แท็ก
อัตราเงินเฟ้อ
สามไตรมาสแรกปี 2548 เศรษฐกิจขยายตัวร้อยละ 4.4 และทั้งปี 2548 มีแนวโน้ม ขยายตัวร้อยละ 4.7 อัตราเงินเฟ้อเท่ากับ
ร้อยละ 4.5 เศรษฐกิจมีแนวโน้ม ขยายตัวได้ดีขึ้นในปี 2549 และแรงกดดันเงิน
* เศรษฐกิจในไตรมาสแรกขยายตัวเพียงร้อยละ 3.2 ชะลอตัวมากเนื่องจากราคาน้ำมันและเงินเฟ้อที่สูงขึ้นมาก ผลกระทบภัยแล้งทำให้
ภาคเกษตรหดตัวร้อยละ 8.7 และผลกระทบจากสึนามิและความไม่สงบในภาคใต้ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติลดลงร้อยละ 10.1
* เศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้นในไตรมาสที่สองโดยขยายตัวร้อยละ 4.6 เมื่อผลกระทบจากภัยแล้งบรรเทาลง การท่องเที่ยวปรับตัวดีขึ้น และ
การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวได้ดีขึ้นตามการส่งออก
* ผลของมาตรการรัฐบาลเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจในครึ่งหลังของปีช่วยให้การขยายตัวของเศรษฐกิจสูงขึ้นเป็นร้อยละ 5.3
ในไตรมาสที่ 3 การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเริ่มลดลง รวมทั้งแรงกดดันเงินเฟ้อที่เริ่มบรรเทาลงในไตรมาสสุดท้าย
* รวมสามไตรมาสเศรษฐกิจขยายตัวร้อยละ 4.4 และคาดว่าทั้งปีจะขยายตัวร้อยละ 4.7 อัตราเงินเฟ้อเท่ากับร้อยละ 4.5 และขาดดุล
บัญชีเดินสะพัดประมาณร้อยละ 2.07 ของ GDP โดยที่ในช่วงครึ่งหลังของปีภาวะเศรษฐกิจในด้านต่าง ๆ ปรับตัวดีขึ้นตามลำดับ
* ในปี 2549 เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มจะขยายตัวร้อยละ 4.7-5.7 ดีกว่าปีที่แล้ว อุปสรรคในเฟ้อลดลง ปี 2548 ได้คลี่คลายลงไป และ
ที่สำคัญเศรษฐกิจได้มีการปรับตัวต่อเงื่อนไขและสถานการณ์ต่างๆไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการขึ้นดอกเบี้ย การปรับราคาน้ำมันให้ใกล้เคียงกับราคาตลาด
โลก และการปรับตัวของภาคธุรกิจเพื่อการแข่งขันในตลาดโลก
2545 2546 2547 2548 2548f
Q1 Q2 H1 Q3 Q1-Q3 ทั้งปี
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
-GDP (% YOY) 5.3 7.0 6.2 3.2 4.6 3.9 5.3 4.4 4.7
-GDP (% ต่อปี, ปรับฤดูกาล) 5.4 7.1 6.2 -3.7 9.3 2.1 9.0 5.9 -
อัตราเงินเฟ้อ (%, YOY)
-เงินเฟ้อทั่วไป 0.6 1.8 2.8 2.8 3.7 3.3 5.6 4.1 4.5
-เงินเฟ้อพื้นฐาน 0.4 0.2 0.4 0.7 1.1 0.9 2.2 1.3 1.7
อัตราการว่างงาน (%) 2.24 2.02 1.98 2.29 2.03 2.16 1.36 1.89 2.0
ดุลการค้า (ล้านดอลลาร์ สรอ.) 2,739.0 3,759.0 1,460.0 -3,132.3 -4,985.9 -8,118.2 289.5 -7,828.8 -7,911.9
การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 7,008.0 7,965.0 6,865.0 -1,406.4 -4,457.2 -5,863.6 1,238.7 -4,625.0 -3,125
-(% ต่อ GDP) 5.5 5.6 4.1 -3.2 -10.5 -6.8 2.8 -3.5 -1.8
ทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศ 38.92 42.15 49.83 48.68 48.36 48.36 49.80 49.80 52.10
(พันล้านดอลลาร์ สรอ.)*/
-เทียบกับหนี้ต่างประเทศระยะสั้น(เท่า)*/ 3.3 3.9 4.1 3.4 3.1 3.1 3.0 3.0 3.2
หนี้สาธารณะ (พันล้านบาท) 2,930.8 2,902.4 3,120.8 3,131.4 3,210.3 3,210.3 3,277.5 3,277.5
-% ต่อ GDP 53.82 48.93 47.45 43.84 44.95 44.95 45.89 45.89
หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้* (พันล้านบาท) 770.28 641.87 592.17 595.85 583.55 583.55 576.89 576.89 n.a
-% ต่อสินเชื่อรวม 15.65 12.70 10.73 10.68 10.32 10.32 9.93 9.93 n.a
*/ at the end of the period
