ส นักงานสถิติแห่งชาติ ด เนินการส รวจภาวะการท งานของประชากร หรือส รวจแรงงาน
อย่างต่อเนื่องเป็นประจ ทุกปีเริ่มตั้งแต่ปี2506 โดยในช่วงแรกส รวจเพียงปีละ 2 รอบ รอบแรกเป็นการ
ส รวจนอกฤดูเกษตร และรอบที่ 2 เป็นฤดูเกษตร ต่อมาในปี2527 - 2540 ส รวจปีละ 3 รอบ โดยเพิ่ม
การส รวจช่วงเดือนพฤษภาคม เพื่อให้มีข้อมูลแรงงานที่จบการศึกษาใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงาน และ
ในปี 2541 ได้เพิ่มการส รวจขึ้นอีก 1 รอบ คือเดือนพฤศจิกายนซึ่งเป็นช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต
การเกษตร ท ให้การส รวจภาวะการท งานของประชากรมีข้อมูลครบทั้ง 4 ไตรมาส ในปี 2544
ส นักงานสถิติแห่งชาติได้ปรับปรุงการส รวจเป็นรายเดือน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถติดตามภาวะการมีงานท
ของประชากรได้อย่างต่อเนื่องทุกเดือนโดยน เสนอผลการส รวจในระดับภาค และประเทศ
ผลการส รวจภาวะการท งานของประชากรเดือนมีนาคม พ.ศ. 2566 พบว่าผู้มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป
จ นวน 58.83 ล้านคน เป็นผู้ที่อยู่ในก ลังแรงงานหรือผู้ที่พร้อมจะท งาน 40.45 ล้านคน ซึ่งประกอบด้วย
ผู้มีงานท 39.78 ล้านคน ผู้ว่างงาน 0.42 ล้านคน และผู้ที่รอฤดูกาล 0.25 ล้านคน ส่วนผู้ที่อยู่นอกก ลัง
แรงงานหรือผู้ที่ไม่พร้อมท งาน 18.38 ล้านคน ได้แก่ แม่บ้าน นักเรียน คนชรา เป็นต้น
เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์พ.ศ. 2566 พบว่า ผู้มีงานท ลดลง 0.13 ล้านคน (จาก 39.91
ล้านคน เป็น 39.78 ล้านคน)การมีงานท เปรียบเทียบจ นวนผู้มีงานท จ แนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ส หรับเดือนมีนาคม พ.ศ. 2566 ผู้มีงานท ใน
ภาคเกษตรกรรมมีจ นวน 12.10 ล้านคน (เพิ่มขึ้นจากเดือน
กุมภาพันธ์จ นวน 0.36 ล้านคน) และผู้มีงานท นอกภาค
เกษตรกรรมมีจ นวน 27.68 ล้านคน (ลดลงจากเดือน
กุมภาพันธ์จ นวน 0.49 ล้านคน)
โดยผู้ท งานนอกภาคเกษตรกรรม ลดลง 3 ล ดับแรก
ในสาขาการบริหารราชการ การป้องกันประเทศฯ (ลดลง 2.9
แสนคน) สาขาการศึกษา (ลดลง 2.0 แสนคน) และการขายส่ง
และการขายปลีกฯ (ลดลง 1.9 แสนคน)
ส่วน 3 ล ดับแรกที่มีผู้ท งานเพิ่มขึ้น คือสาขา
การก่อสร้าง (เพิ่มขึ้น 4.1 แสนคน) สาขาที่พักแรมและ
บริการด้านอาหาร (เพิ่มขึ้น 2.4 แสนคน) และการขนส่ง
และสถานที่เก็บสินค้า (เพิ่มขึ้น 1.2 แสนคน)
จ นวนผู้มีงานท จ แนกตามชั่วโมงท งานต่อสัปดาห์และเพศ
เมื่อพิจารณาถึงชั่วโมงท งานของผู้มีงานท ต่อสัปดาห์ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2566 พบว่า
ผู้ท งานตั้งแต่ 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีจ นวน 26.53 ล้านคน หรือร้อยละ 66.7 ของผู้มีงานท ทั้งหมด และ
ผู้ท งาน 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์มีจ นวน 7.21 ล้านคน (ร้อยละ 18.1) ส หรับผู้ที่ท งานน้อยกว่า 35 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์มีจ นวน 6.04 ล้านคน (ร้อยละ 15.2)
