมายการรักษาระดับการจ้างงานและแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ 12 ในการประชุมเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2567 ธนาคารกลางยุโรปได้มีมติลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ย Refinancing Operations Rate อัตราดอกเบี้ย Marginal Lending Facility และดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์ของแต่ละประเทศที่ฝากไว้กับธนาคารกลางลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 3.65 ร้อยละ 3.90 และ ร้อยละ 3.50 ตามล่าดับ 13 ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2567 รัฐบาลได้ปรับลดภาษีเงินได้ลง 30,000 เยน และภาษีผู้อยู่อาศัย 10,000 เยนต่อคน โดยครัวเรือนที่มีรายได้ต่าที่ได้รับการยกเว้นภาษีผู้อยู่อาศัย ได้รับเงินอุดหนุนประมาณ 70,000 เยน 14 ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 0.10 เป็นร้อยละ 0.25 ในการประชุมเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2567 นับเป็นการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ย เป็นครั้งที่สองของปี รวมทั้งมีมติปรับลดปริมาณการเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว (Nimble) ไตรมาสละ 4 แสนล้านเยน ส่งผลให้ในไตรมาสแรกของปี 2569 วงเงินของโครงการจะอยู่ที่ 2.9 ล้านล้านเยนต่อเดือน กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 31 NESDC Economic Outlook เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 4.6 ชะลอลงเล็กน้อยจากร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นอัตราการขยายตัวที่ต่าสุดในรอบ 6 ไตรมาส โดยเป็นผลมาจากความยืดเยื้อของปัญหาการขาดสภาพคล่องและภาระหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์ ที่ส่งผลให้อุปสงค์ภายในประเทศยังคงอยู่ ในระดับต่า โดยการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ยังคงลดลงร้อยละ 9.8 นับเป็นการลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 10 เช่นเดียวกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ลดลงต่าสุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจจีนยังคงได้รับแรงสนับสนุนจากการขยายตัวดีของการส่งออกสินค้า โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการเร่งรัดการส่งออกสินค้าก่อนที่จะมีการด่าเนินมาตรการกีดกันทางด้านภาษีน่าเข้าจากประเทศเศรษฐกิจหลัก15 ส่งผลให้มูลค่า การส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 6.0 สูงสุดในรอบ 8 ไตรมาส อย่างไรก็ตาม ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมยังคงอยู่ที่ระดับ 49.4 ซึ่งอยู่ในระดับต่ากว่า 50 ติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 7 และต่าสุดในรอบ 3 ไตรมาส ทั้งนี้ ภายใต้การชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศส่งผลให้รัฐบาลจีนออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจครั้งใหญ่ เช่นเดียวกับธนาคารกลางจีน (People?s Bank of China) ที่ยังคงด่าเนินนโยบายการเงินแบบ ผ่อนคลายเพื่อเสริมสภาพคล่องให้กับภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ16 เศรษฐกิจอินเดีย ขยายตัวในอัตราชะลอลงตามการชะลอตัวของการผลิตอุตสาหกรรมและผลของฐานการขยายตัวในเกณฑ์สูงในปีก่อน โดยใน ภาคการผลิต ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อในภาคอุตสาหกรรมปรับลดลงมาอยู่ที่ระดับ 57.4 จาก 58.2 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรมล่าสุดในเดือนสิงหาคม 2567 ที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 1.0 จากการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในเดือนก่อนหน้า นับเป็นการลดลงครั้งแรกในรอบ 42 เดือน เช่นเดียวกับการส่งออกสินค้าที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 3.8 จากการขยายตัวร้อยละ 5.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นการลดลง ครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาส โดยเป็นผลมาจากลดลงของการส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม รวมถึงน่าตาลที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการควบคุม การส่งออก ขณะเดียวกัน ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการในไตรมาสที่ 3 อยู่ที่ 59.6 เทียบกับ 60.5 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ลดลงต่ากว่า 10017 ส่าหรับอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยไตรมาสที่สามอยู่ที่ร้อยละ 4.2 ลดลงต่อเนื่องจากเฉลี่ยร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และยังคงอยู่ในกรอบเป้าหมายนโยบายการเงินระยะปานกลางที่ร้อยละ 2.0 - 6.0 ส่งผลให้ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินเมื่อวันที่ 6-8 สิงหาคม มีมติให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 6.5 เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ยังคงขยายตัวต่อเนื่องตามการขยายตัวของภาคการส่งออกและภาคการผลิต โดยเฉพาะในสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ขณะที่การอุปโภคบริโภคภายในประเทศชะลอตัวลง18 เศรษฐกิจเกาหลีใต้ เศรษฐกิจไต้หวัน และเศรษฐกิจฮ่องกง ขยายตัวร้อยละ 1.5 ร้อยละ 4.0 และร้อยละ 1.8 ชะลอลงจากร้อยละ 2.3 ร้อยละ 5.1 และร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามล่าดับ ขณะที่เศรษฐกิจสิงคโปร์ขยายตัว ร้อยละ 4.1 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม ขณะที่อัตราเงินเฟ้อลดลงอย่างต่อเนื่องตามการลดลงของราคาอาหารและพลังงาน แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายของนโยบายการเงิน19 ส่งผลให้ธนาคารกลางของแต่ละประเทศ ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับสูงต่อเนื่อง ยกเว้นฮ่องกงที่ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในเดือนกันยายนมาอยู่ที่ร้อยละ 5.25 จากร้อยละ 5.75 ในเดือนก่อนหน้า เพื่อรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนภายหลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐฯได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยไปในช่วงก่อนหน้า เศรษฐกิจประเทศกลุ่มอาเซียน ขยายตัวต่อเนื่องตามการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการส่งออกสินค้า โดยเศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนามขยายตัวร้อยละ 4.9 ร้อยละ 5.3 และร้อยละ 7.4 เทียบกับร้อยละ 5.0 ร้อยละ 5.9 และร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามล่าดับ สอดคล้องกับมูลค่าการส่งออกสินค้าของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนามที่ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 6.7 ร้อยละ 12.2 และร้อยละ 15.3 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.9 ร้อยละ 1.2 และร้อยละ 13.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามล่าดับ ตามการฟื้นตัวของการค้าโลกรวมถึงวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจฟิลิปปินส์ขยายตัวร้อยละ 5.2 ชะลอลงจากร้อยละ 6.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการส่งออกสินค้าที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 2.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลมาจากการลดลงของการส่งออกสินค้ากลุ่มโลหะทองแดงและสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เป็นส่าคัญ ขณะที่ อัตราเงินเฟ้อของประเทศส่วนใหญ่ปรับลดลงสู่ระดับเป้าหมายนโยบายการเงิน20 ส่งผลให้ธนาคารกลาง เริ่มมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง โดยธนาคารกลางอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.25 ในเดือนกันยายน และสิงหาคม 2567 ตามล่าดับ 15 ประเทศเศรษฐกิจหลักได้มีการปรับขึ้นอัตราภาษีส่าหรับสินค้าที่น่าเข้าจากจีน อาทิ สหรัฐฯ ที่ได้ปรับขึ้นอัตราภาษีน่าเข้ารถยนต์ไฟฟ้า (EV) จากร้อยละ 25 มาอยู่ที่ ร้อยละ 100 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน 2567 เป็นต้นไป เช่นเดียวกันคณะกรรมาธิการยุโรปที่ได้มีมติปรับขึ้นอัตราภาษีน่าเข้ารถยนต์ไฟฟ้าจากจีน จากร้อยละ 10 มาอยู่ที่ร้อยละ 35.3 เป็นระยะเวลา 5 ปี โดยจะเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 31 ตุลาคม 2567 เป็นต้นไป ในขณะที่แคนาดาได้ปรับขึ้นอัตราภาษีน่าเข้ารถยนต์ไฟฟ้าและผลิตภัณฑ์เหล็กและอะลูมิเนียมจากจีนมาอยู่ที่ร้อยละ 100 และร้อยละ 25 ตามล่าดับ โดยจะเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 และ วันที่ 15 ตุลาคม 2567 เป็นต้นไป 16 รายละเอียดเพิ่มเติมใน Box มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของจีน 17 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อสถานการณ์เศรษฐกิจในเดือนกรกฎาคมและกันยายนปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 93.9 และ 94.7 เทียบกับ 97.2 ในเดือนพฤษภาคม โดยดัชนีความเชื่อมั่นจัดท่าทุกสองเดือนโดยธนาคารกลางอินเดีย หากดัชนีอยู่ที่ระดับ 100 หมายถึงเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ปกติ และหากดัชนีต่ากว่า 100 หมายถึง ความเชื่อมั่นต่อเศรษฐกิจโดยรวมลดลง 18 ยอดการค้าปลีกในไตรมาสที่ 3 ของเกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง และสิงคโปร์ อยู่ที่ร้อยละ (-0.3) ร้อยละ 0.4 ร้อยละ (-9.6) และร้อยละ 1.2 เทียบกับร้อยละ (-0.0) ร้อยละ 0.8 ร้อยละ (-11.9) และร้อยละ 0.2 ตามล่าดับ 19 อัตราเงินเฟ้อในไตรมาสที่ 3 ของเกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงคโปร์ อยู่ที่ร้อยละ 2.1 ร้อยละ 2.2 และร้อยละ 2.2 เทียบกับร้อยละ 2.7 ร้อยละ 2.2 และร้อยละ 2.8 ตามล่าดับ ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อฮ่องกงอยู่ที่ร้อยละ 2.4 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.3 ในไตรมาสก่อนหน้า 20 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยในไตรมาสที่สามปี 2567 ของประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนามอยู่ที่ร้อยละ 2.0 ร้อยละ 1.9 ร้อยละ 3.2 และ ร้อยละ 3.5 เทียบกับร้อยละ 2.8 ร้อยละ 1.9 ร้อยละ 3.8 และร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามล่าดับ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 32 NESDC Economic Outlook เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มที่จะขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อน สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการขยายตัว (Resiliency) ของเศรษฐกิจในหลายประเทศท่ามกลางการด่าเนินนโยบายทางการเงินแบบเข้มงวดในช่วงก่อนหน้า โดยการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปี 2568 มีแนวโน้มที่จะได้รับแรงสนับสนุนจากการขยายตัวในเกณฑ์ดีของการใช้จ่ายภายในประเทศอันเป็นผลเนื่องมาจากอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่าและแนวโน้มการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง ส่งผลให้หลายประเทศเศรษฐกิจส่าคัญมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น ได้แก่ เศรษฐกิจยูโรโซน สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น ขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงตามการชะลอตัวของ ภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการลงทุนภาคเอกชน เช่นเดียวกับเศรษฐกิจจีนที่คาดว่าจะชะลอตัวลงแม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนจากมาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจของรัฐบาลแต่ยังมีข้อจ่ากัดในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจากปัญหาในภาคอสังหาริมทรัพย์ ส่าหรับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ปรับตัวลดลง ในหลายประเทศส่งผลให้ธนาคารกลางส่าคัญมีแนวโน้มจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอย่างต่อเนื่องในช่วงปี 2568 ขณะที่ธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจก่าลังพัฒนาและตลาดเกิดใหม่ยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและเงินลงทุนระหว่างประเทศจาก การปรับทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก แม้กระนั้นก็ตาม เศรษฐกิจโลกในปี 2568 มีแนวโน้มที่จะเผชิญความเสี่ยงด้านต่า (Downside risks) ที่ส่าคัญอันเนื่องมาจากความไม่แน่นอนของ ทิศทางการด่าเนินนโยบายเศรษฐกิจและการค้าของประเทศเศรษฐกิจหลัก โดยเฉพาะสหรัฐฯ และจีนซึ่งอาจส่งผลต่อปริมาณการค้าโลกอย่าง มีนัยส่าคัญ ขณะที่ตลาดเงินและตลาดทุนยังมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับความผันผวนท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการปรับเปลี่ยนทิศทางนโยบายการเงินของธนาคารกลาง นอกจากนี้ สถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังคงยืดเยื้อและมีความไม่แน่นอนสูงทั้งในตะวันออกกลางและสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครนยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงส่าคัญของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงกดดันต่อระดับราคาพลังงาน ทั้งนี้ การคาดการณ์ในกรณีฐานยังไม่ได้รวมผลจากการด่าเนินนโยบายทางเศรษฐกิจและการค้าของรัฐบาลชุดใหม่ของสหรัฐฯ ที่ยังคงมี ความไม่แน่นอนทั้งรูปแบบและช่วงเวลาของการด่าเนินมาตรการ รวมทั้งสมมติฐานที่คาดว่าสถานการณ์ความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์ในหลายภูมิภาคยังอยู่ในวงจ่ากัดและไม่ได้ยกระดับความรุนแรงมากขึ้นจากในปัจจุบันจนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและระบบการเงินโลกอย่าง มีนัยส่าคัญ ภายใต้สมมติฐานในกรณีฐานดังกล่าวคาดว่าเศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลกในปี 2568 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 3.0 เท่ากับปีก่อนหน้า และมีแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศส่าคัญ ๆ ดังนี้ เศรษฐกิจสหรัฐฯ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.2 ชะลอลงจากร้อยละ 2.6 ในปี 2567 ตามการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศที่ได้รับแรงกดดันจากตลาดแรงงานที่มีสัญญาณของการชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากการจ้างงานนอกภาคเกษตรในเดือนตุลาคม 2567 เพิ่มขึ้นเพียง 1.2 หมื่นต่าแหน่ง21 เทียบกับระดับ 2.23 แสนต่าแหน่งในเดือนก่อนหน้า และเป็นระดับต่าสุดในรอบ 46 เดือน เช่นเดียวกับอัตราการว่างงานในเดือนตุลาคม 2567 ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 4.1 เทียบกับร้อยละ 3.8 ในเดือนเดียวกันของปีก่อนหน้า ขณะเดียวกัน การลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ ยังมีแนวโน้มชะลอตัวลง สอดคล้องกับมูลค่าการก่อสร้างที่ชะลอลงต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี อุปสงค์ภายในประเทศยังมีแรงสนับสนุนจากแนวโน้มการปรับ 21 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการปรับลดแรงงานในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากพายุเฮอริเคนและการประท้วงของพนักงานบริษัทโบอิ้ง 4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2568 การขยายตัวของเศรษฐกิจ และมูลค่าการส่งออกสินค้าของประเทศต่าง ๆ (%YoY) GDP มูลค่าการส่งออกสินค้า 2564 2565 2566 2567 2564 2565 2566 2567 ทั้งปี ทั้งปี Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 ทั้งปี ทั้งปี Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 ส.