ประเทศไทยหลัง 5 ปี รัฐบาลทักษิณ
ต้นปี 2544 ต้นปี 2549
รายได้ต่อหัวปีละ 79,100 บาท --> 109,700 บาท (เพิ่มขึ้น 38.7%)
รายได้เกษตรกร (ต่อคนต่อปี) 32,120 บาท --> 52,320 บาท (เพิ่มขึ้น 62.9%)
ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้
ข้าวเปลือกเจ้า 10% กก. ละ 4.37 บาท --> 6.45 บาท
ข้าวหอมมะลิ กก. ละ 6.47 บาท --> 7.63 บาท
ยางแผ่นดินชั้น3 กก. ละ 21.90 บาท --> 65.28 บาท
ข้าวโพด กก. ละ 3.98 บาท --> 4.82 บาท
หัวมันสด กก. ละ 0.61 บาท --> 1.38 บาท
ปาล์มน้ำมัน กก. ละ 1.60 บาท --> 2.85 บาท
หนี้ของประเทศลดลง
ต้นปี 2544 ปัจจุบัน
ทุนสำรองเงินตรา ระหว่างประเทศ 32,661.3 ล้านUS$ --> 53,377.5 ล้านUS$ 63.4% (เพิ่มขึ้น)
หนี้ต่างชาติ 79,715 ล้าน US$ --> 51,588 ล้าน US$ 35.3% (ลดลง)
(66.7% ของรายได้รวม) (33.1% ของรายได้รวม)
หนี้สาธารณะ ต่อ GDP 57% --> 45.9%
หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิด รายได้ 17.9% --> 8.2%
บสท. แก้ปัญหาหนี้ไปได้ 772,260 ล้านบาท
สินทรัพย์มีราคาเพิ่มขึ้น
ต้นปี 2544 ปัจจุบัน
ดัชนี ตลาดหลักทรัพย์ 297 จุด --> 747 จุด (เพิ่มขึ้น 151.5%)
มูลค่าตลาด 1.57 ล้านล้านบาท --> 5.37 ล้านล้านบาท (เพิ่มขึ้น 242.0%)
การจ้างงานสูงเป็นประวัติการณ์
ต้นปี 2544 --> ปัจจุบัน
การจ้างงาน 31.29 ล้านคน --> 35.17 ล้านคน (เพิ่มขึ้น 12.4%)
จำนวนผู้ว่างงาน 1.194 ล้านคน 509,000 คน
(อัตราการว่างงาน,%) (อัตราการว่างงาน = 3.6%) (อัตราการว่างงาน = 1.9%)
อัตราว่างงานลดลง Q4/48 = 1.8%
การจ้างงานเพิ่มขึ้น Q4/48 = 35.1 ล้านคน
ความยากจนลดลง
2543 2547
เส้นความยากจน 1,135 บาท --> 1,243 บาท
จำนวนคนจน 12.8 ล้านคน --> 7.5 ล้านคน (ลดลง 41.4%)
การกระจายรายได้ดีขึ้น โดยที่กลุ่มผู้ที่มีระดับรายได้ปานกลางและ
กลุ่มที่มีรายได้ต่ำมีส่วนแบ่งในรายได้รวมของประเทศมากขึ้น
2543 2547
ส่วนแบ่งรายได้ของคนระดับกลาง 38.3% --> 45.2%
ส่วนแบ่งรายได้ของคนรายได้น้อย 4.2% --> 6.4%
ส่วนแบ่งรายได้ของคนรายได้สูง 57.8% --> 48.4%
มาตรการสร้างเสถียรภาพและนโยบายรัฐบาลในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ ช่วยสร้างงานและเพิ่มรายได้
ทำให้จำนวนคนจนลดลงจาก 12.8 ล้านคนในปี 2543 เป็นประมาณ 7.5 ล้านคนในปัจจุบัน
มีการกระจายรายได้ที่ดีขึ้น โดยที่คนระดับกลาง (60% ของประเทศ) มีส่วนแบ่งรายได้ที่สูงขึ้น
มาตรการรัฐบาลที่สำคัญ
เสริมสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจและปรับเพิ่มฐานรายได้
-เพิ่มรายได้
* เพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำ
* ปรับฐานเงินเดือนข้าราชการ
* สร้างเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรและเพิ่มรายได้จากสินค้าเกษตรและ
* แปลงสินทรัพย์เป็นทุน 223,203 ราย วงเงิน 52,292.34 ล้านบาท ---> คนชั้นกลางและระดับล่างมีส่วนแบ่งรายได้เพิ่มขึ้น
นโยบายรากหญ้า
-การสร้างงานสร้างรายได้ : OTOP, SME
-แหล่งทุนในการประกอบอาชีพ, สร้างรายได้
-กองทุนหมู่บ้าน ให้กู้ 17.8 ล้านราย 236 พันล้านบาท
-ธนาคารประชาชน ให้กู้ 1.1 ล้านราย 25.6 พันล้านบาท
-SME อนุมัติสินเชื่อ 15.7 พันล้านบาท
1998 2000 2002 2004
