สำรวจภาวะการทำงานของประชากรกรุงเทพมหานคร ไตรมาสที่ 2 : เมษายน - มิถุนายน พ.ศ. 2566

ข่าวผลสำรวจ Tuesday December 6, 2022 13:47 —สำนักงานสถิติแห่งชาติ

รายงานนี้เสนอผลการส รวจภาวะการมีงานท

ของประชากรในกรุงเทพมหานคร โดยปฏิบัติงานเก็บ

รวบรวมข้อมูลในเดือนเมษายน พฤษภาคม มิถุนายน

พ.ศ. 2565..เป็นการส รวจไตรมาสที่.2 ของ.ปี.2565

ผลการส รวจท ให้ทราบถึงภาวะการมีงานท

การว่างงาน และลักษณะที่ส คัญบางประการของ

ก ลังแรงงานในกรุงเทพมหานครระหว่างเดือน

เมษายน ? มิถุนายน พ.ศ. 2565

อนึ งจ น วนป ร ช ก ร ที ใช้เป็น ฐ นใน

การประมาณผลตามระเบียบวิธีการสุ่มตัวอย่าง

ส หรับโครงการส รวจภาวะการท งานของประชากร

ตั้งแต่รอบที่ 1เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ..2538 เป็นต้นมานั้น

ได้มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับจ นวนประชากร

ที่ใช้ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ซึ่งได้จากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย

พ.ศ. 2553-2583 ที่ได้จัดท ขึ้นใหม่โดยส นักงาน

สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

1. ลักษณะของก ลังแรงงาน

จากผลการส รวจภาวะการท งานของประชากร

ระหว่างเดือนเมษายน ? มิถุนายน พ.ศ. 2565 พบว่า

กรุงเทพมหานคร มีจ นวนประชากรผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