ค. ก.ย. สหรัฐฯ 6.1 2.5 3.2 2.9 2.9 3.0 2.7 23.0 18.7 -1.4 -2.1 -0.0 3.8 2.8 4.0 -0.3 ยูโรโซน 6.3 3.6 0.1 0.5 0.5 0.6 0.9 18.1 5.1 0.3 2.1 -1.7 0.3 -1.4 สหราชอาณาจักร 8.6 4.8 -0.2 0.3 0.8 0.2 14.4 13.7 -3.3 2.7 1.8 -0.4 5.1 5.3 ออสเตรเลีย 5.5 3.9 1.5 2.0 1.3 1.0 37.0 19.9 -10.2 -9.9 -12.9 -8.7 -4.4 -5.4 -3.8 ญี่ปุ่น 2.7 1.2 0.9 1.7 -0.8 -1.1 0.3 17.9 -1.2 -0.7 -4.0 -3.0 -4.2 1.4 4.4 1.6 จีน 8.4 3.0 5.2 5.2 5.3 4.7 4.6 29.6 5.6 -1.3 -4.7 1.1 5.7 6.0 8.7 2.4 อินเดีย 9.4 6.5 8.6 7.7 7.8 6.7 43.0 14.6 1.0 -4.8 4.9 5.9 -3.8 -9.3 0.5 เกาหลีใต้ 4.6 2.7 2.1 1.4 3.3 2.3 1.5 25.7 6.1 5.7 -7.5 8.0 10.1 10.4 10.9 7.1 ไต้หวัน 6.6 2.6 4.8 1.3 6.6 5.1 4.0 29.3 7.4 3.3 -9.8 12.9 9.9 8.0 16.8 4.5 ฮ่องกง 6.5 -3.7 4.3 3.3 2.8 3.2 1.8 26.0 -9.3 6.6 -7.8 12.2 12.8 8.3 6.8 5.2 สิงคโปร์ 9.7 3.8 2.2 1.1 3.0 2.9 4.1 22.1 12.7 3.0 -7.7 3.8 6.4 8.2 7.2 5.4 อินโดนีเซีย 3.7 5.3 5.0 5.0 5.1 5.0 4.9 41.9 26.0 -8.3 -11.3 -7.1 1.9 6.5 6.6 6.3 มาเลเซีย 3.3 8.9 2.9 3.6 4.2 5.9 5.3 27.5 17.6 -9.4 -11.1 -5.2 1.2 12.2 17.0 9.7 ฟิลิปปินส์ 5.7 7.6 5.5 5.5 5.8 6.4 5.2 14.5 6.5 -10.6 -7.5 4.8 0.1 -2.5 0.3 -7.6 เวียดนาม 2.6 8.1 6.7 5.0 5.9 6.9 7.4 18.9 10.6 7.1 -4.6 16.8 13.9 15.3 15.2 10.8 หมายเหตุ: 1/ อัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียเป็นรายไตรมาส ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช. กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 33 NESDC Economic Outlook ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ22 ภายหลังจากที่อัตราเงินเฟ้อปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่าหรับแรงขับเคลื่อนจากการด่าเนินนโยบายการคลังมีแนวโน้มจะเข้มงวดมากขึ้นและช่วยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจได้ลดลงท่ามกลางสัดส่วนหนี้สาธารณะ ในปีงบประมาณ 2567 ที่อยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 123.0 ต่อ GDP และการขาดดุลการคลังที่สูงกว่า 1.83 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. สูงสุดในรอบ 3 ปี เศรษฐกิจยูโรโซน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.1 ในปี 2568 ฟื้นตัวขึ้นจากการขยายตัวในเกณฑ์ต่าที่ร้อยละ 0.6 ในปี 2567 ตามแนวโน้มการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศที่ได้รับแรงสนับสนุนจากตลาดแรงงานที่แข็งแกร่งและการเพิ่มขึ้นของอัตราค่าจ้าง รวมทั้งแนวโน้มการผ่อนคลายนโยบายการเงินอย่างต่อเนื่องของธนาคารกลางยุโรป23 ประกอบกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนตุลาคมที่ปรับเพิ่มสู่ระดับ (-12.5) สูงสุดนับตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ 2565 เช่นเดียวกับดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (ZEW Economic Sentiment Index) ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นสู่ระดับ 20.1 เทียบกับ 9.3 ในเดือนก่อนหน้า และสูงสุดในรอบ 3 เดือน อย่างไรก็ตามการผลิตภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน รวมถึงอุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานเข้มข้นซึ่งยังได้รับผลกระทบจากระดับราคาพลังงานที่อยู่ในระดับสูง อาทิ อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 1.0 ในปี 2568 ฟื้นตัวจากร้อยละ 0.0 ในปี 2567 ตามแนวโน้มการฟื้นตัวของอุปสงค์ในประเทศ โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนที่ได้รับอานิสงค์จากการเพิ่มขึ้นของฐานรายได้จากการปรับขึ้นของค่าตอบแทนแรงงานรวมถึงการเพิ่มขึ้นของจ่านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่จะส่งผลดีต่อภาคบริการที่เกี่ยวข้อง เช่นเดียวกับภาคการลงทุนและการผลิตที่มีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นจากการคลี่คลายของปัญหาในภาคการผลิตรถยนต์ รวมถึงแนวโน้มการฟื้นของอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ตามวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ขณะที่ธนาคารกลางญี่ปุ่นมีแนวโน้มด่าเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดมากขึ้นเพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินส่งผลให้อัตราแลกเปลี่ยนเงินเยนมีแนวโน้มปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการอ่อนค่าสูงสุดนับตั้งแต่ปี 2529 ในช่วงที่ผ่านมา24 เศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.5 ในปี 2568 ชะลอลงจากร้อยละ 4.7 ในปี 2567 โดยเป็นผลมาจากความยืดเยื้อของปัญหาหนี้สิน ในภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเงินและความเชื่อมั่นผู้บริโภคและภาคธุรกิจ ซึ่งส่งผลให้การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง การฟื้นตัวที่ล่าช้าของอุปสงค์ภายในประเทศส่งผลให้ภาคการผลิตยังคงเผชิญกับปัญหาก่าลังการผลิตส่วนเกิน (Overcapacity) ซึ่งจะสร้างแรงกดดันต่อภาวะเงินฝืดรวมถึงการลงทุนภาคเอกชน สอดคล้องกับระดับสินค้าคงคลังของภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจจีนยังคงได้รับแรงสนับสนุนจากการด่าเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายของธนาคารกลางจีนควบคู่ไปกับการด่าเนินนโยบายการคลังขนาดใหญ่เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล25 เศรษฐกิจอินเดีย คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.5 เทียบกับร้อยละ 6.8 ในปี 2567 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคครัวเรือนคาดว่า ขยายตัวอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในชนบทมีแนวโน้มจะขยายตัวในเกณฑ์ดีจากรายได้เกษตรกรที่ขยายตัวในระดับสูง รวมถึงตลาดแรงงานที่ยังแข็งแกร่งโดยมีปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการช่วยเหลือการจ้างงานของรัฐบาล ขณะที่ภาคการผลิตที่ยังขยายตัวในเกณฑ์ดี อย่างไรก็ตาม การใช้จ่ายภาครัฐในระยะต่อไปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลงตามแนวนโยบายการปรับลดการขาดดุลการคลังของรัฐบาลซึ่งจะท่าให้แรงส่งจากการใช้จ่ายภาครัฐชะลอตัวลงหลังจากเร่งขึ้นในช่วงของการเลือกตั้งในปีงบประมาณ 2567 ส่วนอัตราเงินเฟ้อยังมีแนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับสูงโดยเฉพาะระดับราคาอาหาร ส่งผลให้ธนาคารกลางอินเดียมีข้อจ่ากัดในการผ่อนคลายนโยบายการเงินเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ26 เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนมาจากการอุปโภคบริโภคภายในประเทศที่ปรับตัวดีขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของอัตราค่าจ้างที่แท้จริงรวมถึงแนวโน้มการผ่อนคลายนโยบายการเงินของธนาคารกลางตามการลดลงของแรงกดดันเงินเฟ้อที่เริ่มกลับมาอยู่ในระดับกรอบของเป้าหมายนโยบายการเงิน27 ขณะที่ ภาคการส่งออกยังได้รับแรงสนับสนุนจากแนวโน้ม การพัฒนาของเทคโนโลยีระดับสูง โดยเฉพาะเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่ส่งผลให้ความต้องสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงซึ่งมีฐานการผลิตอยู่ในภูมิภาคเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ในปี 2568 เศรษฐกิจเกาหลีใต้ เศรษฐกิจฮ่องกง และเศรษฐกิจสิงคโปร์มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.2 ร้อยละ 3.0 และร้อยละ 2.5 ต่อเนื่องจากร้อยละ 2.4 ร้อยละ 2.8 และร้อยละ 2.5 ในปี 2567 ตามล่าดับ ขณะที่เศรษฐกิจไต้หวันคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.7 ชะลอลงจากการขยายตัวในเกณฑ์สูงที่ร้อยละ 3.7 ในปีก่อนหน้า ตามฐานการขยายตัวที่กลับเข้าสู่ระดับปกติ เศรษฐกิจอาเซียน มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตามการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศสอดคล้องกับแนวโน้มการผ่อนคลายนโยบายการเงินของธนาคารกลางและการฟื้นตัวของการส่งออกสินค้า อย่างไรก็ตามยังคงมีความเสี่ยงจากสงครามการค้าที่มีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงมากขึ้นจนส่งผลต่อภาคการส่งออก รวมถึงความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนจากการไม่แน่นอนของสถานการณ์เศรษฐกิจและการเมืองโลก 22 คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ (FOMC) ในการประชุมเมื่อวันที่ 6-7 พฤศจิกายน 2567 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายปรับลดลงมาอยู่ที่ช่วงร้อยละ 4.50 - 4.75 ซึ่งเป็นการปรับลดติดต่อกันเป็นครั้งที่สองนับตั้งแต่เดือนกันยายน 2567 โดยในกรณีฐานคาดว่าจะมีการปรับลดเพิ่มเติมอีกร้อยละ 0.25 ในช่วงที่เหลือของปี 2567 และปรับลดอีกร้อยละ 1.0 ในช่วงปี 2568 23 ธนาคารกลางยุโรปได้มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 ในการประชุมในเดือนตุลาคม 2567 ซึ่งเป็นการปรับลดครั้งที่สามนับตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2567 ทั้งนี้ แม้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 1.7 ในเดือนตุลาคม 2567 แต่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงอยู่ที่ร้อยละ 2.7 ส่งผลให้ธนาคารกลางยุโรปยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงต่อไป จนกว่าอัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มที่จะปรับลดลงสู่เป้าหมายเงินเฟ้อระยะปานกลางที่ร้อยละ 2.0 24 ค่าเงินเยนเฉลี่ยในเดือนตุลาคมอยู่ที่ 149.6 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นการอ่อนค่าลงร้อยละ 3.9 เมื่อเทียบกับ ณ สิ้นปีก่อนหน้า 25 รายละเอียดเพิ่มเติมใน Box มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของจีน 26 อัตราเงินเฟ้อในเดือนตุลาคมอยู่ที่ร้อยละ 6.21 สูงกว่าเป้าหมายนโยบายการเงินที่ร้อยละ 2.0 -6.0 ส่งผลให้ธนาคารกลางอินเดีย ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 6.5 อย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2566 27 อัตราเงินเฟ้อในเดือนตุลาคม 2567 ของเศรษฐกิจเกาหลีใต้ และไต้หวัน อยู่ที่ร้อยละ 1.25 และร้อยละ 1.69 ชะลอลงจากร้อยละ 1.60 และร้อยละ 1.82 ตามล่าดับ ในขณะที่ล่าสุดธนาคารกลางเกาหลีใต้และฮ่องกงได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 3.50 และร้อยละ 5.25 มาอยู่ที่ร้อยละ 3.25 และร้อยละ 5.00 ตามล่าดับ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 34 NESDC Economic Outlook ทั้งนี้ คาดว่าในปี 2568 เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์28 และเวียดนามขยายตัวร้อยละ 5.0 ร้อยละ 4.4 ร้อยละ 6.1 และร้อยละ 5.8 เทียบกับร้อยละ 5.0 ร้อยละ 4.6 ร้อยละ 5.8 และร้อยละ 6.0 ในปี 2567 ตามล่าดับ 28 เศรษฐกิจมาเลเซียคาดว่าจะได้รับแรงสนับสนุนจากโครงการ GEAR-uP ตั้งแต่ปี 2568 - 2572 ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศผ่านระบบ Government-Linked Investment Companies โดยคาดว่าจะสร้างเม็ดเงินลงทุนรวมภายในประเทศได้ประมาณ 27.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ร้อยละ 1.4 ของ GDP) และเม็ดเงินลงทุนเพื่อการพัฒนาตลาดทุนจากภาครัฐอีกประมาณ 1 แสนล้านดอลลาร์ สรอ. (ร้อยละ 5.1 ของ GDP) ขณะที่ เศรษฐกิจฟิลิปปินส์คาดว่าจะได้รับแรงสนับสนุนจากโครงการ Build-Better-More ตั้งแต่ปี 2568 - 2571 ที่มุ่งเน้น การสร้างและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ซึ่งคาดว่าจะมีมูลค่าการลงทุนประมาณร้อยละ 5-6 ของ GDP มาตรการที่สาคัญของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ในช่วงการดารงตาแหน่งสมัยแรก (2560 - 2563) ปี ข้อกฎหมาย รายละเอียด สถานะ 2560 EO 13767 การสร้างก่าแพงเขตดินแดนสหรัฐฯ-เม็กซิโก ถูกยกเลิก แต่เปลี่ยนนโยบายมุ่งเน้นจัดการ การเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย EO 13769 การห้ามการเดินทางเข้าประเทศของประชาชนจากประเทศมุสลิมบางประเทศ ถูกยกเลิก EO 13788 การส่งเสริมนโยบาย "Buy American, Hire American" และลดการให้วีซ่าท่างาน H-1B แก่ชาวต่างชาติ นโยบายการจ้างงานคนอเมริกันได้รับการสนับสนุนต่อเนื่อง แต่ลดจ่านวนการปฏิเสธวีซ่า EO 13796 เริ่มท่าการสืบสวนภายใต้มาตรา 301 ของ พ.ร.บ. การค้า ในกิจกรรมการค้าของจีน ยังบังคับใช้ และมีการประกาศค่าสั่งใหม่เพิ่มเติม EO 13765 การลดข้อก่าหนดบางประการของ ACA (Obamacare) อาทิ ชะลอการบังคับใช้ข้อก่าหนดต่าง ๆ ที่เป็นภาระทางการเงินต่อรัฐ บริษัท หรือบุคคล ถูกยกเลิก และประกาศค่าสั่งใหม่ EO 13783 การยกเลิกกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมถ่านหินและน่ามัน ถูกยกเลิก และประกาศค่าสั่งใหม่ EO 13800 ป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยการยกระดับระบบสารสนเทศของรัฐ ยังบังคับใช้ 2561 EO 13815 การลดจ่านวนผู้ลี้ภัยที่รับเข้าประเทศต่อปี ถูกยกเลิก และประกาศค่าสั่งใหม่ มาตรา 232 การเก็บภาษีน่าเข้าเหล็กและอลูมิเนียมภายใต้ มาตรา 232 ของ พ.ร.บ.การขยายการค้า ซึ่งให้อ่านาจพิจารณาผลกระทบของการน่าเข้าสินค้าต่อความมั่นคงของชาติ ยังบังคับใช้ แต่มีการปรับเปลี่ยนข้อก่าหนด/รายละเอียด EO 13807 การก่าหนดวินัยและความรับผิดชอบในการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม ถูกยกเลิก และประกาศค่าสั่งใหม่ 2562 EO 13888 การเพิ่มการมีส่วนร่วมของรัฐและท้องถิ่นในการตั้งถิ่นฐานผู้ลี้ภัย ถูกยกเลิก และประกาศค่าสั่งใหม่ EO 13873 การรักษาความปลอดภัยห่วงโซ่อุปทานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภายใต้พ.ร.