สมมติฐานสำคัญ
(1) เศรษฐกิจโลก มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.4 ในปี 2549 ชะลอตัวจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.6 ในปี 2548 เล็กน้อย
(2) ราคาน้ำมัน: ราคาเฉลี่ยของน้ำมันดิบดูไบเท่ากับบาเรลละ 52 ดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นจากราคาเฉลี่ยบาเรลละ 49.40 ดอลลาร์
สรอ. ในปี 2548 เล็กน้อย
ภายใต้ปัจจัยทางเศรษฐกิจและข้อสมมุติฐานคาดว่าในปี 2549 เศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ 4.7-5.7
ประมาณการ เป้าหมาย
2546 2547p 2548f 2549f 2549
GDP (ณ ราคาประจำปี, พันล้านบาท) 5,929.0 6,503.5 7,101.8 7,790.7 7,826.2
อัตราเพิ่มของ GDP (ณ ราคาคงที่ %) 7.0 6.2 4.7 4.7- 5.7 5.7
การลงทุนรวม (ณ ราคาคงที่ %) 12.1 13.8 11.1 12.8 13.2
การบริโภครวม (ณ ราคาคงที่ %) 5.8 5.7 5.8 5.0 5.0
มูลค่าการส่งออกสินค้า (%) 18.2 21.6 15.3 16.0 17.0
มูลค่าการนำเข้าสินค้า (%) 17.4 26.0 25.6 17.0 17.0
ดุลการค้า (Bill.US$) 3.8 1.2 -7.9 -10.4 -9.3
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Bill.US$) 8.0 6.6 -3.1 -4.7 -3.6
ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%) 5.6 4.1 -1.8 -2.5 -2.0
เงินเฟ้อ (%) 1.8 2.7 4.5 3.5-4.0 4.0
ที่มา สศช.,6 ธันวาคม 2548
- ในปี 2549 การลงทุนจะเป็นแรงสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สำคัญมากขึ้น ในขณะที่การใช้จ่ายภาคเอกชนจะ ปรับตัวชะลอลง
และเข้าสู่ระดับที่มีเสถียรภาพมากขึ้น
- การส่งเสริมด้านการส่งออกทั้งสินค้าและบริการ และการ ปรับตัวด้านใช้น้ำมัน การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้วัตถุดิบใน การผลิต และ
การนำวัตถุดิบและสินค้าในสต็อกมาใช้จะทำให้ การนำเข้าขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงกว่าในปี 2548 การขาด ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP จะอยู่ใน
ระดับประมาณร้อยละ 2.0-2.5 รายรับจากภาคบริการจะสูงขึ้นตามการฟื้นตัวของ การท่องเที่ยว และโดยรวมการส่งออกสินค้าและบริการสุทธิจะสนับ
สนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้มากกว่าในปี 2548
- แรงกดดันอัตราเงินเฟ้อจะค่อย ๆ ลดลง และอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่จัดการได้
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-
(1) เศรษฐกิจโลก มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.4 ในปี 2549 ชะลอตัวจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.6 ในปี 2548 เล็กน้อย
(2) ราคาน้ำมัน: ราคาเฉลี่ยของน้ำมันดิบดูไบเท่ากับบาเรลละ 52 ดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นจากราคาเฉลี่ยบาเรลละ 49.40 ดอลลาร์
สรอ. ในปี 2548 เล็กน้อย
ภายใต้ปัจจัยทางเศรษฐกิจและข้อสมมุติฐานคาดว่าในปี 2549 เศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ 4.7-5.7
ประมาณการ เป้าหมาย
2546 2547p 2548f 2549f 2549
GDP (ณ ราคาประจำปี, พันล้านบาท) 5,929.0 6,503.5 7,101.8 7,790.7 7,826.2
อัตราเพิ่มของ GDP (ณ ราคาคงที่ %) 7.0 6.2 4.7 4.7- 5.7 5.7
การลงทุนรวม (ณ ราคาคงที่ %) 12.1 13.8 11.1 12.8 13.2
การบริโภครวม (ณ ราคาคงที่ %) 5.8 5.7 5.8 5.0 5.0
มูลค่าการส่งออกสินค้า (%) 18.2 21.6 15.3 16.0 17.0
มูลค่าการนำเข้าสินค้า (%) 17.4 26.0 25.6 17.0 17.0
ดุลการค้า (Bill.US$) 3.8 1.2 -7.9 -10.4 -9.3
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Bill.US$) 8.0 6.6 -3.1 -4.7 -3.6
ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%) 5.6 4.1 -1.8 -2.5 -2.0
เงินเฟ้อ (%) 1.8 2.7 4.5 3.5-4.0 4.0
ที่มา สศช.,6 ธันวาคม 2548
- ในปี 2549 การลงทุนจะเป็นแรงสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สำคัญมากขึ้น ในขณะที่การใช้จ่ายภาคเอกชนจะ ปรับตัวชะลอลง
และเข้าสู่ระดับที่มีเสถียรภาพมากขึ้น
- การส่งเสริมด้านการส่งออกทั้งสินค้าและบริการ และการ ปรับตัวด้านใช้น้ำมัน การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้วัตถุดิบใน การผลิต และ
การนำวัตถุดิบและสินค้าในสต็อกมาใช้จะทำให้ การนำเข้าขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงกว่าในปี 2548 การขาด ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP จะอยู่ใน
ระดับประมาณร้อยละ 2.0-2.5 รายรับจากภาคบริการจะสูงขึ้นตามการฟื้นตัวของ การท่องเที่ยว และโดยรวมการส่งออกสินค้าและบริการสุทธิจะสนับ
สนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้มากกว่าในปี 2548
- แรงกดดันอัตราเงินเฟ้อจะค่อย ๆ ลดลง และอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่จัดการได้
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-