จ นวนผทู้ งานต กว่าระดับ (ด้านเวลา) จ แนกตามเพศ
การท งานต กว่าระดับด้านเวลา หากพิ จารณาถึงจ นวนผู้มีงานท แต่ยังท งานได้ไม่เต็มเวลา
ซึ่งหมายถึงผู้ท งานน้อยกว่า 35 ชั่วโมงต่อสัปดาห์และต้องการท งานเพิ่มหรือเรียกว่าผู้ท งานต กว่าระดับ
ด้านเวลา (Time-Related Underemployment workers) จากผลการส รวจพบว่า มีผู้ท งานต กว่าระดับ
ด้านเวลาจ นวน 1.91 แสนคน หรือร้อยละ 0.5 ของจ นวนผู้ท งานทั้งหมด เมื่อพิจารณาตามเพศพบว่า
มีเพศชายมากกว่าเพศหญิง (จ นวน 1.38 แสนคน และ 0.53 แสนคน ตามล ดับ)
การว่างงาน
เปรียบเทียบจ นวนและอัตราการว่างงาน จ แนกตามภาค
ในเดือนมีนาคม 2566 พบว่า มีจ นวนผู้ว่างงาน 4.16 แสนคน คิดเป็นอัตราการว่างงาน
ร้อยละ 1.0 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์พ.ศ. 2566 จะเห็นได้ว่าจ นวนผู้ว่างงานทั่วประเทศเพิ่มขึ้น
0.58 แสนคน (จาก 3.58 แสนคน เป็น 4.16 แสนคน) เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า เกือบทุกภาคมีจ นวน
ผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น ยกเว้นภาคกลางและภาคใต้
เปรียบเทียบจ นวนและอัตราการว่างงาน จ แนกตามเพศและกลุ่มอาย
จ นวนผู้ว่างงาน ในเดือนมีนาคม 2566 มีทั้งสิ้น 4.16 แสนคน หรือคิดเป็นอัตราการว่างงาน
ร้อยละ 1.0 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์2566 จ นวนผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น 0.58 แสนคน และอัตรา
การว่างงานเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 0.9 เป็น ร้อยละ 1.0
อัตราการว่างงานตามเพศ พบว่า เพศชายมีอัตราการว่างงานมากกว่าเพศหญิง (ร้อยละ 1.1 และ
ร้อยละ 1.0 ตามล ดับ) เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกุมภาพั นธ์2566 พบว่า อัตราการว่างงานทั้งเพศชาย
และเพศหญิงเพิ่มขึ้น
อัตราการว่างงานตามกลุ่มอายุ พบว่า วัยเยาวชน (อายุ 15-24 ปี) มีอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น
จากเดือนกุมภาพันธ์2566 คือร้อยละ 4.5 เป็นร้อยละ 5.1 และวัยผู้ใหญ่ (อายุ 25 ปีขึ้นไป) มีอัตราการว่างงาน
เพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน คือร้อยละ 0.5 เป็นร้อยละ 0.6
เปรียบเทยี บจ นวนผวู้ งงาน จ แนกตามระดบั การศกึ ษาที่ส เร็จ
ระดับการศึกษาที่ส เร็จของผู้ว่างงาน
ในเดือนมีนาคม 2566 พบว่าผู้ว่างงานส เร็จ
การศึกษาในระดับอุดมศึกษามากที่สุด 1.52
แสนคน รองลงมาเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
0.98 แสนคน มัธยมศึกษาตอนปลาย 0.73
แสนคน และระดับประถมศึกษา 0.46 แสนคน
ตามล ดับ
เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกุมภาพั นธ์
2566 พบว่าผู้ว่างงานที่ส เร็จการศึกษาต กว่า
ระดับประถมศึกษา มีจ นวนลดลง
ขณะที่ผู้ว่างงานที่ส เร็จการศึกษาใน
ระดับต่าง ๆ มีจ นวนเพิ่มขึ้น โดยผู้ที่ส เร็จ
การศึกษาระดับอุดมศึกษามีจ นวนเพิ่มขึ้น
มากที่สุด
จ นวนผู้ว่างงาน จ แนกตามประสบการณ์การท งาน
ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