บ. อ่านาจทางเศรษฐกิจฉุกเฉินระหว่างประเทศ (IEEPA) เช่น ห้ามการเข้าถึงของ Huawei, TikTok และ WeChat ยังบังคับใช้ แต่มีการประกาศค่าสั่งใหม่ รวมทั้งปรับเปลี่ยนข้อก่าหนด/รายละเอียด EO 13868 การลดกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล ถูกยกเลิก และประกาศค่าสั่งใหม่ 2563 EO 13936 การเพิกถอนสถานะพิเศษของฮ่องกงภายใต้กฎหมายใหม่ของจีน ยังบังคับใช้ EO 13959 ห้ามการลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวข้องกับกองทัพจีน ยังบังคับใช้ แต่มีการปรับเปลี่ยนข้อก่าหนด/รายละเอียด การเจรจาการค้า ข้อตกลงสหรัฐฯ-เม็กซิโก-แคนาดา (US-Mexico-Canada Agreement: USMCA) ซึ่งเข้ามาแทนที่ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) โดยมีความเข้มข้นมากขึ้นในด้านแรงงาน แหล่งก่าเนิดสินค้า ทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าดิจิทัล และสินค้าเกษตร ยังบังคับใช้ ที่มา: The White House, Reuters ข้อมูลเศรษฐกิจในช่วงการดารงตาแหน่งของประธานาธิบดีทรัมป์สมัยแรก (2560 - 2563) %YoY 2558 2559 2560 2561 2562 2563 โลก GDP 3.4 3.3 3.8 3.6 2.9 -2.7 ปริมาณการค้า 2.9 2.2 5.5 4.0 1.2 -8.5 สหรัฐฯ GDP 2.9 1.8 2.5 3.0 2.6 -2.2 มูลค่าการส่งออกสินค้า -5.6 -2.2 7.6 9.7 -1.2 -4.1 มูลค่าการน่าเข้าสินค้า -7.0 -4.1 7.7 8.9 -2.4 -13.5 จีน GDP 7.0 6.8 6.9 6.7 6.0 2.2 มูลค่าการส่งออกสินค้า -12.5 -3.9 19.9 13.0 -4.0 -0.1 ไทย GDP 3.1 3.4 4.2 4.2 2.1 -6.1 มูลค่าการส่งออกสินค้า -9.5 -5.9 14.4 11.9 -5.9 -11.2 ที่มา: IMF และ CEIC หมายเหตุ: การลดลงของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2563 เป็นผลมาจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นส่าคัญ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 35 NESDC Economic Outlook ข้อเสนอแนวนโยบายของรัฐบาลสหรัฐฯ ภายใต้การบริหารงานของว่าที่ประธานาธิบดีทรัมป์ สมัยที่ 2 นโยบาย รายละเอียดนโยบาย ผลกระทบต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก การค้าระหว่างประเทศ ? การปรับขึ้นอัตราภาษีน่าเข้าส่าหรับสินค้าทุกประเภท โดยสินค้าจากประเทศจีนอาจมีการเก็บภาษีในอัตราร้อยละ 60 และ และร้อยละ 10 - 20 ส่าหรับประเทศอื่น ๆ และการยกเลิกหลักการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง (Most-Favoured Nation Treatment: MFN) ที่ให้กับประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจีน ? ถอนตัวจากการกรอบความร่วมมือ Indo-Pacific Economic Framework (IPEF) ? ราคาสินค้าน่าเข้าปรับเพิ่มสูงขึ้นและสร้าง แรงกดดันต่อเงินเฟ้อ จนอาจส่งผลต่อแนวโน้ม การปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ให้ชะลอกว่าที่คาด ? อุปสงค์ภายในประเทศชะลอตัวจากระดับ ราคาที่เพิ่มสูงขึ้น ? มีการย้ายฐานการผลิตสินค้าบางส่วนเข้าไปยังสหรัฐฯ ? เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกชะลอตัวลงตามเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจีน รวมทั้งเศรษฐกิจประเทศที่ถูกปรับขึ้นอัตราภาษีน่าเข้าจากสหรัฐฯ ? ตลาดเงินตลาดทุนมีแนวโน้มตึงตัวมากขึ้นหากธนาคารกลางสหรัฐฯ ชะลอการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ? ประเทศคู่ค้ามีแนวโน้มที่จะด่าเนินมาตรการตอบโต้ทางการค้า ซึ่งจะส่งผลกระทบซ่าเติมต่อเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกมากขึ้น แรงงานผู้อพยพ ? การเพิ่มความเข้มงวดในการจ้างงานชาวต่างชาติด้วยวีซ่า H-1B รวมถึงการบังคับให้นายจ้าง มีการยืนยันสถานะทางการกฎหมายของลูกจ้าง ? การงดการให้สิทธิการเป็นสัญชาติอเมริกันส่าหรับเด็กที่เกิดในประเทศ แต่บุพการีไม่มีใบแจ้ง การอพยพถิ่นฐาน ? การเข้มงวดกับการจ้างแรงงานผิดกฎหมาย ? ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ตลาดแรงงานภายในประเทศตึงตัวมากขึ้น จนอาจส่งผลต่อภาคการผลิตและการเพิ่มขึ้นของระดับค่าจ้าง ? การขาดแรงงานฝีมือรวมถึงการคิดค้นนวัตกรรม เนื่องจากวีซ่า H-1B จะมุ่งเน้นไปที่แรงงานฝีมือ ? ปัญหาแรงงานผิดกฎหมายรวมถึงคนอาศัยอยู่ในประเทศโดยผิดกฎหมายลดลง ? เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มชะลอตัวลงตามเศรษฐกิจสหรัฐฯ ? การแข่งขันกันเพื่อแย่งแรงงานฝีมือ ในประเทศต่าง ๆ จะทวีความเข้มข้นมากขึ้น ? การลดลงของเงินทุนส่งกลับประเทศ (Remittance) โดยเฉพาะในอินเดีย เม็กซิโก และฟิลิปปินส์ ภาษี ? การบังคับใช้มาตรการลดหย่อนภาษีนิติบุคคล (Tax Cuts and Jobs Act: TCJA) เป็นการถาวร หลังจากที่ใช้มาตั้งแต่ปี 2560 และมีก่าหนดสิ้นสุดในปี 2568 ? การปรับลดภาษีนิติบุคคลจากร้อยละ 20 - 21 เป็นร้อยละ 15 ส่าหรับประเทศที่มีการผลิตภายในประเทศ ? กระตุ้นการอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนให้ขยายตัวดีขึ้น และสร้าง แรงกดดันต่อเงินเฟ้อ ? รายได้รัฐบาลปรับลดลงและรัฐบาลขาดดุล การคลังมากขึ้น ? การปรับลดภาษีจะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้มีรายได้สูง ซึ่งอาจส่งผลให้การกระจาย รายได้แย่ลง ? เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของสหรัฐฯ ในด้านต้นทุนภาษีส่าหรับผู้ประกอบการ ? ดึงดูดเม็ดเงินลงทุนระหว่างประเทศให้เข้าสู่ตลาดทุนสหรัฐฯ เนื่องจากคาดว่า ผลประกอบการตลาดสหรัฐฯ จะขยายตัวได้ดี สิ่งแวดล้อมและพลังงานสะอาด ? การสนับสนุนการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ลดเงินลงทุนภายใต้กฎหมาย Inflation Reduction Act การยกเลิกเครดิตภาษีคาร์บอนและเงินสนับสนุนโครงการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ? การผ่อนคลายมาตรการควบคุมด้านมลพิษ ? การถอนตัวการเป็นสมาชิกของความตกลงปารีส (Paris Agreement) ? การเปลี่ยนผ่านสีเขียวของสหรัฐฯ ขาดความต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างห่วงโซ่อุปทานการผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้า โซลาร์เซลล์ รวมถึงระบบพลังงงานทดแทน ? อุตสาหกรรมน่ามันและก๊าซมีแนวโน้ม ขยายตัวได้ดี ? การด่าเนินการเพื่อลดผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก มีความล่าช้ามากขึ้น ? อุปทานน่ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ ปรับเพิ่มขึ้น ? การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน มีความล่าช้าลง การเมืองระหว่างประเทศ ? ลดการมีส่วนเกี่ยวข้องในความขัดแย้งระหว่างประเทศ และมีจุดยืนที่ไม่สนับสนุน NATO ? การยกเลิกความช่วยเหลือแก่ยูเครนแต่ยังให้ การสนับสนุนอิสราเอล รวมถึงการเพิ่ม ความเข้มข้นในมาตรการกีดกันทางเศรษฐกิจต่ออิหร่าน ? การลดรายจ่ายภาครัฐโดยเฉพาะด้าน ความมั่นคงประเทศ ? ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศ ต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไป ? การแบ่งขั้วทางการเมืองโลกจะรุนแรง มากขึ้น ? ความขัดแย้งในตะวันออกกลางมีแนวโน้ม ที่จะทวีความรุนแรงขึ้นจนส่งอาจส่งผลต่ออุปทานพลังงาน ที่มา: รวบรวมโดย สศช. หมายเหตุ: ข้อเสนอแนวนโยบายเป็นการรวบรวมจากค่าแถลงในช่วงของการหาเสียงเลือกตั้ง ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ภายหลังจากการเข้ารับต่าแหน่งอย่างเป็นทางการ ของประธานาธิบดีทรัมป์ และการคาดการณ์ผลกระทบของการด่าเนินมาตรการต่าง ๆ ยังเป็นเพียงการประเมินเบื้องต้น ซึ่งต้องขึ้นอยู่กับระยะเวลาและรูปแบบ ในการด่าเนินการที่ยังต้องรอความชัดเจนของการประกาศใช้นโยบายต่าง ๆ อย่างเป็นทางการอีกครั้ง กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 36 NESDC Economic Outlook แนวทางการดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ การด่าเนินมาตรการกีดกันทางการค้ารอบใหม่ของสหรัฐฯ คาดการณ์จะสามารถด่าเนินการได้ผ่าน 4 แนวทางหลัก ประกอบด้วย (1) การด่าเนินการผ่านมาตรการ 201 แห่ง พ.ร.บ. การค้า 2517 (Section 201 of the Trade Act. 1974) ว่าด้วยมาตรการก่าหนดการปกป้องภายในประเทศเป็นการชั่วคราว เช่น การเพิ่มภาษีน่าเข้า เมื่อมีการน่าเข้าสินค้าจ่านวนมากที่เป็นสาเหตุส่าคัญของความเสียหายร้ายแรงต่ออุตสาหกรรมภายในประเทศ (Safeguard) โดยมีผู้รับผิดชอบ คือ คณะกรรมาธิการการค้าระหว่างประเทศสหรัฐฯ (U.S. International Trade Commission: ITC) ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระภายใต้รัฐบาลกลาง (2) การด่าเนินการผ่านมาตรการ 301 ว่าด้วยมาตรการจัดการกับ การละเมิดข้อตกลงการค้า หรือการกระท่า นโยบาย หรือแนวปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมจากต่างประเทศ โดยหน่วยงานผู้รับผิดชอบ คือ ส่านักงานผู้แทนการค้าสหรัฐฯ (United States Trade Representative: USTR) (3) การด่าเนินการผ่านมาตรา 232 (Section 232 of the Trade Expansion Act of 1962) ว่าด้วยการจัดการกับการละเมิดข้อตกลงการค้า หรือการกระท่า นโยบาย หรือแนวปฏิบัติที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ โดยมีผู้รับผิดชอบคือ กระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯ ซึ่ง 2 ช่องทางนี้ถือเป็นอ่านาจของฝ่ายบริหาร และ (4) การออกกฎหมายเพื่อยกเลิกหลักการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง (Most-Favoured Nation Treatment: MFN) ซึ่งถือเป็นการด่าเนินการที่ท้าทายต่อระบบการค้าระหว่างประเทศโดยรวม โดยช่องทางการออกกฎหมายดังกล่าวนี้เป็นอ่านาจของฝ่ายนิติบัญญัติของสหรัฐฯ ทั้งนี้ ในกรณีทั่วไปคาดว่ากระบวนการ ในการด่าเนินการในการขึ้นภาษีน่าเข้าสินค้าจากจีน และประเทศอื่น ๆ ทั้ง 4 แนวทางจ่าเป็นต้องใช้ระยะเวลาในการด่าเนินการไม่ต่ากว่าอย่างน้อย 6 เดือน ก่อนจะมีผลบังคับใช้ แนวทางในการดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ มาตรา 201 มาตรา 301 กระบวนการ ระยะเวลา กระบวนการ ระยะเวลา 1. การยื่นค่าร้อง ไม่ก่าหนดระยะเวลา 1. เริ่มต้นสอบสวน 45 วัน 2. การเริ่มต้นสอบสวน 21 วัน 2. ประกาศและรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ 30 - 60 วัน 3. การสอบสวนและการพิจารณา 120 วัน 3. วิเคราะห์และรายงานผลการสอบสวน 365 วัน 4. การตัดสินใจของ ITC 180 วัน 4. การตัดสินใจและประกาศมาตรการตอบโต้ 30 วัน 5. การตัดสินใจของประธานาธิบดี 60 วัน 5. การด่าเนินการและติดตามผล เริ่มทันทีหลังการประกาศ ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมาธิการการค้าระหว่างประเทศสหรัฐฯ (United States International Trade Commission - ITC) ผู้รับผิดชอบ: สานักงานผู้แทนการค้าสหรัฐฯ (United States Trade Representative: USTR) มาตรา 232 การยกเลิกหลักการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง กระบวนการ ระยะเวลา กระบวนการ ระยะเวลา 1. เริ่มต้นสอบสวน ไม่ก่าหนดระยะเวลา 1. การเสนอร่างกฎหมาย ไม่ก่าหนดระยะเวลา 2. การรวบรวมข้อมูลและรับฟังความเห็น 30 - 60 วัน 2. การพิจารณาในคณะกรรมาธิการ 30 วันขึ้นไป 3. วิเคราะห์และรายงานผลการสอบสวน 270 วัน 3. การอภิปรายและลงมติในสภาผู้แทนราษฎร ขึ้นอยู่กับการตกลงใน สภาผู้แทนราษฎร 4. การส่งรายงานให้ประธานาธิบดี 15 วัน 4. การพิจารณาในวุฒิสภา ขึ้นอยู่กับความตกลงของวุฒิสภา 5. การตัดสินใจของประธานาธิบดี 90 วัน 5. การปรับปรุงและการลงมติขั้นสุดท้าย ไม่ก่าหนดระยะเวลา 6. การด่าเนินมาตรการ 15 วัน 6. การลงนามของประธานาธิบดี 10 วันในการลงนามหรือยับยั้ง ผู้รับผิดชอบ: กระทรวงพาณิชย์ ผู้รับผิดชอบ: รัฐสภา ที่มา: Section 201 of the Trade Act of 1974 (Global Safeguard Investigations) Section 301 of the Trade Act of 1974 Section 232 of the Trade Expansion Act of 1962 The Legislative Process by the US Congress กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 37 Economic Outlook NESDC การดาเนินนโยบายกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ ที่ผ่านมา: ผลต่อการค้าระหว่างประเทศของไทย เมื่อพิจารณาจากข้อมูลผลจากการด่าเนินนโยบายกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ ในอดีตภายใต้การบริหารงานของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ (Trump 1.0) ระหว่างปี 2560 - 2563 ต่อการค้าระหว่างประเทศของจีนพบว่า จีนมีทิศทางการส่งออกไปสหรัฐฯ ลดลง ซึ่งท่าให้เกินดุลการค้ากับสหรัฐฯ ลดลงในช่วงดังกล่าว จากที่เคยเกินดุล 4.18 แสนล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2561 ลดลงเป็น 3.1 แสนล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2563 และ 2.8 แสนล้าน ดอลลาร์ สรอ. ในปี 2566 สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตลาดน่าเข้าของสหรัฐฯ ในปี 2566 ซึ่งพบว่าเม็กซิโกกลายเป็นตลาดน่าเข้าอันดับ 1 ของสหรัฐฯ แทนที่จีน โดยเม็กซิโกมีมูลค่าการน่าเข้าสูงกว่ามูลค่าการน่าเข้าจากจีนเป็นครั้งแรกในรอบ 21 ปี ท่าให้เม็กซิโกมีสัดส่วนร้อยละ 15.4 ต่อการน่าเข้ารวมของสหรัฐฯ ขณะที่จีนมีสัดส่วนร้อยละ 13.9 ต่อการน่าเข้ารวมของสหรัฐฯ ลดลงอย่างมีนัยส่าคัญจากสัดส่วนร้อยละ 21.6 ในปี 2560 ในขณะที่สหรัฐฯ มีสัดส่วนการน่าเข้าจากไทยอยู่ที่ร้อยละ 1.8 ในปี 2566 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.3 ในปี 2560 ขณะเดียวกัน หากพิจารณาผลต่อการลงทุนระหว่างประเทศ พบว่า นับตั้งแต่การใช้มาตรการกีดกันทางการค้าในปี 2561 ภูมิภาคละตินอเมริกา และกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชีย ได้ประโยชน์จากการย้ายฐานการผลิต สินค้าออกจากจีน สะท้อนจากยอดคงค้างเงินลงทุนโดยตรงจากจีนที่เพิ่มขึ้น นับตั้งแต่ปี 2561 โดยเฉพาะกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs-4) อาทิ เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ไต้หวัน และฮ่องกง และกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN-5) อาทิ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ และไทย มีเม็ดเงินลงทุนโดยตรง ไหลเข้าจากจีนไปยังกลุ่มประเทศ NIEs สะสมในปี 2565 อยู่ที่ 1.67 ล้านล้าน ดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 61.7 จาก 1.03 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2560 (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 61.7 ของเงินลงทุนรวมสะสมในปี 2565) และ เงินลงทุนจากจีนไปยังกลุ่มประเทศอาเซียน 60.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้น ร้อยละ 126.0 จาก 26.