อุตสาหกรรมรองเท้าและชิ้นส่วน, เครื่องใช้สำหรับเดินทาง, หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอก ในปี 2550 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ
4.7, 13.8 และ 19.3 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ตลาดส่งออกหลักของสินค้ารองเท้าปี 2550 คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยียม และเดนมาร์ก
และตลาดส่งออกสินค้าเครื่องหนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอก คือ ฮ่องกง จีน และเวียดนาม
1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 ดัชนีการผลิตอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีการผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 มีปริมาณการผลิตลด
ลงร้อยละ 3.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 14.4 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับไตร
มาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 12.4 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 2.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี
ก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0
- การผลิตกระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก ดัชนีการผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 เทียบ
กับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 4.5 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบ
กับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 49.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.4 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาส
ก่อนลดลงร้อยละ 36.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 20.7
- การผลิตรองเท้า ดัชนีการผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของ
ปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 38.2
ตารางที่ 1: แสดงดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ ปี 2549 ปี 2550 %อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(50) Q4(50)
/Q3(50) /Q4(49)
ISIC: 1911 การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก
การผลิต 72.8 98.3 85.9 91.6 66.8 72.1 81.4 78.38 -3.8 -14.4
การส่งสินค้า 42.6 55.2 48.4 52.7 38.2 39.5 45 46.2 2.6 -12.4
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 207.4 185.6 193.8 162.3 133.5 150.8 172.8 168.8 -2.3 4
ISIC: 1912 การผลิตกระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก
การผลิต 81.6 56 33.6 37.5 79.2 89.8 27.7 35.81 29.1 -4.5
การส่งสินค้า 74.3 56.8 28.4 39.4 61.5 125.7 38 56.8 49.7 44.4
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 241.1 273.7 298 262.4 363 301.9 325.4 207.9 -36.1 -20.7
ISIC: 1920 การผลิตรองเท้า
การผลิต 127.3 109.9 107.3 102.9 113.4 98.5 104.9 106.6 1.6 3.5
การส่งสินค้า 125.1 110.4 105.5 100.2 108.1 97.2 103.4 113.6 9.9 13.4
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 71.2 57.6 55.8 68.6 93.4 73.8 88.6 94.82 7 38.2
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
2. การตลาด
การส่งออก
- รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 240.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550
มีมูลค่าการส่งออก 242.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 0.7 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าหนัง และรองเท้าอื่นๆ ลดลงร้อยละ 8.1 และ 24.1
ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น คือ รองเท้ากีฬา, รองเท้าแตะ และส่วนประกอบของรองเท้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9, 7.3 และ
11.1 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมีมูลค่าส่งออก 224.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.0 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้า
กีฬา รองเท้าแตะ และรองเท้าอื่นๆ ลดลงร้อยละ 6.7, 5.1 และ 4.5 ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นคือ รองเท้าหนัง และส่วนประกอบของ
รองเท้า
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ เดนมาร์ก เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.8 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยียม และ
เดนมาร์ก มีสัดส่วนร้อยละ 24.9, 9.6 และ 9.2 ตามลำดับ
- เครื่องใช้สำหรับเดินทาง ไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 มีมูลค่าส่งออก 57.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550
มูลค่าการส่งออก 61.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งลดลงร้อยละ 6.1 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ คือ กระเป๋าเดินทาง และเครื่องเดินทางอื่นๆ ลดลงร้อยละ
6.7 และ 13.2 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือ และกระเป๋าใส่เศษสตางค์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.8 และ 4.0 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมีมูลค่าส่งออก 57.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือ
และเครื่องเดินทางอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.3 และ 41.2 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลงคือ กระเป๋าเดินทาง และ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ ลดลงร้อยละ
16.0 และ 31.3 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น และสวิตเซอร์แลนด์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3, 20.0 และ 9.4
ตามลำดับ โดยแต่ละประเทศมีสัดส่วนร้อยละ 22.7, 14.2 และ 12.6 ตามลำดับ
- หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 มีมูลค่าส่งออก 138.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3
ของปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 124.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นคือ หนังโคกระบือฟอก, ของเล่นสำหรับสัตว์