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-
ร้อยละ 4.5 เศรษฐกิจมีแนวโน้ม ขยายตัวได้ดีขึ้นในปี 2549 และแรงกดดันเงิน
* เศรษฐกิจในไตรมาสแรกขยายตัวเพียงร้อยละ 3.2 ชะลอตัวมากเนื่องจากราคาน้ำมันและเงินเฟ้อที่สูงขึ้นมาก ผลกระทบภัยแล้งทำให้
ภาคเกษตรหดตัวร้อยละ 8.7 และผลกระทบจากสึนามิและความไม่สงบในภาคใต้ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติลดลงร้อยละ 10.1
* เศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้นในไตรมาสที่สองโดยขยายตัวร้อยละ 4.6 เมื่อผลกระทบจากภัยแล้งบรรเทาลง การท่องเที่ยวปรับตัวดีขึ้น และ
การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวได้ดีขึ้นตามการส่งออก
* ผลของมาตรการรัฐบาลเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจในครึ่งหลังของปีช่วยให้การขยายตัวของเศรษฐกิจสูงขึ้นเป็นร้อยละ 5.3
ในไตรมาสที่ 3 การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเริ่มลดลง รวมทั้งแรงกดดันเงินเฟ้อที่เริ่มบรรเทาลงในไตรมาสสุดท้าย
* รวมสามไตรมาสเศรษฐกิจขยายตัวร้อยละ 4.4 และคาดว่าทั้งปีจะขยายตัวร้อยละ 4.7 อัตราเงินเฟ้อเท่ากับร้อยละ 4.5 และขาดดุล
บัญชีเดินสะพัดประมาณร้อยละ 2.07 ของ GDP โดยที่ในช่วงครึ่งหลังของปีภาวะเศรษฐกิจในด้านต่าง ๆ ปรับตัวดีขึ้นตามลำดับ
* ในปี 2549 เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มจะขยายตัวร้อยละ 4.7-5.7 ดีกว่าปีที่แล้ว อุปสรรคในเฟ้อลดลง ปี 2548 ได้คลี่คลายลงไป และ
ที่สำคัญเศรษฐกิจได้มีการปรับตัวต่อเงื่อนไขและสถานการณ์ต่างๆไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการขึ้นดอกเบี้ย การปรับราคาน้ำมันให้ใกล้เคียงกับราคาตลาด
โลก และการปรับตัวของภาคธุรกิจเพื่อการแข่งขันในตลาดโลก
2545 2546 2547 2548 2548f
Q1 Q2 H1 Q3 Q1-Q3 ทั้งปี
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
-GDP (% YOY) 5.3 7.0 6.2 3.2 4.6 3.9 5.3 4.4 4.7
-GDP (% ต่อปี, ปรับฤดูกาล) 5.4 7.1 6.2 -3.7 9.3 2.1 9.0 5.9 -
อัตราเงินเฟ้อ (%, YOY)
-เงินเฟ้อทั่วไป 0.6 1.8 2.8 2.8 3.7 3.3 5.6 4.1 4.5
-เงินเฟ้อพื้นฐาน 0.4 0.2 0.4 0.7 1.1 0.9 2.2 1.3 1.7
อัตราการว่างงาน (%) 2.24 2.02 1.98 2.29 2.03 2.16 1.36 1.89 2.0
ดุลการค้า (ล้านดอลลาร์ สรอ.) 2,739.0 3,759.0 1,460.0 -3,132.3 -4,985.9 -8,118.2 289.5 -7,828.8 -7,911.9
การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 7,008.0 7,965.0 6,865.0 -1,406.4 -4,457.2 -5,863.6 1,238.7 -4,625.0 -3,125
-(% ต่อ GDP) 5.5 5.6 4.1 -3.2 -10.5 -6.8 2.8 -3.5 -1.8
ทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศ 38.92 42.15 49.83 48.68 48.36 48.36 49.80 49.80 52.10
(พันล้านดอลลาร์ สรอ.)*/
-เทียบกับหนี้ต่างประเทศระยะสั้น(เท่า)*/ 3.3 3.9 4.1 3.4 3.1 3.1 3.0 3.0 3.2
หนี้สาธารณะ (พันล้านบาท) 2,930.8 2,902.4 3,120.8 3,131.4 3,210.3 3,210.3 3,277.5 3,277.5
-% ต่อ GDP 53.82 48.93 47.45 43.84 44.95 44.95 45.89 45.89
หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้* (พันล้านบาท) 770.28 641.87 592.17 595.85 583.55 583.55 576.89 576.89 n.a
-% ต่อสินเชื่อรวม 15.65 12.70 10.73 10.68 10.32 10.32 9.93 9.93 n.a
*/ at the end of the period
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-