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2560 (คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 2.2 ของเงินลงทุนรวมสะสมในปี 2565) การด่าเนินมาตรการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน ยังส่งผลให้หลายประเทศในกลุ่มดังกล่าวสามารถส่งออกไปยังสหรัฐฯ มากขึ้น และส่งผลให้มีการเกินดุลกับสหรัฐฯ โดยเฉพาะเม็กซิโก และเวียดนาม รองจากจีน อย่างไรก็ตาม ประเทศดังกล่าวมีการน่าเข้าสินค้าจากจีนมากขึ้น เช่นกัน ส่งผลให้การขาดดุลการค้าของประเทศกลุ่มดังกล่าวกับจีนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งในปี 2566 ไทยเกินดุลกับสหรัฐฯ คิดเป็น เม กซิโก จีน แคนาดา เยอรมนี ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เวียดนาม ไต้หวัน อินเดีย ไอร์แลนด์ อิตาลี UK ฝรั่งเศส ไทย อื่น ๆ ตลาดนาเข้าหลักของสหรัฐฯ ในปี 2566 เม็กซิโก จีน แคนาดา เยอรมนี ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เวียดนาม ไต้หวัน อินเดีย ไอร์แลนด์ อิตาลี UK ฝรั่งเศส ไทย อื่น ๆ ที่มา: Global Trade Atlas 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 ยอดคงค้างเงินลงทุนโดยตรงจากจีน จาแนกตามภูมิภาค อาเซียน(5) กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่(4) สหภาพยุโรป27 ละตินอเมริกา อเมริกาเหนือ อื่นๆ ที่มา: China?s Ministry of Commerce ล้านดอลลาร์ สรอ. 0 100,000 200,000 300,000 400,000 500,000 600,000 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 จีนเกินดุลการค้ากับสหรัฐฯ ลดลงในช่วงปี 2560 2563 (Trump 1.0) ดุลการค้ากับสหรัฐฯ ส่งออกไปจีน น่าเข้าจากจีน ช่วงการดารงตาแหน่งสมัยแรก (TRUMP 1.0) ล้านดอลลาร์ สรอ. ที่มา: Global Trade Atlas ประมวลผลโดย สศช. -279.1 -152.5 -104.6 -82.6 -71.6 -65.6 -64.3 -51.1 -47.8 -44.1 -43.3 -40.7 -26.8 -24.5 -17.0 -300.0 -250.0 -200.0 -150.0 -100.0 -50.0 0.0 จีน เม กซิโก เวียดนาม เยอรมนี ญี่ปุ่น ไอร์แลนด์ แคนาดา เกาหลีใต้ ไต้หวัน อิตาลี อินเดีย ไทย มาเลเซีย สวิตเซอร์แลนด์ อินโดนีเซีย 15 อันดับประเทศที่เกินดุลสหรัฐฯ มากที่สุดในปี 2566 (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) ที่มา: Global Trade Atlas ประมวลผลโดย สศช.; หมายเหตุ: ข้อมูลดุลการค้าของสหรัฐฯ เป็นการรายงานจากทางฝั งของสหรัฐฯ (Reporter) กับประเทศคู่ค้า (Trade Partner) เช่นเดียวกับดุลการค้าของจีน ซึ่งเป็นการรายงานจากทางฝั งจีนกับประเทศคู่ค้า 152.5 104.6 64.3 43.3 40.7 -63.0 -49.0 -1.6 -100.1 -25.8 -160.0 -80.0 0.0 80.0 160.0 เม กซิโก เวียดนาม แคนาดา อินเดีย ไทย ดุลการค้าของประเทศที่ขาดดุลกับจีนแต่เกินดุลการค้ากับสหรัฐฯ สูงในปี 2566 (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) ขาดดุลจีน เกินดุลสหรัฐฯ กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 38 NESDC Economic Outlook การดาเนินนโยบายกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ ที่ผ่านมา: ผลต่อการค้าระหว่างประเทศของไทย (ต่อ) เมื่อพิจารณาในรายสินค้าที่สหรัฐฯ พึ่งพาการน่าเข้าจากจีนในสัดส่วนที่สูงและเป็นกลุ่มสินค้าที่สหรัฐฯ ขาดดุลการค้ากับจีนค่อนข้างสูง ในช่วงก่อนการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ กับจีน (ปี 2559 - 2560) เปรียบเทียบกับช่วงการด่าเนินมาตรการกีดกันทางการค้าที่เริ่มขึ้น ในปี 2561 เป็นต้นไป (ปี 2561 - 2566) จะสามารถแบ่งกลุ่มสินค้าได้เป็น 2 กลุ่มหลัก ดังนี้ (1) กลุ่มสินค้าที่สหรัฐฯ ขาดดุลจีนลดลงแต่ขาดดุลไทยมากขึ้น ซึ่งส่วนหนึ่งสะท้อนโอกาสของการส่งออกของกลุ่มสินค้าเหล่านี้ไปยังตลาดสหรัฐฯ ได้แก่ โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (HS 8517) เครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ (HS 8471) จอมอนิเตอร์และเครื่องฉาย (HS 8528) ส่วนประกอบและอุปกรณ์ส่านักงาน (HS 8473) เครื่องท่าน่าร้อนและส่วนประกอบ (8516) และเฟอร์นิเจอร์และส่วนประกอบ (HS 9403) เป็นต้น และ (2) กลุ่มสินค้าที่สหรัฐฯ ขาดดุลทั้งจากจีนและไทยมากขึ้น ได้แก่ หม้อสะสมไฟฟ้าและส่วนประกอบ (HS 8507) ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ ไมโครโฟนและส่วนประกอบ (HS 8518) และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ (HS 8415) เป็นต้น จะเห็นว่าในกรณีของไทย มีสินค้าที่ได้ประโยชน์จากการที่สหรัฐฯ ลดการน่าเข้าจากจีน และเปลี่ยนมาน่าเข้าจากไทยเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี สินค้ากลุ่มดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นสินค้าสาคัญที่ไทยพึ่งพาการนาเข้าจากจีนในสัดส่วนที่สูงเช่นกัน เช่น โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (HS 8517) (สัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 63.7 (ก่อน Trade War 1.0) เป็นร้อยละ 70.6 (หลัง COVID-19) และเครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ (HS 8471) (สัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 54.3 เป็นร้อยละ 64.4) เป็นต้น โดยหากพิจารณากลุ่มสินค้าสาคัญที่ไทยเกินดุลการค้ากับสหรัฐฯ แต่ขาดดุลให้กับสินค้าจีน พบว่า ในปี 2566 กลุ่มสินค้าที่ไทยขาดดุลจีนมากที่สุด ได้แก่ เครื่องจักรไฟฟ้า อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักร เครื่องใช้กลและส่วนประกอบ ยานพาหนะ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ ของท่าด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้า เฟอร์นิเจอร์ และพลาสติกและของที่ท่าด้วยพลาสติก ตามล่าดับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าแม้สหรัฐฯ จะเป็นตลาดส่งออกอันดับ 1 ของไทยแทนที่จีนในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2562 - 2566) โดยตลาดสหรัฐฯ มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 17.1 ของการส่งออกรวมของไทย แต่ไทยยังพึ่งพาการน่าเข้าสินค้าจากจีนเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยไทยมีสัดส่วนการน่าเข้าจากจีนร้อยละ 24.3 ของการน่าเข้ารวม โดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าซึ่งเป็นที่ต้องการในตลาดโลก อาทิ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า รวมถึงยานพาหนะ ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกส่าคัญของไทยในช่วงหลายปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีกลุ่มสินค้าที่ไทยเกินดุลทั้งในตลาดสหรัฐฯ และจีน อาทิ ยางและของที่ท่าด้วยยาง และของปรุงแต่งท่าจากพืชผัก หรือผลไม้ เป็นต้น ดุลการค้าของสหรัฐฯ กับจีนและไทย แบ่งตามสินค้าสหรัฐฯ ที่ขาดดุลการค้าในระดับสูง (ล้านดอลลาร์ สรอ.) HS Code: Product โครงสร้างสินค้านาเข้าสหรัฐฯ จากจีน ปี 66 ดุลการค้าสหรัฐฯ กับจีน ดุลการค้าสหรัฐฯ กับไทย สัดส่วนนาเข้าไทยจากจีน (59-60) สัดส่วนนาเข้าไทยจากจีน (65-66) ก่อน TW 1.0 (59-60) TW 1.0 (61-62) COVID-19 (63-64) หลัง COVID-19 (65-66) ก่อน TW 1.0 (59-60) TW 1.0 (61-62) COVID-19 (63-64) หลัง COVID-19 (65-66) 8517: โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 12.8 -128,341 -127,607 -110,886 -116,129 -5,779 -4,458 -5,850 -9,869 63.7 70.6 8471: เครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ 9.2 -94,517 -93,606 -111,747 -91,699 -8,125 -8,760 -13,704 -13,812 54.3 64.4 8528: จอมอนิเตอร์และเครื่องฉาย 1.5 -21,307 -23,662 -17,374 -15,723 -809 -886 -798 -823 29.3 55.5 8473: ส่วนประกอบและอุปกรณ์ส่านักงาน 1.5 -24,657 -21,257 -11,544 -12,104 -230 -327 -109 -890 23.1 23.0 8516: เครื่องท่าน่าร้อนและส่วนประกอบ 1.4 -10,269 -11,782 -13,262 -12,689 -484 -558 -988 -1,291 48.7 60.0 9403: เฟอร์นิเจอร์และส่วนประกอบ 1.3 -21,322 -21,115 -14,992 -13,388 -300 -313 -973 -1,142 55.6 73.6 8504: หม้อแปลงไฟฟ้า 1.0 -10,441 -10,228 -7,990 -8,351 -534 -778 -1,554 -3,394 51.4 61.1 9405: โคมไฟและส่วนประกอบ 0.8 -13,824 -13,293 -10,775 -8,414 -15 -31 -154 -467 80.7 89.7 8525: เครื่องส่งสัญญาณวิทยุ 0.5 -10,299 -10,564 -8,285 -5,472 -1,416 -1,227 -1,646 -2,497 49.4 56.2 8418: ตู้เย็นและส่วนประกอบ 0.5 -3,663 -3,952 -5,463 -4,974 -116 -342 -845 -1,204 51.3 71.1 8443: เครื่องพิมพ์และส่วนประกอบ 0.4 -12,210 -9,963 -4,218 -3,851 -1,896 -1,971 -1,917 -2,524 36.2 35.7 4011: ยางนอกชนิดอัดลม 0.2 -3,804 -3,356 -2,021 -1,996 -3,248 -4,959 -5,754 -6,792 26.7 35.5 8541: เซมิคอนดักเตอร์และส่วนประกอบ 0.2 -3,934 -724 -135 -96 238 384 -2,052 -5,034 23.6 53.4 8507: หม้อสะสมไฟฟ้าและส่วนประกอบ 3.7 -2,970 -4,206 -7,423 -26,133 3 -22 -34 -46 28.6 55.6 8708: ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ 2.2 -14,144 -15,941 -13,051 -16,654 10 -98 -683 -1,025 12.4 21.2 8518: ไมโครโฟนและส่วนประกอบ 1.2 -6,033 -7,280 -9,748 -11,070 -189 -154 -321 -585 63.2 70.9 8415: เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ 0.6 -4,915 -5,585 -5,180 -5,842 -611 -772 -1,695 -3,080 37.5 66.2 ที่มา: Global Trade Atlas, หมายเหตุ: TW = Trade War สหรัฐฯ ขาดดุลจากจีนลดลง แต่ขาดดุลจากไทยมากขึ้น สหรัฐฯ ขาดดุลจากจีนมากขึ้น และขาดดุลจากไทยมากขึ้น น่าเข้าจากจีนมากขึ้นเมื่อเทียบกับโลก (สัดส่วน > ร้อยละ 50) น่าเข้าจากจีนมากขึ้นเมื่อเทียบกับโลก (สัดส่วน < ร้อยละ 50) น่าเข้าจากจีนลดลงเมื่อเทียบกับโลก ดุลการค้ากับจีนดุลการค้ากับสหรัฐฯ() = สัดส่วนการส่งออกของไทยไปสหรัฐฯ ปี 2566ที่มา: Global Trade Atlas ประมวลผลโดย สศช.-17,772 -7,747 -3,926 -3,612 -1,064 -941 -312 -304 -154 94 144 3,611 13,856 8,084 686 1,086 713 367 484 1,353 846 378 642 4,386 -20,000-15,000-10,000-5,00005,00010,00015,00020,000HS 85: เครื่องจักรไฟฟ้า อุปกรณ์และส่วนประกอบ (34.4)HS 84: เครื่องจักร เครื่องใช้กลและส่วนประกอบ (21.4)HS 87: ยานพาหนะ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ (5.1)HS 73: ของท่าด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้า (3.0)HS 94: เฟอร์นิเจอร์ (1.6)HS 39: พลาสติกและของที่ท่าด้วยพลาสติก (2.3)HS 61: เครื่องแต่งกายและของที่ใช้ประกอบ (1.0)HS 71: โลหะมีค่า เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ (3.5)HS 16: ของปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์ สัตว์น่า หรือแมลง (1.8)HS 23: กากและเศษที่เหลือจากอุตสาหกรรม (1.2)HS 20: ของปรุงแต่งท่าจากพืชผัก หรือผลไม้ (1.4)HS 40: ยางและของที่ท่าด้วยยาง (9.5)สินค้าส่งออกสาคัญของไทยไปสหรัฐฯ เปรียบเทียบดุลการค้าของไทยกับสหรัฐฯ และจีน (ล้านดอลลาร์ สรอ.) กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 39 NESDC Economic Outlook นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจจีน การชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่องของเศรษฐกิจจีน ประกอบกับปัญหาหนี้สินและสภาพคล่องในภาคอสังหาริมทรัพย์ส่งผลให้รัฐบาลจีน ได้ด่าเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจทั้งด้านการเงินและการคลัง โดยมุ่งเน้นไปที่การเพิ่มสภาพคล่องให้กับตลาดเงินตลาดทุน ผ่านการลดต้นทุน การกู้ยืม เพื่อกระตุ้นก่าลังซื้อในภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ซบเซา รวมถึงการเพิ่มก่าลังซื้อให้กับภาคครัวเรือนภายในประเทศ นอกจากนี้ มาตรการยังมุ่งที่จะลดข้อจ่ากัดทางด้านการคลังของรัฐบาลท้องถิ่น เพื่อให้มีศักยภาพในการช่วยเหลือผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ที่ประสบปัญหาต่อไป รายละเอียดมาตรการ วันที่ 24 กันยายน 2567 มาตรการทางการเงิน ธนาคารกลางจีน (People?s Bank of China: PBOC) ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงส่าคัญเพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับธนาคารพาณิชย์และสนับสนุนการใช้จ่ายในภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ ประกอบด้วย 1) การปรับลดอัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร (Reverse Repo Rate) ซึ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบายระยะสั้น ระยะ 7 วัน ลงจาก ร้อยละ 1.70 มาอยู่ที่ร้อยละ 1.50 และอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นระยะ 14 วัน ลงจากร้อยละ 1.85 มาอยู่ที่ร้อยละ 1.65 2) การปรับลดอัตราส่วนเงินส่ารองขั้นต่าของธนาคารพาณิชย์ (Required Reserve Ratio: RRR) จากร้อยละ 7.00 มาอยู่ที่ร้อยละ 6.60 ซึ่งเป็นอัตราที่ต่าสุดเป็นประวัติการณ์ ซึ่งการปรับลดดังกล่าวจะช่วยเพิ่มสภาพคล่องระยะยาวมูลค่าประมาณ 1 ล้านล้านหยวนให้กับธนาคารพาณิชย์ 3) การปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะกลางอายุ 1 ปีส่าหรับสถาบันการเงิน (Medium-Term Lending Facility: MLF) ลงจากร้อยละ 2.30 มาอยู่ที่ร้อยละ 2.00 ซึ่งจะช่วยเสริมสภาพคล่องระยะสั้นให้กับธนาคารพาณิชย์มากถึง 2.91 แสนล้านหยวน เพื่อสนับสนุนการใช้จ่ายของภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจผ่านการปรับลดต้นทุนการกู้ยืม 4) การปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี (Loan Prime Rate: LPR) ระยะเวลา 1 ปี จากร้อยละ 3.35 มาอยู่ที่ร้อยละ 3.10 และระยะเวลา 5 ปี จากร้อยละ 3.85 มาอยู่ที่ร้อยละ 3.60 เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้ระบบเศรษฐกิจต่อไป มาตรการสนับสนุนตลาดทุน ธนาคารกลางจีน (People?s Bank of China: PBOC) ได้ประกาศมาตรการเพิ่มสภาพคล่องเข้าสู่ตลาดทุนเพื่อเพิ่ม ความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุน - โครงการ Swap Facility (SFISF) มูลค่า 5 แสนล้านหยวน ซึ่งจะช่วยให้กองทุน บริษัทหลักทรัพย์ และบริษัทประกันภัย สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายขึ้นผ่านการใช้ทรัพย์สินค่าประกันเพื่อแลกเปลี่ยนสภาพคล่องจากธนาคารกลางในการซื้อหุ้น - โครงการ Special Re-lending Program มูลค่า 3 แสนล้านหยวน เพื่อให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่าแก่ธนาคารพาณิชย์ในการเพิ่มสภาพคล่องให้กับบริษัทจดทะเบียน และผู้ถือหุ้นรายใหญ่เพื่อน่าไปซื้อหุ้นคืนหรือเพิ่มสัดส่วนการถือครองหุ้น มาตรการช่วยเหลือภาคอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารกลางจีน (People?s Bank of China: PBOC) ร่วมกับ สานักงานกากับดูแลการเงินแห่งชาติ (National Financial Regulatory Administration: NFRA) ปรับลดอัตราส่วนเงินดาวน์ขั้นต่าและอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อที่อยู่อาศัยที่มีอยู่เดิม เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ - การปรับลดอัตราส่วนเงินดาวน์ขั้นต่า (The Minimum Down Payment Ratio) ส่าหรับผู้ซื้อบ้านหลังที่สองจากร้อยละ 25 มาอยู่ที่ร้อยละ 15 ซึ่งเท่ากับการซื้อบ้านหลังแรก - การปรับลดอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อที่อยู่อาศัยที่มีอยู่เดิม (Existing Mortgage) ลงเฉลี่ยร้อยละ 0.5 ซึ่งจะช่วยลดภาระหนี้ให้กับ 50 ล้านครัวเรือน - การปรับเพิ่มสัดส่วนการกู้ยืมของรัฐบาลท้องถิ่นในโครงการ Relending Facility จากร้อยละ 60 เป็นร้อยละ 100 เพื่อสนับสนุน การซื้อที่อยู่อาศัยที่ไม่สามารถขายได้และน่ามาพัฒนาต่อเป็นโครงการที่อยู่อาศัยส่าหรับผู้มีรายได้น้อย มาตรการทางการคลัง กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) และกระทรวงกิจการพลเรือนจีน (Ministry of Civil Affairs) ได้ประกาศมาตรการอุดหนุนค่าครองชีพแก่ประชาชนกลุ่มเปราะบางและว่างงานราว 4.74 ล้านคนทั่วประเทศ เพื่อกระตุ้นการบริโภคภายในครัวเรือน ภายใต้งบประมาณ 1.547 แสนล้านหยวน วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มาตรการทางการคลัง ในการประชุมสภาประชาชนแห่งชาติจีน (National People's Congress: NPC) ที่ได้จัดขึ้นระหว่าง 4-8 พ.