เลี้ยง, ถุงมือหนัง และ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 34.8, 4.6, 12.2 และ 0.2 ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ เครื่องแต่ง
กายและเข็มขัด ลดลงร้อยละ 16.9
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมีมูลค่าส่งออก 124.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนัง
โคกระบือฟอก, เครื่องแต่งกายและเข็มขัด และหนัง ผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.1, 24.5 และ 25.6 ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ
ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง และถุงมือหนัง ตลาดส่งออกสำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ฮ่องกง, จีน และเวียดนาม เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.5, 67.3 และ 29.0
ตามลำดับ โดยมีสัดส่วนตลาด ร้อยละ 28.1, 13.8 และ12.4 ตามลำดับ
ตารางที่ 2: โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ ปี 2549 ปี 2550 %อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(50)/ Q3(50) Q4(50)/Q4(49)
รองเท้าและชิ้นส่วน 226.5 227.4 247.1 224.5 243.8 251.2 242 240.2 -0.7 7
รองเท้ากีฬา 136 144.2 130.7 132.9 122.3 133.9 116 124 6.9 -6.7
รองเท้าแตะ 19.4 18.3 19.3 21.1 23.2 25.5 18.7 20.1 7.3 -5.1
รองเท้าหนัง 48.5 48.6 78.6 50.9 70.1 63.2 82.5 75.8 -8.1 49.1
รองเท้าอื่นๆ 18.7 13 14.8 16.2 23.4 23.6 20.4 15.5 -24.1 -4.5
ส่วนประกอบของรองเท้า 3.8 3.4 3.6 3.4 4.8 4.9 4.4 4.9 11.1 42.4
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 48.1 49.4 52.7 51.2 54.6 56.3 61.3 57.5 -6.1 12.3
กระเป๋าเดินทาง 17.7 19 18.8 18.5 17.2 23.5 16.6 15.5 -6.7 -16
กระเป๋าถือ 8.8 9.2 10.9 10.2 10.7 8.9 13.6 14.4 5.8 41.3
กระเป๋าใส่เศษสตางค์ 5.5 4.8 5.2 5.8 5.4 5.7 3.8 4 4 -31.3
เครื่องเดินทางอื่น ๆ 16.2 16.4 17.7 16.7 21.3 18.1 27.2 23.6 -13.2 41.2
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด 108.4 108.5 110.2 123.9 132.5 142.9 124.8 138.3 10.8 11.6
หนังโคกระบือฟอก 37.5 37.7 36.8 44.2 52 54.5 34.8 46.9 34.8 6.1
ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง 8 6.8 8.4 7.4 3.3 2.8 4.6 4.8 4.6 -34.8
ถุงมือหนัง 17.2 12.3 11.5 12.6 14.9 11.3 10.3 11.6 12.2 -8.2
เครื่องแต่งกายและเข็มขัด 1.2 1.1 1.1 0.8 1.2 1.1 1.2 1 -16.9 24.5
หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ 44.4 50.7 52.5 58.9 61.1 73.2 73.8 74 0.2 25.6
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การนำเข้า
- หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 150.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับ ไตรมาสที่ 3 ปี 2550 มี
มูลค่าการนำเข้า 155.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมีมูลค่าการนำเข้า 124.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.7 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอาร์เจนตินา มีสัดส่วนร้อยละ 16.2, 9.9 และ 8.5 ตามลำดับ
- รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 41.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า
41.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 2.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ที่มีมูลค่าการนำเข้า 28.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ
45.2 แหล่งนำเข้า คือ จีน อินโดนีเซีย และเวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 57.2, 8.7 และ 5.1 ตามลำดับ
- กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 28.7ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า
28.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ที่มีมูลค่าการนำเข้า 18.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อย
ละ 56.4 แหล่งนำเข้า คือ จีน อิตาลี และฝรั่งเศส โดยมีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 45.7, 19.4 และ 15.4 ตามลำดับ
ตารางที่ 3: โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ ปี 2549 ปี 2550 %อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(50)/ Q3(50) Q4(50)/Q4(49)
หนังดิบและหนังฟอก 108 113.6 128 124.9 129.9 135.3 155.5 150.7 -3.1 20.7
รองเท้า 24 27.6 29.9 28.2 33.2 39.9 41.8 41 -2 45.2
รองเท้ากีฬา 4.9 4.1 4.7 5.1 4.7 5.1 4.2 3.6 -14.9 -30.1
รองเท้าหนัง 4.4 4.3 5.1 4 5.4 7.1 6 5 -16.1 24.8
รองเท้าทำด้วยยางหรือพลาสติก 3.7 3.9 4.2 5.2 5.1 7.4 7.1 8.4 18 59.5
รองเท้าอื่น ๆ 11.1 15.2 15.9 13.8 17.9 20.3 24.5 24 -2.1 73.4
กระเป๋า 19.4 16.7 24.1 18.3 24.6 25 28.1 28.7 2 56.4
กระเป๋าเดินทาง 4.7 5.4 6.7 5.9 6 7.8 7.9 10.1 28 71.5
กระเป๋าถือและกระเป๋าอื่น ๆ 14.8 11.3 17.4 12.4 18.6 17.3 20.2 18.6 -8.2 49.2
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทย ภาวะการผลิตรองเท้าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อน แต่มูลค่าการส่งออกลดลงในไตรมาสที่ 4
เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ถึงอย่างไรก็ตามมูลค่าการส่งออกรองเท้าและชิ้นส่วนโดยรวมทั้งปี 2550 ก็ยังมีอัตราที่เพิ่มขึ้น แนวโน้มของรองเท้าหนัง
รองเท้าแตะ และ รองเท้าอื่นๆ ในปี 2551 คาดว่าจะมีอัตราที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการเปิดตลาดในประเทศใหม่ๆ และประเทศไทยมีศักยภาพในด้านการ
ออกแบบ และเป็นที่ยอมรับจากลูกค้าในเรื่องของคุณภาพ ส่วนรองเท้ากีฬามีแนวโน้มลดลง แต่อัตราการเติบโตโดยรวมของรองเท้าคาดว่าจะต่ำกว่าใน
ปี 2550 ประมาณร้อยละ 3-4 เนื่องจากปัญหาค่าเงินบาทและผลกระทบจากวิกฤตตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัยลูกหนี้คุณภาพต่ำของสหรัฐอเมริกา
ภาวะการผลิตหนังฟอกในไตรมาสที่ 4 ลดลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากดัชนีการผลิตลดลง ถึงอย่างไรก็ตามมูลค่าการส่งออกโดยรวมทั้ง
