# เสถียรภาพภายในโดยภาพรวมยัง มั่นคง แต่ต้องดูแลอัตราเงินเฟ้อที่สูง
0 อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูง
- ลอยตัวราคาน้ำมันดีเซล ในเดือนกรกฎาคม 2005
ส่งผลกระทบทางอ้อมสู่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานมากขึ้นตามลำดับ
0 การจ้างงานเพิ่มขึ้นและอัตราการว่างงานลดลง
0 หนี้สาธารณอยู่ในเกณฑ์ที่มีเสถียรภาพ
0 NPLs ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2548 เท่ากับร้อยละ 9.93 ลดลงจากร้อยละ 10.73 ณ สิ้นปี 2547
* อัตราเงินเฟ้อทั้งปี 2548 อยู่ในระดับสูงร้อยละ 4.5 โดยที่แรงกดดันจากราคาน้ำมันและราคาวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นส่งผ่านไปยังราคาผู้บริโภคเพิ่มขึ้น และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งปี 2548 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.7
(%YOY) 2004 2005
Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี
Headline inflation 2.8 2.8 3.7 5.6 6.0 4.5
Core inflation 0.4 0.7 1.1 2.2 2.4 1.7
ที่มา: ก.พาณิชย์
* อย่างไรก็ตามอัตราเงินเฟ้อเริ่มลดลงในไตรมาสสุดท้ายของปี 2548 จากร้อยละ 6.2 ในเดือนตุลาคม เป็นร้อยละ 5.9 ในเดือนพฤศจิกายน และร้อยละ 5.8 ในเดือนธันวาคม จึงคาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะยังอยู่ในระดับสูงไปอีกในช่วงครึ่งแรกของปี 2549 และจะชะลอตัวลงเมื่อเข้าสู่ครึ่งหลังปี 2549 ซึ่งเป็นช่วงที่ฐานราคาเปรียบเทียบอยู่ในระดับสูงอยู่แล้ว
* การจ้างงานเพิ่มขึ้น และอัตราการว่างงานเท่ากับร้อยละ 1.2 ในเดือนพฤศจิกายนปี 2548 ลดลงจากร้อยละ 1.5 ในเดือนพฤศจิกายนปี 2547 และเฉลี่ย 11 เดือนเท่ากับร้อยละ 2.0
* หนี้สาธารณะต่อ GDP ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ร้อยละ 46.0
* หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs)
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-
0 อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูง
- ลอยตัวราคาน้ำมันดีเซล ในเดือนกรกฎาคม 2005
ส่งผลกระทบทางอ้อมสู่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานมากขึ้นตามลำดับ
0 การจ้างงานเพิ่มขึ้นและอัตราการว่างงานลดลง
0 หนี้สาธารณอยู่ในเกณฑ์ที่มีเสถียรภาพ
0 NPLs ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2548 เท่ากับร้อยละ 9.93 ลดลงจากร้อยละ 10.73 ณ สิ้นปี 2547
* อัตราเงินเฟ้อทั้งปี 2548 อยู่ในระดับสูงร้อยละ 4.5 โดยที่แรงกดดันจากราคาน้ำมันและราคาวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นส่งผ่านไปยังราคาผู้บริโภคเพิ่มขึ้น และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งปี 2548 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.7
(%YOY) 2004 2005
Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี
Headline inflation 2.8 2.8 3.7 5.6 6.0 4.5
Core inflation 0.4 0.7 1.1 2.2 2.4 1.7
ที่มา: ก.พาณิชย์
* อย่างไรก็ตามอัตราเงินเฟ้อเริ่มลดลงในไตรมาสสุดท้ายของปี 2548 จากร้อยละ 6.2 ในเดือนตุลาคม เป็นร้อยละ 5.9 ในเดือนพฤศจิกายน และร้อยละ 5.8 ในเดือนธันวาคม จึงคาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะยังอยู่ในระดับสูงไปอีกในช่วงครึ่งแรกของปี 2549 และจะชะลอตัวลงเมื่อเข้าสู่ครึ่งหลังปี 2549 ซึ่งเป็นช่วงที่ฐานราคาเปรียบเทียบอยู่ในระดับสูงอยู่แล้ว
* การจ้างงานเพิ่มขึ้น และอัตราการว่างงานเท่ากับร้อยละ 1.2 ในเดือนพฤศจิกายนปี 2548 ลดลงจากร้อยละ 1.5 ในเดือนพฤศจิกายนปี 2547 และเฉลี่ย 11 เดือนเท่ากับร้อยละ 2.0
* หนี้สาธารณะต่อ GDP ณ สิ้นเดือนตุลาคม อยู่ที่ร้อยละ 46.0
* หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs)
--สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ--
-พห-