ย. 67 รัฐบาลจีนได้ออกมาตรการ Debt swap program มูลค่า 10 ล้านล้านหยวน เพื่อช่วยในการปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐบาลท้องถิ่น ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลท้องถิ่นสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ได้มากถึง 6 แสนล้านหยวนซึ่งจะช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้กับรัฐบาลท้องถิ่นที่ประสบปัญหาต่อไป โดยมาตรการดังกล่าวประกอบด้วย 1) การปรับเพิ่มเพดานหนี้ของรัฐบาลท้องถิ่นเป็น 35.52 ล้านล้านหยวน จากเดิมที่ระดับ 29.52 ล้านล้านหยวน ซึ่งจะส่งผลให้รัฐบาลท้องถิ่นสามารถออกพันธบัตรพิเศษเพิ่มเติมได้ (Special-purpose bonds) 6 ล้านล้านหยวน ในระยะเวลา 3 ปี โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและช่วยรัฐบาลท้องถิ่นจัดการกับความเสี่ยงด้านหนี้นอกงบดุล (Off-balance Sheet Debts) 2) การออกพันธบัตรรัฐบาลท้องถิ่นพิเศษ (Special-purpose bonds) 4 ล้านล้านหยวน ในระยะเวลา 5 ปี ส่าหรับให้รัฐบาลท้องถิ่นไปด่าเนินการซื้อและพัฒนาที่ดินอสังหาริมทรัพย์ ที่มา: รวบรวมโดย สศช. ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 40 NESDC Economic Outlook เศรษฐกิจไทยในปี 2567 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.6 ฟื้นตัวขึ้นจากร้อยละ 1.9 ในปีก่อนหน้า อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยทั้งปีคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 2.5 ของ GDP ในการแถลงข่าววันที่ 18 พฤศจิกายน 2567 ส่านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2567 จะขยายตัวร้อยละ 2.6 ซึ่งอยู่ในช่วงของการประมาณการร้อยละ 2.3 - 3.3 ในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2567 โดยมีการปรับองค์ประกอบการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับข้อมูลจริงในช่วงสามไตรมาสแรกของปี และการปรับเปลี่ยนสมมติฐานการประมาณการ ที่ส่าคัญ ๆ ดังนี้ 1) การปรับเพิ่มประมาณการการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน โดยคาดว่าการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 4.8 จากร้อยละ 4.5 ในการประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากผลของโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจ ปี 2567 ผ่านผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและคนพิการ วงเงินงบประมาณทั้งสิ้น 145,500 ล้านบาท ที่ไม่ได้รวมอยู่ในสมมติฐานประมาณการครั้งก่อน ซึ่งคาดว่าจะมีส่วนช่วยในการสนับสนุนการใช้จ่ายของภาคครัวเรือนในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2567 2) การปรับประมาณการการลงทุนรวม เป็นร้อยละ 0.2 จากเดิมที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.1 โดยคาดว่า การลงทุนภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ 2.4 จากการลดลงร้อยละ 0.7 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนประจ่าปีงบประมาณ 2567 ที่ร้อยละ 65.2 ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด สูงกว่าร้อยละ 60.0 ในสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อน รวมถึงการปรับเพิ่มสมมติฐานการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจที่คาดว่าจะมีวงเงินลงทุนทั้งสิ้น 3.58 แสนล้านบาท จาก 3.36 แสนล้านบาทในการประมาณการครั้งก่อน ส่วนการลงทุนภาคเอกชนคาดว่าจะลดลงร้อยละ 0.5 ปรับลดลงจากการขยายตัวร้อยละ 0.3 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการลงทุนภาคเอกชนในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี 2567 ที่ลดลงร้อยละ 1.4 3) การปรับประมาณการการส่งออกและนาเข้าสินค้าสุทธิ โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกและการน่าเข้าสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 และร้อยละ 4.4 ปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.0 และร้อยละ 3.6 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามทิศทางการฟื้นตัวของภาคการค้าระหว่างประเทศที่ดีกว่าที่คาด โดยมูลค่าการส่งออกและน่าเข้าสินค้าในไตรมาสที่ 3 ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 8.9 และร้อยละ 11.3 ตามล่าดับ 5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2567 ปัจจัยสนับสนุน 1) การเพิ่มขึ้นของแรงสนับสนุนจากรายจ่ายภาครัฐโดยเฉพาะรายจ่ายลงทุน สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจ่าปีและงบประมาณรายจ่ายเหลื่อมปีประจ่าปีงบประมาณ 2568 ดังนี้ (1) การเพิ่มขึ้นของกรอบงบประมาณรายจ่ายประจ่าปีงบประมาณ 2568 ในวงเงินรวม 3.75 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.8 จากปีงบประมาณก่อนหน้า โดยแบ่งเป็น รายจ่ายประจ่า 2.79 ล้านล้านบาท (ลดลงร้อยละ 0.3) และรายจ่ายลงทุน 9.64 แสนล้านบาท (ขยายตัวร้อยละ 41.2) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากสมมติฐานอัตราเบิกจ่ายที่คาดไว้ในกรณีฐานส่าหรับงบประมาณรายจ่ายประจ่าปีที่ร้อยละ 92.1 แบ่งเป็น งบรายจ่ายประจ่าร้อยละ 98.0 และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 75.0 ตามล่าดับ ส่งผลให้คาดว่าจะมีเม็ดเงินงบประมาณที่มีการเบิกจ่ายเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจรวม 3.46 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 จากปีก่อน โดยแบ่งเป็น รายจ่ายประจ่า 2.73 ล้านล้านบาท (ลดลงร้อยละ 3.4) และรายจ่ายลงทุน 7.23 แสนล้านบาท (ขยายตัวร้อยละ 62.5) และ (2) กรอบงบประมาณรายจ่ายเหลื่อมประจ่าปีงบประมาณ 2568 รวมทั้งสิ้น 2.75 แสนล้านบาท ถือเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 71.9 จากปีงบประมาณก่อนหน้า เนื่องจากความล่าช้าในกระบวนการจัดท่างบประมาณรายจ่ายประจ่าปี 2567 โดยแบ่งเป็น รายจ่ายประจ่า 4.18 หมื่นล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 2.33 แสนล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 50.0 และร้อยละ 76.5 ตามล่าดับ 2) การขยายตัวของอุปสงค์ภาคเอกชนภายในประเทศตามแนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นของการลงทุนภาคเอกชนและการขยายตัวต่อเนื่องของการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน โดยคาดว่าการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้มที่จะกลับมาขยายตัวสอดคล้องกับการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่ส่าคัญ ได้แก่ (1) การขยายตัวของการน่าเข้าที่เห็นสัญญาณการเพิ่มขึ้นในช่วง ไตรมาสที่สามของปี 2567 เป็นการเพิ่มขึ้นของปริมาณการน่าเข้าสินค้าทุนและสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง (2) การเพิ่มขึ้นของยอดการขอรับ การอนุมัติ และการออกบัตรส่งเสริมการลงทุน ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2567 ร้อยละ 46.2 ร้อยละ 33.3 และร้อยละ 58.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามล่าดับ โดยส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมดิจิทัล อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน และอุตสาหกรรมการเกษตรและแปรรูปอาหาร สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของเม็ดเงินลงทุนโดยตรง ไหลเข้าจากต่างประเทศในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2567 ที่มีมูลค่ารวม 7.2 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และ (3) การขยายตัวของพื้นที่ในนิคมอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยพื้นที่ขาย/เช่าพื้นที่ในนิคมอุตสาหกรรมในช่วงเดือนตุลาคม 2566 ถึงกรกฎาคม 6. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2568 เศรษฐกิจไทยในปี 2568 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ โดยมีปัจจัยสนับสนุนส่าคัญจากการเพิ่มขึ้นของแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายภาครัฐ การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของอุปสงค์ภาคเอกชนภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุน การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยวตามการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีแนวโน้มเข้าสู่ระดับปกติมากขึ้น รวมทั้งแนวโน้มการขยายตัวต่อเนื่องของการส่งออกสินค้าสอดคล้องกับการขยายตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2568 ยังมีความเสี่ยงและข้อจ่ากัดที่ส่าคัญซึ่งอาจท่าให้เศรษฐกิจขยายตัวต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ในกรณีฐาน อันเป็นผลเนื่องมาจากความเสี่ยงของแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่อาจขยายตัวต่ากว่าที่คาดท่ามกลางความไม่แน่นอนของการด่าเนินนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งทาง ภูมิรัฐศาสตร์ และแนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน ขณะเดียวกัน เศรษฐกิจไทยยังมีข้อจ่ากัดของการขยายตัวอันเนื่องมาจากภาระหนี้สินภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง และแนวโน้มความผันผวนในภาคการเกษตร กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 41 NESDC Economic Outlook 2567 อยู่ที่ 6,174 ไร่ นับเป็นขนาดพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ขณะเดียวกัน การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนจะยังคงสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง แม้จะเริ่มชะลอตัวเข้าสู่แนวโน้มปกติมากขึ้น โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากตลาดแรงงาน ที่ยังคงแข็งแกร่งสะท้อนจากอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับต่าและแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของการจ้างงานนอกภาคเกษตร ประกอบกับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่แม้จะทยอยปรับตัวเพิ่มขึ้นแต่ยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับต่ากว่าเป้าหมายนโยบายการเงิน 3) การฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว สอดคล้องกับ (1) แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่คาดว่าจะกลับเข้าสู่ระดับปกติมากขึ้น สะท้อนจากจ่านวนนักท่องเที่ยวจากประเทศต้นทางส่วนใหญ่ที่เพิ่มขึ้นใกล้เคียงกับช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโควิด-1929 เช่นเดียวกับแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยมีปัจจัยสนับสนุนส่าคัญมาจากแนวโน้มการฟื้นตัวของการเดินทางท่องเที่ยวทั่วโลก และการเพิ่มขึ้นของเที่ยวบินระหว่างประเทศมายังประเทศไทย30 ซึ่งส่งผลต่อจ่านวนที่นั่งเข้าไทย (Seat Capacity) เพิ่มขึ้น รวมถึงการด่าเนินมาตรการดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติของภาครัฐผ่านมาตรการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจของไทย31 และการจัดกิจกรรมกระตุ้นการท่องเที่ยวภายใต้โครงการ ?Amazing Thailand Grand Tourism Year 2025? และ (2) แนวโน้มการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของนักท่องเที่ยวชาวไทย ซึ่งได้รับแรงสนับสนุนจากมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวระยะเร่งด่วน (Quick Win) เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวในช่วงนอกฤดูกาล รวมไปถึงมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวในภูมิภาค ซึ่งการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวดังกล่าวส่งผลให้ภาคบริการที่เกี่ยวเนื่อง อาทิ ภาคการขนส่ง ภาคบริการที่พักและร้านอาหาร รวมถึงภาคการค้ามีแนวโน้มขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง 4) การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการส่งออกสินค้า สอดคล้องกับการขยายตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก นอกจากนี้ ทิศทางการค้าโลกยังมีแนวโน้มขยายตัวตามยอดค่าสั่งซื้อใหม่ (New orders) ในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลักที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งแนวโน้มวัฏจักรขาขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นสัญญาณสะท้อนถึงทิศทางการเพิ่มขึ้นของยอดขายสินค้าอุตสาหกรรมโดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ขณะเดียวกัน การส่งออกในกลุ่มสินค้าเกษตร เกษตรแปรรูปและอาหารของไทยซึ่งถือเป็นกลุ่มสินค้าที่ไทยมีศักยภาพยังมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่องตามความต้องการของตลาดโลกที่ยังสูง โดยการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการส่งออกจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้การผลิตภาคอุตสาหกรรมฟื้นตัวอย่างชัดเจนมากขึ้น รวมทั้งส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนกลับมาขยายตัวดีขึ้น อย่างไรก็ดี แนวโน้มการขยายตัวของการส่งออกสินค้าของไทยในระยะต่อไปยังคงมีความอ่อนไหวสูงมากต่อทิศทางการด่าเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่ยังคง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดเนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนทั้งรูปแบบและช่วงเวลาของการด่าเนินการ 29 นักท่องเที่ยวสะสมในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2567 จากประเทศมาเลเซีย อินเดีย และรัสเซีย อยู่ที่ 3.74 ล้านคน 1.54 ล้านคน และ 1.16 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 126.4 ร้อยละ 104.4 และร้อยละ 119.