Household income(baht/month) 12,492 12,150 13,736 14,963
Poverty line (baht/person/month) 1,130 1,135 1,190 1,243
Number of poor (mil.person) 11.0 12.8 9.5 7.5
Poverty ratio (%) 18.8 21.3 15.5 12.0
1998 2000 2002 2004
GINI coefficient 0.51 0.53 0.51 0.50
Income share of highest 20% (%) 56.5 57.8 55.2 48.4
Income share of middle 60% (%) 39.3 38.3 40.6 45.2
Income share of lowest 20% (%) 4.2 3.9 4.2 6.4
มีการขยายประกันสังคมให้ครอบคลุมกิจการที่มีจำนวนคนงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ตั้งแต่เมษายน 2545
มี.ค. 2545 เม.ย. 2545 ส.ค. 2548
จำนวนสถานประกอบการ (ราย) 115,984 243,681 360,550
จำนวนผู้ประกันตน (คน) 5,978,822 6,298,343 8,199,134
ด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม :
ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงบริการด้านโทรศัพท์พื้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่
และบริการอินเตอร์เนตเพิ่มขึ้นมาก
2001 2002 2003 2004 2005
จำนวนโทรศัพท์พื้นฐานต่อประชากร 1,000 คน* 98.2 103.7 104.9 105.9 108.5
จำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากร 1,000 คน** 97 275.0 394.2 428.0 n.a.
จำนวนคอมพิวเตอร์ต่อประชากร 1,000 คน n.a. 43.0 49.6 57.0 n.a.
จำนวนผู้ใช้ Internet ต่อประชากร 1,000 คน n.a. 79.2 95.5 116.7 n.a.
Source: IMD (2003, 2004 and 2005)
* บมจ. ทศท.
** ข้อมูลบริษัทต่างๆ และคำนวณเอง
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-
ต้นปี 2544 ต้นปี 2549
รายได้ต่อหัวปีละ 79,100 บาท --> 109,700 บาท (เพิ่มขึ้น 38.7%)
รายได้เกษตรกร (ต่อคนต่อปี) 32,120 บาท --> 52,320 บาท (เพิ่มขึ้น 62.9%)
ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้
ข้าวเปลือกเจ้า 10% กก. ละ 4.37 บาท --> 6.45 บาท
ข้าวหอมมะลิ กก. ละ 6.47 บาท --> 7.63 บาท
ยางแผ่นดินชั้น3 กก. ละ 21.90 บาท --> 65.28 บาท
ข้าวโพด กก. ละ 3.98 บาท --> 4.82 บาท
หัวมันสด กก. ละ 0.61 บาท --> 1.38 บาท
ปาล์มน้ำมัน กก. ละ 1.60 บาท --> 2.85 บาท
หนี้ของประเทศลดลง
ต้นปี 2544 ปัจจุบัน
ทุนสำรองเงินตรา ระหว่างประเทศ 32,661.3 ล้านUS$ --> 53,377.5 ล้านUS$ 63.4% (เพิ่มขึ้น)
หนี้ต่างชาติ 79,715 ล้าน US$ --> 51,588 ล้าน US$ 35.3% (ลดลง)
(66.7% ของรายได้รวม) (33.1% ของรายได้รวม)
หนี้สาธารณะ ต่อ GDP 57% --> 45.9%
หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิด รายได้ 17.9% --> 8.2%
บสท. แก้ปัญหาหนี้ไปได้ 772,260 ล้านบาท
สินทรัพย์มีราคาเพิ่มขึ้น
ต้นปี 2544 ปัจจุบัน
ดัชนี ตลาดหลักทรัพย์ 297 จุด --> 747 จุด (เพิ่มขึ้น 151.5%)
มูลค่าตลาด 1.57 ล้านล้านบาท --> 5.37 ล้านล้านบาท (เพิ่มขึ้น 242.0%)
การจ้างงานสูงเป็นประวัติการณ์
ต้นปี 2544 --> ปัจจุบัน
การจ้างงาน 31.29 ล้านคน --> 35.17 ล้านคน (เพิ่มขึ้น 12.4%)
จำนวนผู้ว่างงาน 1.194 ล้านคน 509,000 คน
(อัตราการว่างงาน,%) (อัตราการว่างงาน = 3.6%) (อัตราการว่างงาน = 1.9%)
อัตราว่างงานลดลง Q4/48 = 1.8%
การจ้างงานเพิ่มขึ้น Q4/48 = 35.1 ล้านคน