7,853,448.คน.เป็นชาย.3,726,747 คน.และหญิง

4,126,701คน เป็นผู้อยู่ในก ลังแรงงาน 5,706,005คน

และเป็นผู้ไม่อยู่ในก ลังแรงงาน 2,147,443 คน

ส ห รับผู้อยู่ใน ก ลั งแ รงงาน มีจ น วน

5,706,005 คน คิดเป็นร้อยละ 72.6ของประชากรผู้มี

อายุ15 ปีขึ้นไป เป็นชาย 2,939,164 คน เป็นหญิง

2,766,840 คน ผู้อยู่ในก ลังแรงงานประกอบด้วย

ผู้มีงานท จ นวน 5,625,411.คน.คิดเป็นร้อยละ 71.6

เป็นผู้ว่างงานจ นวน 79,709.คน หมายถึง ผู้ไม่มีงานท

และพร้อมที่จะท งาน.ส่วนผู้ที่อยู่ในก ลังแรงงาน

ที่เป็นผู้ที่รอฤดูกาล.จ นวน 884คนหมายถึงผู้ที่รอฤดูกาล

ที่เหมาะสมเพื่อที่จะท งานและเป็นบุคคลที่ตามปกติ

จะท งานโดยไม่ได้รับสิ่งตอบแทนในไร่นาเกษตรหรือ

ธุรกิจ ซึ่งท กิจกรรมตามฤดูกาล

ส่ วนผู้ไม่ อยู่ใน ก ลั งแ รงงาน มี จ น วน

2,147,443 คน คิดเป็นร้อยละ 27.4 ของประชากรผู้มี

อายุ 15 ปีขึ้นไป ประกอบด้วย ผู้ที่ท งานบ้าน จ นวน

580,570 คน คิดเป็นร้อยละ 7.4 ผู้ที่เรียนหนังสือ

จ นวน.460,227 คน คิดเป็นร้อยละ.5.9 ผู้ที่ยังเด็ก

หรือผู้ชราหรือผู้ป่วยผู้พิการไม่สามารถท งานได้

จ นวน 731,499 คน คิดเป็นร้อยละ 9.3 และอื่น ๆ

ได้แก่ พักผ่อนและเกษียณการท งาน ไม่สมัครใจท งาน

ผู้ท งานให้แก่บุคคลซึ่งมิได้เป็นสมาชิกในครัวเรือน

เดียวกันหรือองค์กรการกุศล.สถาบันต่าง.ๆ โดยไม่ได้

รับค่าจ้างผลก ไรส่วนแบ่ง หรือสิ่งตอบแทนแต่อย่างใด

จ นวน 375,147.คน คิดเป็นร้อยละ.4.8

2. ผู้มีงานท

2.1 การศึกษา

จากการส รวจพบว ผู้มีงานท ที มี

อ ยุ.1 5.ปี ขึ้นไป ใน กรุงเทพ มห น ค ร.จ น วน

5,625,411คน เป็นผู้ส เร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา

มากที่สุดจ นวน 2,194,855 คน คิดเป็นร้อยละ.39.0.

โดยมีสัดส่วนของชายร้อยละ.34.0และหญิงร้อยละ 44.3.

รองลงมา เป็นผู้ส เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลาย มีจ นวน.1,094,631คน มีสัดส่วนชายร้อยละ.

22.2.และหญิงร้อยละ 16.5 และผู้ส เร็จการศึกษา

ระดับประถมศึกษา มีจ นวน 1,007,973 คน โดยมี

สัดส่วนของชายร้อยละ 19.4 และหญิงร้อยละ.16.3.

ส หรับผู้ส เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

มีจ นวน 886,437 คน โดยมีสัดส่วนของชายร้อยละ

17.6.หญิงร้อยละ 13.8 ส วนผู้ที ส เร็จการศึกษา

ต่ กว่าระดับประถมศึกษาและผู้ไม่มีการศึกษามีเพียง

ร้อยละ 5.0 และ 2.0 ตามล ดับ

2.2 อาชีพ

ประชากรในกรุงเทพมหานครผู้มีอายุ

15.ปีขึ้นไป.ที่มีงานท จ นวนทั้งสิ้น.5,625,411 คน

พ บ ว่ เป็ น ช ย.2,890,424 ค น .แ ล เป็ น หญิ ง

2,734,987.คน หรือคิดเป็นร้อยละ.51.4..และร้อยละ.48.6

ตามล ดับ เมื อจ แนกตามอาชีพของผู้มีงานท

อายุ15 ปีขึ้นไป ปรากฏว่ามีผู้ประกอบอาชีพพนักงานบริการ

และผู้จ หน่ายสินค้ามากที่สุด.1,564,169 คน.หรือ

ร้อยละ 27.8 โดยมีสัดส่วนของชายน้อยกว่าหญิง คือ

ชายร้อยละ 22.8 และหญิงร้อยละ 33.1 รองลงมา

คือ ผู้ควบคุมเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร และ

ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบมีจ นวน 802,413 คน

คิดเป็นร้อยละ.14.3.ซึ่งมีสัดส วนชายมากกว หญิง

คือ ชายร้อยละ 23.0 และหญิงร้อยละ 5.1 ส หรับ

ผู้ประกอบอาชีพงานขั้นพื้นฐานมี 638,076 คน

โดยสัดส่วนของชายน้อยกว่าหญิง คือ ชายร้อยละ7.6

และหญิงร้อยละ 15.2 ส่วนที่เหลือท งานอยู่ใน

อาชีพอื่น ๆ

2.3อุตสาหกรรม

เมื่อพิจารณาถึงประเภทอุตสาหกรรม

หรือลักษณะการประกอบกิจกรรมของผู้มีงานท

เชิงเศรษฐกิจมีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในกรุงเทพมหานคร

พบว่า ประเภทอุตสาหกรรมที่มีผู้ท งานมากที่สุด คือ

สาขาการขายส งและการขายปลีก.การซ อมแซม

ยานยนต์และรถจักรยานยนต์.1,246,003 คน หรือ

ร้อยละ 22.1 โดยมีสัดส่วนของชายน้อยกว่าหญิง คือ

ชายร้อยละ 21.6 และหญิงร้อยละ 22.7 รองลงมา

ได้แก่ ผู้ท งานในสาขาการผลิต 886,782.คน.หรือ

ร้อยละ.15.8โดยสัดส่วนการท งานของชายและหญิง

แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย คือ.ชายร้อยละ.15.8และหญิง

ร้อยละ 15.7สาขาที่พักแรมและการบริการด้านอาหาร

607,665 คน หรือร้อยละ 10.8 โดยมีสัดส่วนของชาย

น้อยกว่าหญิง.คือ.ชายร้อยละ 7.5.และหญิงร้อยละ 14.3

ส หรับผู้ท งานในสาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า

มี.548,561.คน หรือร้อยละ 9.8 โดยสัดส่วนของชาย

มากกว่าหญิง คือชายร้อยละ.16.2.และหญิงร้อยละ.3.0

ส่วนที่เหลือจะกระจายอยู่ในอุตสาหกรรมสาขาอื่น ๆ

2.4 สถานภาพการท งาน

เมื่อพิจารณาสถานภาพการท งานของ

ประชากรในกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้มีงานท ที่มี

อายุ 15 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่ท งานเป็นลูกจ้างมากที่สุด

ถึงร้อยละ68.9โดยเป็นลูกจ้างเอกชน จ นวน 3,303,748คน

คิดเป็นร้อยละ.58.7.และลูกจ้างรัฐบาล.จ นวน 574,483คน

คิดเป็นร้อยละ 10.2 โดยลูกจ้างทั้ง 2.ประเภท

มีสัดส วนการท งานของเพศชายน้อยกว่าเพศหญิง

คือ ชายร้อยละ 66.1 และหญิงร้อยละ.71.9 รองลงมา

คือ.ท งานส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้างจ นวน 1,299,195คน

คิดเป็นร้อยละ 23.1 ของผู้มีงานท ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

โดยมีสัดส่วนชายร้อยละ 26.2 และหญิงร้อยละ.19.8.

นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ช่วยธุรกิจในครัวเรือน.จ นวน

292,423.คน และนายจ้างอีกจ นวน 155,562.คน

หรือคิดเป็นร้อยละ 5.2.และ 2.8 ตามล ดับ2.5 ชั่วโมงท งาน

ผู้มีงานท ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จ นวน

5,625,411คน ประกอบด้วยผู้มีงานท น้อยกว่า 1 ชั่วโมง

จ นวน 12,848 คน คิดเป็นร้อยละ 0.2 ของผู้มีงานท

ที มีอายุ15 ปีขึ้นไป และผู้ที ท งานในสัปดาห์แห ง

การส รวจตั้งแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป จ นวน 5,612,563คน

คิดเป็นร้อยละ 99.8 ซึ่งพบว่าผู้ที่ท งาน 35-49.ชั่วโมง

ต อสัปดาห์มีจ นวนสูงสุด 4,192,276 คน คิดเป็น

ร้อยละ.74.5.ของผู้มีงานท ที มีอายุ.15.ปีขึ้นไป

โดยมีสัดส่วนการท งานของชายน้อยกว่าหญิง คือ

ชายร้อยละ 73.8 และหญิงร้อยละ 75.3 รองลงมา

คือ.ผู้ที่ท งาน 50 ชั่วโมงขึ้นไป จ นวน 976,211.คน

คิดเป็นร้อยละ.17.4 ซึ่งมีสัดส่วนของชายมากกว่าหญิง

คือชายร้อยละ.18.8 และหญิงร้อยละ.15.8 ส หรับผู้ที่

ท งาน 10-34 ชั่วโมง มีจ นวน 443,139 คน คิดเป็น

ร้อยละ 7.9 ของผู้มีงานท ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ


แท็ก ข้อมูล  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