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 ซึ่งเป็นช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโควิด-19 ตามล่าดับ 30 จ่านวนเที่ยวบินขาเข้าจากต่างประเทศสะสมในช่วง 9 เดือนแรก ของปี 2567 ของสนามบินสุวรรณภูมิ สนามบินดอนเมือง สนามบินภูเก็ต และสนามบินเชียงใหม่ อยู่ที่ 100,393 เที่ยวบิน 31,812 เที่ยวบิน 20,744 เที่ยวบิน และ 6,063 เที่ยวบิน คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.0 ร้อยละ 19.2 ร้อยละ 32.4 และร้อยละ 21.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามล่าดับ 31 มาตรการที่ส่าคัญ ประกอบด้วย (1) Visa Exemption: การก่าหนดรายชื่อประเทศ/ดินแดนที่ได้รับสิทธิยกเว้นการตรวจลงตราให้สามารถพ่านักในประเทศไทยได้ไม่เกิน 60 วัน เพื่อการท่องเที่ยว การติดต่อธุรกิจและการท่างานระยะสั้น จ่านวน 93 ประเทศ/ดินแดน เพิ่มเติมจากเดิมที่มีอยู่ 57 ประเทศ/ดินแดน โดยประเทศส่าคัญซึ่งเพิ่มเข้ามาใหม่ ได้แก่ อินเดีย จีน ไต้หวัน และรัสเซีย (2) Visa On Arrival (VOA): การก่าหนดรายชื่อประเทศที่สามารถขอรับการตรวจลงตรา ณ ช่องทางอนุญาตด่านตรวจคนเข้าเมือง จ่านวน 31 ประเทศ/ดินแดน เพิ่มเติมจากเดิมที่มีอยู่ 19 ประเทศ/ดินแดน ให้สามารถพ่านักในประเทศไทยได้ไม่เกิน 15 วัน (3) Destination Thailand Visa (DTV): การอนุญาตให้ คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรเพื่อท่องเที่ยวและท่างานทางไกลเป็นกรณีพิเศษ เพื่ออ่านวยความสะดวกแก่ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีทักษะสูง กลุ่มอาชีพอิสระ ที่ต้องการใช้เวลาในประเทศไทยในการท่ากิจกรรมต่าง ๆ เช่น มวยไทย เรียนท่าอาหาร รักษาพยาบาล เป็นต้น โดยสามารถพ่านักในประเทศไทยได้ครั้งละไม่เกิน 180 วัน โดยไม่จ่ากัดครั้งภายในระยะเวลา 5 ปี และ (4) Non-Ed Plus Visa: การอนุญาตให้คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรเพื่อศึกษาและท่างานเป็นกรณีพิเศษ เพื่อดึงดูดผู้ที่มีศักยภาพและทักษะเข้าสู่ตลาดแรงงานของประเทศ โดยสามารถขยายระยะเวลาพ่านักในประเทศไทยได้ 1 ปีภายหลังจากส่าเร็จการศึกษา ซึ่งมาตรการจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 เป็นต้นไป การลงทุนภาครัฐจะเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สาคัญในช่วงที่เหลือของปี 2567 และในปี 2568 การลงทุนภาครัฐในช่วงครึ่งหลังของปี 2567 มีแนวโน้มจะขยายตัว ในเกณฑ์สูงจากการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐ รวมทั้งกรอบงบลงทุนภาครัฐที่เพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ 2568 ทั้งในส่วนของรายจ่ายลงทุนจากงบประมาณรายจ่ายประจ่าปี งบประมาณกันไว้เหลื่อมปี และงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ โดยในไตรมาสที่สาม ปี 2567 มีการลงทุนภาครัฐรวม 347,796 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.6 แบ่งเป็นการก่อสร้างภาครัฐ 280,800 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.0 และ การลงทุนในเครื่องจักรเครื่องมือ 66,996 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 รวม 9 เดือนแรกของปี 2567 มีการลงทุนภาครัฐทั้งสิ้น 806,753 ล้านบาท ลดลงเมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 2.3 โดยเป็นการก่อสร้างภาครัฐ จ่านวน 631,754 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 2.2 และการลงทุนในเครื่องจักรเครื่องมือ จ่านวน 174,999 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 2.7 ส่าหรับในไตรมาสที่สี่ของปี 2567 (ตุลาคม - ธันวาคม 2567) คาดว่าจะมีการเบิกจ่ายงบลงทุนภาครัฐรวมประมาณ 294,358.8 ล้านบาท ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 59.5 และทั้งปี 2567 คาดว่าจะมีการลงทุนภาครัฐประมาณ 1.101 ล้านล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 8.9 การลงทุนภาครัฐในปีงบประมาณ 2568 มีวงเงินลงทุนรวม 1.387 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 16.1 จ่าแนกเป็น รายจ่ายลงทุนในงบประมาณรายจ่ายประจ่าปี 775.8 พันล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.7) งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี 233.4 พันล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 76.5) และ งบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ 378.3 พันล้านบาท (ลดลงร้อยละ 0.5) ทั้งนี้ การด่าเนินมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐต่อเนื่องจากปี 2567 โดยการเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี และก่อหนี้ผูกพันรายจ่ายลงทุนจากงบประมาณรายจ่ายประจ่าปีให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2568 จะท่าให้การลงทุนภาครัฐมีบทบาทส่าคัญต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในช่วงที่เหลือของปี 2567 และในปี 2568 2092112131692242112111381561952816750716469476447555367050100150200250300350Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3256525662567การลงทุนภาครัฐการก่อสร้างภาครัฐการลงทุนในเครื่องจักรเครื่องมือพันล้านบาทที่มา: กองบัญชีประชาชาติ สศช กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 42 Economic Outlook NESDC การลงทุนภาครัฐจะเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สาคัญในช่วงที่เหลือของปี 2567 และในปี 2568 (ต่อ) ในส่วนของการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ 14 โครงการสาคัญ อยู่ในเกณฑ์ดี มีการเบิกจ่ายรวม 69,044.4 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 82.5 ของแผนการเบิกจ่าย โดยโครงการที่เบิกจ่ายได้สูงกว่าแผนการเบิกจ่าย ได้แก่ โครงการรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน และโครงการพัฒนาท่าเรือ แหลมฉบัง ระยะที่ 3 โครงการที่เบิกจ่ายเป็นไปตามแผนการเบิกจ่าย คือ โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง (ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บูรณะ) และมีโครงการ ที่เบิกจ่ายได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 จ่านวน 8 โครงการ ได้แก่ โครงการปรับปรุงกิจการการประปาแผนหลักครั้งที่ 9 โครงการพัฒนาระบบส่ง และจ่าหน่ายระยะที่ 2 โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้า ระยะที่ 12 โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือฯ โครงการทางพิเศษ สายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก โครงการพัฒนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการฯ โซน C แผนปรับปรุง และขยายระบบจ่าหน่ายพลังไฟฟ้าฉบับที่ 12 ปี 2560 - 2564 และโครงการก่อสร้างโรงงานผลิตยารังสิตระยะที่สอง ทั้งนี้ มีโครงการลงทุนของ รัฐวิสาหกิจที่มีการเบิกจ่ายเป็นปีปฏิทิน จ่านวน 5 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการพัฒนาระบบส่งและจ่าหน่ายระยะที่ 2 (2) แผนปรับปรุงและ ขยายระบบจ่าหน่ายพลังไฟฟ้าฉบับที่ 12 ปี 2560 - 2564 (3) โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้า ระยะที่ 12 (4) โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้า บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือฯ และ (5) โครงการพัฒนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการฯ โซน C คาดว่าจะเบิกจ่ายลงทุนในไตรมาสที่สี่ของปี 2567 (ตุลาคม - ธันวาคม 2567) จ่านวน 8,284 ล้านบาท ส่าหรับโครงการลงทุนสาคัญของรัฐวิสาหกิจในปี 2568 คาดว่าจะเบิกจ่ายลงทุน จ่านวน 90,282.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.9 ของกรอบงบลงทุนรัฐวิสาหกิจปี 2568 โดยโครงการลงทุนที่ส่าคัญ อาทิ โครงการรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง (ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บูรณะ) โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม (ช่วงบางขุนนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรม) โครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลักครั้งที่ 9 และโครงการ พัฒนาระบบส่งและจ่าหน่าย ระยะที่ 2 เป็นต้น ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาแนวโน้มการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ 46 แห่ง ในช่วงปี 2569 - 2571 เฉลี่ยปีละ ประมาณ 352,939 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 64.8 เมื่อเทียบกับวงเงินเบิกจ่ายลงทุนปี 2568 จ่านวน 214,106 ล้านบาท กรอบและวงเงินลงทุนภาครัฐ (หน่วย: พันล้านบาท) ปีงบประมาณ 2567 ปีงบประมาณ 2568 % YoY งบประมาณรายจ่ายประจ่าปี 682.4 775.8 13.7 งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี 132.3 233.4 76.5 งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ 380.1 378.3 -0.5 วงเงินลงทุนภาครัฐรวม 1,194.8 1,387.5 16.1 ที่มา: เอกสารงบประมาณ กรอบและวงเงินลงทุนของรัฐวิสาหกิจประจ่าปีงบประมาณ 2567 และค่านวณโดย สศช. 0 50 100 150 200 250 300 350 Q1 Q2 Q3 Q4 การเบิกจ่ายงบลงทุนภาครัฐเพิ่มขึ้นจากการเร่งรัด การเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐ 2564 2565 2566 2567 พันล้านบาท ที่มา: ระบบ GFMIS, สคร. และ สศช. ที่มา: เอกสารงบประมาณ กรอบและวงเงินลงทุนของรัฐวิสาหกิจประจ่าปีงบประมาณ 2567 และค่านวณโดย สศช. หมายเหตุ: 1. งบลงทุนของรัฐวิสาหกิจรวมการลงทุนของรัฐวิสาหกิจประเภทบริษัทมหาชนจ่ากัดและบริษัทในเครือ (ไม่รวมงบลงทุนต่างประเทศ ของบริษัท ปตท. จ่ากัด (มหาชน)) 2. งบลงทุนจากงบประมาณราจ่ายประจ่าปี 2567 และ 2568 ไม่รวมงบกลาง รายการค่าใช้จ่ายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างความเข้มแข็ง ของระบบเศรษฐกิจ 3. มาตรการเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณ 2567 ท่าให้ PO ไปเบิกจ่ายงบประมาณใน Q1 และ Q2 ปีงบประมาณ 2568 374.6 399.1 387.6 380.1 378.3 604.3 564.3 615.8 682.4 775.8 177.7 168.2 143.6 132.3 233.4 0 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400 1,600 2564 2565 2566 2567 2568 งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ รายจ่ายลงทุนจากงบประมาณรายจ่ายประจ่าปี รายจ่ายลงทุนจากงบเหลื่อมปี พันล้านบาท กรอบงบลงทุนภาครัฐปีงบประมาณ 2568 เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1 การเบิกจ่ายลงทุนปี 2568 หน่วย: ล้านบาท 46 รัฐวิสาหกิจ และ บมจ. 5 แห่ง 465,570 งบเบิกจ่ายลงทุนเพิ่มเติม ระหว่างปี 50,000 แนวโน้มการดาเนินงานช่วงปี 2569 2571 เฉลี่ยเบิกจ่ายลงทุนปีละ เฉลี่ยก่าไรสุทธิปีละ 352,939 หน่วย: ล้านบาท 90,808 ที่มา: กองงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ สศช. กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 43 NESDC Economic Outlook 1) ความเสี่ยงจากแนวโน้มการขยายตัวต่ากว่าที่คาดของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก โดยมีเงื่อนไขความเสี่ยงที่ต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) ความไม่แน่นอนจากการดาเนินนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ภายใต้ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการค้าโลกอย่างมีนัยส่าคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการยกระดับความเข้มข้นของมาตรการกีดกันทางการค้าและการลงทุนทั้งต่อจีนและประเทศคู่ค้าอื่น ๆ รวมถึงมาตรการตอบโต้จากประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะจีน ที่จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของห่วงโซ่การผลิตโลกและทิศทางการลงทุน นอกจากนี้ ยังมีแนวทางในการด่าเนินนโยบายเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่ส่าคัญ ซึ่งว่าที่ประธานาธิบดีทรัมป์ ได้เคยประกาศไว้ในช่วงหาเสียง อาทิ มาตรการทางด้านภาษี และมาตรการด้านแรงงาน เป็นต้น ซึ่งหากมีการด่าเนินมาตรการดังกล่าวจะส่งผลโดยตรงต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ และอาจส่งผลกระทบต่อเนื่องต่อความผันผวนของตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลกในภาพรวม (2) ความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ในหลายภูมิภาค โดยเฉพาะในภูมิภาคตะวันออกกลางที่หากมีการขยายวงกว้างจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อราคาพลังงาน ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ และต้นทุนการขนส่งโลจิสติกส์ รวมถึงสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยังคงยืดเยื้อและสร้างแรงกดดันต่อเศรษฐกิจในภูมิภาค (3) ทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางสาคัญที่คาดว่าจะมีการผ่อนคลาย อย่างต่อเนื่องท่ามกลางแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยงจากการด่าเนินนโยบายเศรษฐกิจของประเทศส่าคัญ ๆ รวมถึงความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์อาจส่งผลให้แรงกดดันเงินเฟ้อปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าที่คาด จนกลายเป็นข้อจ่ากัดในการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลาง อันอาจสร้างความผันผวนมากขึ้นต่อตลาดการเงินและการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และ (4) ความเสี่ยงจาก การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน เนื่องจากการลงทุนภายในประเทศที่อยู่ในระดับต่า โดยเฉพาะการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาการขาดสภาพคล่องและระดับหนี้สิน ประกอบกับแนวโน้มการชะลอตัวของการบริโภคภายในประเทศท่ามกลาง ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลงและตลาดแรงงานยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ รวมถึงผลกระทบจากความไม่แน่นอนของการด่าเนินมาตรการกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ ที่อาจยกระดับความรุนแรงมากขึ้นในระยะต่อไป ทั้งนี้ ทิศทางการฟื้นตัวที่ล่าช้าของอุปสงค์ภายในประเทศของจีนส่งผลให้ภาคการผลิตยังคงเผชิญกับปัญหาก่าลังการผลิตส่วนเกิน (Industrial overcapacity) สะท้อนจากระดับสินค้าคงคลังที่สูงขึ้นต่อเนื่องโดยเฉพาะในหมวดสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ และยานยนต์ ซึ่งน่าไปสู่การส่งออกสินค้าของจีนไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกและก่อให้เกิดการแข่งขันทางด้านราคา จนส่งผลกระทบต่อหลายประเทศที่ผู้ประกอบการไม่สามารถแข่งขันกับสินค้าจากจีนที่มีราคาต่อหน่วยต่ากว่า โดยเปรียบเทียบได้ 2) ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงภายใต้มาตรฐานสินเชื่อที่มีความเข้มงวดมากขึ้น โดยสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2567 อยู่ที่ร้อยละ 89.6 ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 90.9 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน แต่ยังคงสูงกว่าร้อยละ 82.