ความยากจนลดลง
2543 2547
เส้นความยากจน 1,135 บาท --> 1,243 บาท
จำนวนคนจน 12.8 ล้านคน --> 7.5 ล้านคน (ลดลง 41.4%)
การกระจายรายได้ดีขึ้น โดยที่กลุ่มผู้ที่มีระดับรายได้ปานกลางและ
กลุ่มที่มีรายได้ต่ำมีส่วนแบ่งในรายได้รวมของประเทศมากขึ้น
2543 2547
ส่วนแบ่งรายได้ของคนระดับกลาง 38.3% --> 45.2%
ส่วนแบ่งรายได้ของคนรายได้น้อย 4.2% --> 6.4%
ส่วนแบ่งรายได้ของคนรายได้สูง 57.8% --> 48.4%
มาตรการสร้างเสถียรภาพและนโยบายรัฐบาลในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ ช่วยสร้างงานและเพิ่มรายได้
ทำให้จำนวนคนจนลดลงจาก 12.8 ล้านคนในปี 2543 เป็นประมาณ 7.5 ล้านคนในปัจจุบัน
มีการกระจายรายได้ที่ดีขึ้น โดยที่คนระดับกลาง (60% ของประเทศ) มีส่วนแบ่งรายได้ที่สูงขึ้น
มาตรการรัฐบาลที่สำคัญ
เสริมสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจและปรับเพิ่มฐานรายได้
-เพิ่มรายได้
* เพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำ
* ปรับฐานเงินเดือนข้าราชการ
* สร้างเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรและเพิ่มรายได้จากสินค้าเกษตรและ
* แปลงสินทรัพย์เป็นทุน 223,203 ราย วงเงิน 52,292.34 ล้านบาท ---> คนชั้นกลางและระดับล่างมีส่วนแบ่งรายได้เพิ่มขึ้น
นโยบายรากหญ้า
-การสร้างงานสร้างรายได้ : OTOP, SME
-แหล่งทุนในการประกอบอาชีพ, สร้างรายได้
-กองทุนหมู่บ้าน ให้กู้ 17.8 ล้านราย 236 พันล้านบาท
-ธนาคารประชาชน ให้กู้ 1.1 ล้านราย 25.6 พันล้านบาท
-SME อนุมัติสินเชื่อ 15.7 พันล้านบาท
1998 2000 2002 2004
Household income(baht/month) 12,492 12,150 13,736 14,963
Poverty line (baht/person/month) 1,130 1,135 1,190 1,243
Number of poor (mil.person) 11.0 12.8 9.5 7.5
Poverty ratio (%) 18.8 21.3 15.5 12.0
1998 2000 2002 2004
GINI coefficient 0.51 0.53 0.51 0.50
Income share of highest 20% (%) 56.5 57.8 55.2 48.4
Income share of middle 60% (%) 39.3 38.3 40.6 45.2
Income share of lowest 20% (%) 4.2 3.9 4.2 6.4
มีการขยายประกันสังคมให้ครอบคลุมกิจการที่มีจำนวนคนงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ตั้งแต่เมษายน 2545
มี.ค. 2545 เม.ย. 2545 ส.ค. 2548
จำนวนสถานประกอบการ (ราย) 115,984 243,681 360,550
จำนวนผู้ประกันตน (คน) 5,978,822 6,298,343 8,199,134
ด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม :
ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงบริการด้านโทรศัพท์พื้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่
และบริการอินเตอร์เนตเพิ่มขึ้นมาก
2001 2002 2003 2004 2005
จำนวนโทรศัพท์พื้นฐานต่อประชากร 1,000 คน* 98.2 103.7 104.9 105.9 108.5
จำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากร 1,000 คน** 97 275.0 394.2 428.0 n.a.
จำนวนคอมพิวเตอร์ต่อประชากร 1,000 คน n.a. 43.0 49.6 57.0 n.a.
จำนวนผู้ใช้ Internet ต่อประชากร 1,000 คน n.a. 79.2 95.5 116.7 n.a.
Source: IMD (2003, 2004 and 2005)
* บมจ. ทศท.
** ข้อมูลบริษัทต่างๆ และคำนวณเอง
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-