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ซึ่งเป็นช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโควิด-19 ขณะเดียวกัน คุณภาพของสินเชื่อยังคงปรับลดลง อย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากสัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loans: NPLs) และสัดส่วนสินเชื่อจัดชั้นพิเศษ (Special Mention Loans: SMLs) ต่อสินเชื่อรวมของสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคลที่ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในไตรมาสที่ 2 ของปี 2567 อยู่ที่ร้อยละ 3.2 และร้อยละ 7.3 ของมูลค่าสินเชื่อทั้งหมด สูงสุดในรอบ 4 ปี เมื่อพิจารณาจ่าแนกตามประเภทสินเชื่อ พบว่าสินเชื่อ ที่อยู่อาศัย สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ สินเชื่อบัตรเครดิต และสินเชื่อส่วนบุคคลมีสัดส่วน NPLs ต่อสินเชื่อรวมที่ร้อยละ 3.7 ร้อยละ 2.3 ร้อยละ 4.4 และร้อยละ 2.6 ตามล่าดับ ขณะเดียวกัน คุณภาพสินเชื่อภาคธุรกิจที่ยังคงอยู่ในระดับต่าโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่มีสัดส่วน NPLs และ SMLs ต่อสินเชื่อรวมในไตรมาสที่สองของปี 2567 ในระดับสูงที่ร้อยละ 7.6 และร้อยละ 11.8 สูงกว่าร้อยละ 4.5 และร้อยละ 3.2 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ตามล่าดับ ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้สถาบันการเงินหลายรายปรับเกณฑ์รายได้ ขั้นต่าของผู้ขอสินเชื่อขึ้น ส่าหรับสินเชื่อประเภทเช่าซื้อรถยนต์และสินเชื่อเพื่อการบริโภคอื่น เช่นเดียวกับธุรกิจ SMEs ที่สถาบันการเงินได้ปรับเพิ่มความเข้มงวดในการก่าหนดเงื่อนไขประกอบสัญญาการให้สินเชื่อ โดยเพิ่มหลักทรัพย์ค่าประกัน และปรับเพิ่มมูลค่าหลักประกัน (Margin) ส่าหรับกลุ่มธุรกิจเสี่ยงมากขึ้น 3) แนวโน้มความผันผวนในภาคการเกษตรทั้งผลผลิตและราคาสินค้าเกษตรที่สาคัญ ๆ โดยคาดว่าในปี 2568 ผลผลิตเกษตรมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นภายใต้สภาพอากาศที่เอื้ออ่านวยมากขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2567 ที่ต้องเผชิญผลกระทบจากทั้งภัยแล้งและอุทกภัย ทั้งนี้ แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของผลผลิตจะสร้างแรงกดดันให้ราคาสินค้าเกษตรปรับตัวลดลง สอดคล้องกับแนวโน้มราคาสินค้าเกษตรโดยเฉพาะข้าวในตลาดโลกที่มีแนวโน้มลดลงท่ามกลางสถานการณ์ผลผลิตข้าวจากผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลกทั้งอินเดียและเวียดนามที่เริ่มปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติมากขึ้น ประกอบกับ ทิศทางการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจีน ซึ่งเป็นตลาดหลัก อย่างไรก็ดี ยังคงต้องติดตามสภาพอากาศในช่วงปี 2568 ที่คาดว่าจะยังคงมีความแปรปรวนสูงอันอาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตและราคาสินค้าในภาคเกษตรให้เปลี่ยนแปลงไปจากที่คาดไว้ในกรณีฐาน ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 44 NESDC Economic Outlook ข้อสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2567 และปี 2568 1) เศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลกในปี 2568 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.0 ต่อเนื่องจากร้อยละ 3.0 ในปี 2567 โดยมีแรงสนับสนุนหลักจากการขยายตัวในเกณฑ์ดีของการใช้จ่ายภายในประเทศอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่า ประกอบกับตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง ท่าให้คาดว่าธนาคารกลางหลายประเทศยังคงพิจารณาปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศเศรษฐกิจส่าคัญมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากฐานการขยายตัวในเกณฑ์ต่าในปีก่อนหน้า ได้แก่ เศรษฐกิจยูโรโซน สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น อย่างไรก็ดี คาดว่าเศรษฐกิจหลักโดยเฉพาะสหรัฐฯ และจีนมีแนวโน้มชะลอตัวลงจากปี 2567 เนื่องจากยังมีข้อจ่ากัด ในการฟื้นตัวของภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการลงทุนภาคเอกชน นอกจากนี้ เศรษฐกิจโลกยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญความเสี่ยงด้านต่าจากความไม่แน่นอนของการด่าเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศส่าคัญโดยเฉพาะสหรัฐฯ และจีน ที่จะน่าไปสู่การยกระดับมาตรการตอบโต้ทางการค้า รวมทั้งสถานการณ์ความยืดเยื้อของความขัดแย้งด้านภูมิรัฐศาสตร์ทั้งในภูมิภาคตะวันออกกลางและสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครน 2) ค่าเงินบาทเฉลี่ยในปี 2568 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 34.5 - 35.5 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ใกล้เคียงกับเฉลี่ย 35.4 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในปี 2567 โดยข้อมูลล่าสุด ค่าเงินบาทนับตั้งแต่ต้นปีจนถึงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 เฉลี่ยอยู่ที่ 35.4 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. และคาดว่าจะยังทรงตัว ในระดับปัจจุบันต่อเนื่องในช่วงที่เหลือของปี 2567 ในขณะที่ค่าเงินบาทในปี 2568 มีแนวโน้มจะผันผวนสูงเช่นเดียวกับในช่วงปี 256732 เนื่องจากความไม่แน่นอนของปัจจัยภายนอกประเทศโดยเฉพาะทิศทางการด่าเนินนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่จะส่งผลต่อการด่าเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลาง รวมทั้งปัจจัยภายในประเทศจากการด่าเนินนโยบายเศรษฐกิจของไทย ทั้งนี้ คาดว่าในปี 2568 ค่าเงินบาท จะแข็งค่าขึ้นอย่างช้า ๆ เนื่องจากแนวโน้มการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ รวมทั้งแนวโน้มดุลบัญชีเดินสะพัด ที่เกินดุลอย่างต่อเนื่องตามการเพิ่มขึ้นของรายรับจากภาคการส่งออกและการท่องเที่ยว อย่างไรก็ดี ปัจจัยส่าคัญที่คาดว่าจะส่งผลให้ค่าเงินบาทไม่ได้ปรับตัวแข็งค่าขึ้นมากและมีแนวโน้มอ่อนค่าลงในบางช่วง ได้แก่ การคาดการณ์การด่าเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่อาจสร้างแรงกดดันต่ออัตราเงินเฟ้อในระยะต่อไปจนท่าให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ ชะลอการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงจากที่คาดไว้เดิม จนส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์ สรอ. มีแนวโน้มแข็งค่า ประกอบกับแนวโน้มการอ่อนค่าของเงินหยวนภายใต้ทิศทางการชะลอตัวของการลงทุนภายในประเทศของจีนซึ่งจะสร้างแรงกดดันต่อการอ่อนค่าของเงินบาทได้ 3) ราคาน้ามันดิบดูไบเฉลี่ยในปี 2568 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 75.0 - 85.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ทรงตัวเท่ากับระดับเฉลี่ย 80.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในปี 2567 โดยมีปัจจัยเสี่ยงทางบวกที่ท่าให้ราคาน่ามันมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ (1) ผลกระทบจากความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลาง โดยเฉพาะสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและอิหร่านที่อาจส่งผลต่ออุปทานน่ามันดิบ ในตลาดโลก และ (2) การลดลงอย่างต่อเนื่องของปริมาณแท่นขุดเจาะน่ามันดิบของสหรัฐฯ33 ที่ส่งผลให้แนวโน้มการผลิตน่ามันดิบลดลง อย่างไรก็ตาม ราคาน่ามันในปี 2568 ยังมีโอกาสที่จะเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงทางลบที่ส่งผลให้ราคาน่ามันปรับตัวลดลง ได้แก่ (1) แนวโน้มการชะลอตัวของอุปสงค์ 32 ค่าเงินบาทในช่วงปี 2567 เคลื่อนไหวอยู่ในช่วง 32 - 37 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ซึ่งคิดเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงประมาณร้อยละ 15 33 ปริมาณแท่นขุดเจาะน่ามันดิบของสหรัฐฯ ในเดือนตุลาคม 2567 อยู่ที่ 480 แท่น ลดลงจาก 504 แท่น ในช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า สอดคล้องกับการปรับลดประมาณการการผลิตน่ามันดิบของสหรัฐฯ โดย US Energy Information Administration (EIA) 34 EIA คาดว่าอุปสงค์น่ามันโลกจะขยายตัวเพียงร้อยละ 1.3 ในปี 2568 เทียบกับร้อยละ 0.9 ในปี 2567 และร้อยละ 2.0 ในปี 2566 ตารางสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2567 - 2568 ข้อมูลจริง ประมาณการ 2568 2567 2565 2566 ณ 19 ส.ค. 2567 ณ 18 พ.ย. 2567 ณ 18 พ.ย. 2567 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก (%)1/ 3.5 3.2 2.9 3.0 3.0 สหรัฐอเมริกา 1.9 2.9 2.4 2.6 2.2 ยูโรโซน 3.5 0.5 0.6 0.6 1.1 ญี่ปุ่น 1.0 1.7 0.4 0.0 1.0 จีน 3.0 5.2 4.7 4.7 4.5 อัตราการขยายตัวปริมาณการค้าโลก (%) 5.6 0.3 2.8 3.0 3.0 อัตราแลกเปลี่ยน 35.1 34.8 35.5 - 36.5 35.4 34.5 - 35.5 ราคาน่ามัน (ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล) 97.0 82.0 80.0 - 90.0 80.0 75.0 - 85.0 ราคาส่งออก (%) 4.2 1.2 0.3 - 1.3 0.8 (-0.3) - 0.8 ราคาน่าเข้า (%) 12.7 0.6 0.5 - 1.5 1.3 (-0.3) - 0.8 รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ล้านล้านบาท)2/ 0.53 1.03 1.48 1.50 1.63 หมายเหตุ: 1/ เศรษฐกิจโลกค่านวณ Trade weight เฉพาะ 15 เศรษฐกิจคู่ค้าส่าคัญ ในปี 2562 2/ ข้อมูลบนฐานดุลการช่าระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย ประมาณการโดย สศช. ที่มา: ส่านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2567 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 45 NESDC Economic Outlook การใช้น่ามันโลก34 ตามทิศทางการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจีน ท่ามกลางการคาดการณ์การยกระดับความรุนแรงของการด่าเนินมาตรการตอบโต้ทางการค้าระหว่างกัน (2) แนวโน้มการปรับเพิ่มก่าลังการผลิตของกลุ่มประเทศ OPEC+ ในปี 2568 เป็นต้นไป35 และ (3) ความต้องการใช้น่ามันดิบที่ลดลงในหลายประเทศจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเพื่อความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 4) ราคาสินค้าส่งออกและราคาสินค้านาเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. ในปี 2568 เพิ่มขึ้นร้อยละ (-0.3) - 0.8 และร้อยละ (-0.3) - 0.8 ชะลอลงจาก การขยายตัวร้อยละ 1.3 และร้อยละ 0.8 ในปี 2567 ตามแนวโน้มราคาน่ามันดิบที่ทรงตัวจากปีก่อนหน้า การปรับตัวลดลงของค่าระวางเรือส่าหรับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ รวมถึงการชะลอตัวของประเทศเศรษฐกิจส่าคัญ 5) รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ 1.63 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 1.50 ล้านล้านบาทในปี 2567 ตามการเพิ่มขึ้นของจ่านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่คาดว่าจะเดินทางเข้ามาทั้งสิ้น 38.0 ล้านคน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 36.0 ล้านคนในปี 2567 รวมถึงแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวตามการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวกลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักท่องเที่ยวจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และรัสเซีย 6) การเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย (1) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ่าปีงบประมาณ 2568 จะมีอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณอยู่ที่ร้อยละ 92.1 ของงบประมาณทั้งหมด 3.75 ล้านล้านบาท เทียบกับร้อยละ 94.1 ในปีงบประมาณ 2567 แบ่งเป็น รายจ่ายประจ่าร้อยละ 98.0 และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 75.0 เทียบกับร้อยละ 101.1 และร้อยละ 65.2 ในปีงบประมาณก่อนหน้า ตามล่าดับ (2) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีในปีงบประมาณ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 90.8 ของงบประมาณทั้งหมด เทียบกับร้อยละ 91.4 ในปีงบประมาณ 2567 แบ่งเป็น รายจ่ายประจ่าร้อยละ 95.0 และรายจ่ายลงทุนร้อยละ 90.0 ตามล่าดับ และ (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนในประเทศของรัฐวิสาหกิจในปี 2568 (15 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 - ธันวาคม 2568) คาดว่าจะอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 80.0 ของงบประมาณ คิดเป็นเงินลงทุนประมาณ 3.02 แสนล้านบาท และลดลงร้อยละ 17.0 จากปีก่อนหน้า 35 กลุ่มประเทศ OPEC+ มีมติขยายระยะเวลาการลดก่าลังการผลิตน่ามันดิบปริมาณ 2.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน ไปจนถึงเดือนธันวาคม 2567 จากก่าหนดเดิมที่สิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน จากนั้นจะเริ่มปรับเพิ่มปริมาณการผลิตเข้าสู่ภาวะปกติในเดือนมกราคม 2568 เป็นต้นไป กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 46 NESDC Economic Outlook ประมาณการเศรษฐกิจปี 2568 ในการแถลงข่าววันที่ 18 พฤศจิกายน 2567 ส่านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2568 จะขยายตัวร้อยละ 2.3 - 3.3 โดยมีค่ากลางการประมาณการอยู่ที่ร้อยละ 2.8 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 2.6 ในปี 2567 ส่าหรับอัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 0.3 - 1.3 เทียบกับร้อยละ 0.5 ในปี 2567 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 2.6 ของ GDP เทียบกับ ร้อยละ 2.5 ในปี 2567 องค์ประกอบของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค ประกอบด้วย (1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.0 ต่อเนื่องจากร้อยละ 4.8 ในปี 2567 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากตลาดแรงงานที่อยู่ในเกณฑ์ดีประกอบกับอัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะยังอยู่ในระดับต่า และแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของฐานรายได้ในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร และ (2) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคภาครัฐบาลคาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 2.1 ต่อเนื่องจากร้อยละ 1.7 ในปี 2567 สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของกรอบวงเงินรายจ่ายประจ่าภายใต้งบประมาณประจ่าปี 2568 และงบประมาณรายจ่ายเหลื่อมปี 2568 2) การลงทุนรวม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.9 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ 0.2 โดย (1) การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.5 สอดคล้องกับการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวในเกณฑ์สูงของการส่งเสริมการลงทุน และ (2) การลงทุนภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.4 ในปี 2567 ตามกรอบวงเงินรายจ่ายลงทุนประจ่าปีงบประมาณ 2568 และรายจ่ายลงทุนเหลื่อมปี 2568 ที่เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 27.5 และร้อยละ 73.8 ตามล่าดับ 3) มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.6 ต่อเนื่องจากร้อยละ 3.8 ในปี 2567 ตามแนวโน้มการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของปริมาณการค้าโลก เมื่อรวมกับการส่งออกบริการซึ่งมีแนวโน้มฟื้นตัวเข้าสู่ระดับปกติมากขึ้นส่งผลให้ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2568 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 4.2 เทียบกับร้อยละ 6.1 ในปี 2567 4) มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในปี 2567 สอดคล้องกับแนวโน้มการขยายตัวของการลงทุนและการส่งออกสินค้า เมื่อรวมกับการน่าเข้าบริการคาดว่าปริมาณการน่าเข้าสินค้าและบริการในปี 2568 จะขยายตัวร้อยละ 3.2 เทียบกับร้อยละ 5.0 ในปี 2567 5) ดุลการค้า คาดว่าจะเกินดุล 1.70 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการเกินดุล 1.84 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2567 เมื่อรวมกับดุลบริการคาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 2568 จะเกินดุล 1.43 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. หรือคิดเป็นการเกินดุลร้อยละ 2.6 ของ GDP เทียบกับการเกินดุล 1.30 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือร้อยละ 2.5 ของ GDP ในปี 2567 6) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยในปี 2568 คาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 0.3 - 1.3 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 0.8) เทียบกับร้อยละ 0.5 ในปี 2567 กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 47 NESDC Economic Outlook การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในปี 2568 ควรให้ความส่าคัญกับ 1) การขับเคลื่อนภาคการส่งออกให้ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือผลกระทบจากการยกระดับมาตรการกีดกันทางการค้าที่อาจทวีความรุนแรงมากขึ้น โดย (1) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าที่มีศักยภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดโลกเพิ่มขึ้น อาทิ สินค้าที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการรักษาแรงส่งในกลุ่มสินค้าส่งออกหลักที่ขยายตัวได้ดีและมีศักยภาพ อาทิ กลุ่มอาหารและเกษตรแปรรูป สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม ให้ยังคงขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง โดยเร่งรัดการส่งออกไปยังตลาดที่ยังมีแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจในเกณฑ์ดี และการสร้างตลาดใหม่ที่มีก่าลังซื้อสูง โดยเฉพาะตลาดตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และอาเซียน รวมทั้งให้ความส่าคัญกับการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการค้าชายแดนเพื่อเชื่อมโยงกลุ่มประเทศ CLMV (2) การติดตามและประเมินสถานการณ์การดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้าที่จะมีผลต่อการส่งออกของไทยอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้า เพื่อเตรียมมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการที่จะได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs ควบคู่ไปกับการเร่งรัดมาตรการส่งเสริมการส่งออกสินค้าที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากมาตรการกีดกันทางการค้าในระยะต่อไป (3) การปฏิบัติตามกรอบกติกาการค้าโลก รวมทั้งข้อกาหนดและแนวทางการปฏิบัติในประเทศคู่ค้า ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีภายใต้ความตกลงทางการค้าเสรี (FTA) ที่มีอยู่ให้มากขึ้น รวมทั้งเร่งรัดการเจรจาความตกลงการค้าเสรีที่ก่าลังอยู่ในขั้นตอนของการเจรจา และเตรียมศึกษาเพื่อเจรจากับประเทศคู่ค้าส่าคัญใหม่ ๆ พร้อมทั้งการใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (Generalized System of Preferences: GSP) และการใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) (4) การยกระดับ ขีดความสามารถในการแข่งขันของการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก โดยมุ่งเน้นการปรับโครงสร้างการผลิตไปสู่การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อสามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและมีมูลค่าสูงให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดส่าคัญ ๆ รวมทั้งได้มาตรฐานตรงตาม ความต้องการของตลาดและข้อก่าหนดของประเทศผู้น่าเข้าเพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้านราคา ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางในประเทศให้มีความพร้อมในการรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ และสามารถเชื่อมโยงสินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศกับห่วงโซ่การผลิตโลกได้มากขึ้น นอกจากนี้ ควรให้ผู้ประกอบการสินค้าที่มีสัญญาณการลดลงของความต้องการในตลาดโลกและมีอัตราการใช้ก่าลังการผลิตต่าต่อเนื่องพิจารณาทบทวนและปรับเปลี่ยนแผนการผลิต และการส่งออกสินค้า และ (5) การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจบริหารจัดการความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ควบคู่ไปกับการอานวยความสะดวกและลดต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก 2) การปกป้องภาคการผลิตจากการทุ่มตลาดและการใช้นโยบายการค้าที่ไม่เป็นธรรม โดยมุ่งเน้น (1) การปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้านาเข้าให้มีความเข้มงวดรัดกุมมากขึ้น และเร่งออกมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมสินค้าน่าเข้า รวมทั้งการส่งเสริมการสร้างความร่วมมือในการจัดท่าความตกลงยอมรับร่วมด้านมาตรฐานระหว่างประเทศ และการเพิ่มบทลงโทษส่าหรับผู้ที่น่าเข้าสินค้าไม่ได้มาตรฐาน (2) การยกระดับมาตรการกากับดูแลผู้ประกอบการออนไลน์จากต่างประเทศ โดยเร่งรัดให้ผู้ประกอบการออนไลน์จากต่างประเทศ ต้องจดทะเบียนนิติบุคคลและมีส่านักงานในไทยเพื่อให้ภาครัฐสามารถก่ากับดูแล การเพิ่มจ่านวนรายการสินค้าควบคุมภายใต้มาตรฐานบังคับเพื่อให้ครอบคลุมรายการสินค้าที่เหมาะสมและไม่ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการภายในประเทศ รวมถึงการเร่งรัดปรับปรุงกฎหมายภาษีส่าหรับผู้ขายสินค้าออนไลน์จากต่างประเทศ และแพลตฟอร์มซื้อขายสินค้าออนไลน์ที่จ่าหน่ายสินค้าในไทย (3) การตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุ่มตลาด รวมทั้งการใช้มาตรการและวิธีการทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมจากประเทศผู้ส่งออกสาคัญ และการสนับสนุนช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบให้สามารถเข้าถึงกระบวนการยื่นค่าขอและไต่สวนการใช้มาตรการภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด การอุดหนุน และมาตรการปกป้องจากการน่าเข้า (AD/CVD/AC) และ (4) การดาเนินการอย่างเคร่งครัดกับผู้กระทาความผิดลักลอบนาเข้าสินค้า ที่ผิดกฎหมาย หลบเลี่ยงภาษี หรือใช้ช่องว่างทางกฎหมายต่าง ๆ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับธุรกิจ ควบคู่ไปกับการยกระดับผู้ประกอบการและมาตรฐานสินค้าไทย 3) การขับเคลื่อนการลงทุนภาคเอกชน โดยให้ความส่าคัญกับ (1) การเร่งสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนต่างชาติ โดยอาศัยประโยชน์จากการเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคและความพร้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐานในการดึงดูดเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ โดยเฉพาะการย้ายฐานการลงทุนของผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้า รวมถึงการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการที่มีฐานการผลิต ขยายการผลิตในประเทศไทย (2) การเร่งรัดนักลงทุนที่ได้รับการอนุมัติส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2565 - 2567 ให้เกิดการลงทุนจริงโดยเร็ว เพื่อช่วยขับเคลื่อนการขยายตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่มีศักยภาพ (3) การเร่งรัดโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจที่ส่าคัญให้เป็นไปตามแผนที่ก่าหนดไว้ (4) การพัฒนาระบบนิเวศที่เหมาะสมเพื่อดึงดูดอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมายให้เข้ามาลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะการปรับลดอุปสรรคด้านขั้นตอนกระบวนการ และข้อบังคับ/กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง การแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต และการพัฒนาผลิตภาพแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรมและภาคบริการเป้าหมาย และ (5) การเพิ่มผลิตภาพการผลิตผ่านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อน่าไปสู่การผลิตสินค้าไทยที่มีศักยภาพและมีมูลค่าสูงขึ้นที่สามารถหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้านราคาและมีมาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาดและข้อก่าหนดของประเทศผู้น่าเข้า 7. ประเด นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาค กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 48 NESDC Economic Outlook 4) การดูแลเกษตรกรและสนับสนุนการปรับตัวในการผลิตภาคเกษตร โดยให้ความส่าคัญกับ (1) การเร่งรัดติดตามส่ารวจความเสียหายเพื่อให้การช่วยเหลือเยียวยาถึงมือเกษตรกรโดยเร็วทั้งการให้ความช่วยเหลือผ่านเงินชดเชยและปัจจัยการผลิต และการเร่งฟื้นฟูเกษตรกรผู้ประสบภัยภายหลังภัยพิบัติ (2) การเตรียมการรองรับความผันผวนของสภาพภูมิอากาศในช่วงปรากฏการณ์ลานีญาที่อาจจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตร โดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการทรัพยากรน่า ควบคู่ไปกับการยกระดับประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานและระบบการเตือนภัยให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติต่าง ๆ (3) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูป ให้ขยายตัวสูงต่อเนื่องจากปี 2567 เพื่อสนับสนุนให้ราคาสินค้าเกษตรในประเทศปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่ผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และ (4) การสร้างความรู้ความเข้าใจและส่งเสริมการปลูกพืชและใช้วิธีการผลิตที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ รวมทั้งการปรับเปลี่ยนไปสู่ การผลิตที่มีมูลค่าสูงและการใช้เทคโนโลยีในการผลิตที่สูงขึ้น ทั้งในด้านเทคโนโลยีการผลิต การตลาด และการบริหารจัดการ 5) การให้ความช่วยเหลือธุรกิจ SMEs ที่ประสบปัญหาด้านการเข้าถึงสภาพคล่องเนื่องจากคุณภาพสินเชื่อปรับลดลงต่อเนื่อง โดยให้ความส่าคัญกับการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจ SMEs ควบคู่ไปกับการยกระดับศักยภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพในการด่าเนินธุรกิจ ซึ่งจะช่วยสนับสนุนการเข้าถึงสภาพคล่องได้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันควรเร่งรัดดาเนินมาตรการปรับโครงสร้างหนี้ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะลูกหนี้กลุ่มเปราะบางที่มีวงเงินสินเชื่อไม่สูงมากนัก ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ในระดับสูง กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 18 พฤศจิกายน 2567 49 NESDC Economic Outlook รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ Email : mspo-center@nesdc.go.th ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2567 และ 25681/ ข้อมูลจริง ประมาณการ 2565 2566 ปี 2568 ปี 2567 ณ 19 ส.ค. 67 ณ 18 พ.ย. 67 ณ 18 พ.ย. 67 GDP (ณ ราคาประจ่าปี: พันล้านบาท) 17,378.0 17,922.0 18,567.2 18,603.1 19,272.8 รายได้ต่อหัว (บาทต่อคนต่อปี) 248,788.6 255,879.5 264,441.2 264,951.8 273,893.4 GDP (ณ ราคาประจ่าปี: พันล้านดอลลาร์ สรอ.) 495.1 514.8 515.8 525.5 550.7 รายได้ต่อหัว (ดอลลาร์ สรอ. ต่อหัวต่อปี) 7,094.1 7,349.9 7,345.6 7,484.5 7,825.5 อัตราการขยายตัวของ GDP (CVM, %) 2.5 1.9 2.3 - 2.8 2.6 2.3 - 3.3 การลงทุนรวม (CVM, %)2/ 2.3 1.2 0.1 0.2 3.9 ภาคเอกชน (CVM, %) 4.7 3.2 0.3 -0.5 2.8 ภาครัฐ (CVM, %) -3.9 -4.6 -0.7 2.4 6.5 การบริโภคภาคเอกชน (CVM, %) 6.2 7.1 4.5 4.8 3.0 การอุปโภคภาครัฐบาล (CVM, %) 0.1 -4.6 1.7 1.7 2.1 ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %) 6.1 2.1 4.9 6.1 4.2 มูลค่าการส่งออกสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/ 285.2 280.7 286.2 291.4 299.0 อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/ 5.4 -1.5 2.0 3.8 2.6 อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/ 1.2 -2.7 1.2 2.5 2.3 ปริมาณการน่าเข้าสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %) 3.6 -2.3 3.6 5.0 3.2 มูลค่าการน่าเข้าสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/ 271.6 261.4 270.7 273.0 282.0 อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/ 14.0 -3.8 3.6 4.4 3.3 อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/ 1.2 -4.1 2.6 3.6 3.0 ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) 13.5 19.4 15.5 18.4 17.0 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) -17.2 7.4 12.1 13.0 14.3 ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%) -3.5 1.5 2.3 2.5 2.6 เงินเฟ้อ (%) ดัชนีราคาผู้บริโภค 6.1 1.2 0.4 - 0.9 0.5 0.3 - 1.3 GDP Deflator 4.8 1.2 0.9 - 1.4 1.2 0.3 - 1.3 ที่มา: ส่านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2567 หมายเหตุ: 1/ เป็นข้อมูลที่ค่านวณบนฐานบัญชีประชาชาติอนุกรมใหม่ ซึ่ง สศช. เผยแพร่ทาง www.nesdc.go.th 2/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น 3/ ตัวเลขการส่งออกและการน่าเข้าเป็นไปตามฐานของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