ปี 2550 ยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศจีนและเวียดนาม และการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกในปี 2551 ทำให้
ปริมาณการส่งออกไปยังประเทศจีนเติบโตค่อนข้างมาก
หนังดิบและหนังฟอกที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นหนังกึ่งสำเร็จรูปและสินค้าสำเร็จรูปแล้วส่งออกมีมูลค่าการนำเข้าในไตรมาสที่ 4 ปี
2550 ลดลงจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 3.1 ซึ่งสอดคล้องกับดัชนีการผลิตที่ลดลงในไตรมาสที่ 4 แต่แนวโน้มการนำเข้าหนังดิบและหนังฟอกยังคงขยาย
ตัวอย่างต่อเนื่องในปี 2551 ตามสัดส่วนการขยายตัวของการผลิตและการส่งออก ส่วนการนำเข้าของไทยในส่วนของสินค้าสำเร็จรูปประเภทกระเป๋าที่
เป็นสินค้าแฟชั่นและสินค้าราคาถูกยังมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งแหล่งนำเข้าที่สำคัญโดยมีสัดส่วนมากที่สุดและขยายตัวอย่างต่อเนื่องได้แก่ จีน
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
4.7, 13.8 และ 19.3 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ตลาดส่งออกหลักของสินค้ารองเท้าปี 2550 คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยียม และเดนมาร์ก
และตลาดส่งออกสินค้าเครื่องหนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอก คือ ฮ่องกง จีน และเวียดนาม
1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 ดัชนีการผลิตอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีการผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 มีปริมาณการผลิตลด
ลงร้อยละ 3.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 14.4 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับไตร
มาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 12.4 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 2.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี
ก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0
- การผลิตกระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก ดัชนีการผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 เทียบ
กับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 4.5 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบ
กับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 49.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.4 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาส
ก่อนลดลงร้อยละ 36.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 20.7
- การผลิตรองเท้า ดัชนีการผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของ
ปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 38.2
ตารางที่ 1: แสดงดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ ปี 2549 ปี 2550 %อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(50) Q4(50)
/Q3(50) /Q4(49)
ISIC: 1911 การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก
การผลิต 72.8 98.3 85.9 91.6 66.8 72.1 81.4 78.38 -3.8 -14.4
การส่งสินค้า 42.6 55.2 48.4 52.7 38.2 39.5 45 46.2 2.6 -12.4
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 207.4 185.6 193.8 162.3 133.5 150.8 172.8 168.8 -2.3 4
ISIC: 1912 การผลิตกระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก
การผลิต 81.6 56 33.6 37.5 79.2 89.8 27.7 35.81 29.1 -4.5
การส่งสินค้า 74.3 56.8 28.4 39.4 61.5 125.7 38 56.8 49.7 44.4
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 241.1 273.7 298 262.4 363 301.9 325.4 207.9 -36.1 -20.7
ISIC: 1920 การผลิตรองเท้า
การผลิต 127.3 109.9 107.3 102.9 113.4 98.5 104.9 106.6 1.6 3.5
การส่งสินค้า 125.1 110.4 105.5 100.2 108.1 97.2 103.4 113.6 9.9 13.4
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 71.2 57.6 55.8 68.6 93.4 73.8 88.6 94.82 7 38.2
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
2. การตลาด
การส่งออก
- รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 240.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550
มีมูลค่าการส่งออก 242.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 0.7 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าหนัง และรองเท้าอื่นๆ ลดลงร้อยละ 8.1 และ 24.1
ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น คือ รองเท้ากีฬา, รองเท้าแตะ และส่วนประกอบของรองเท้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9, 7.3 และ
11.1 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมีมูลค่าส่งออก 224.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.0 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้า
กีฬา รองเท้าแตะ และรองเท้าอื่นๆ ลดลงร้อยละ 6.7, 5.1 และ 4.5 ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นคือ รองเท้าหนัง และส่วนประกอบของ
รองเท้า
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ เดนมาร์ก เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.8 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยียม และ
เดนมาร์ก มีสัดส่วนร้อยละ 24.9, 9.6 และ 9.2 ตามลำดับ
- เครื่องใช้สำหรับเดินทาง ไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 มีมูลค่าส่งออก 57.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2550
มูลค่าการส่งออก 61.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งลดลงร้อยละ 6.1 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ คือ กระเป๋าเดินทาง และเครื่องเดินทางอื่นๆ ลดลงร้อยละ
6.7 และ 13.2 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือ และกระเป๋าใส่เศษสตางค์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.8 และ 4.0 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมีมูลค่าส่งออก 57.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือ
และเครื่องเดินทางอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.3 และ 41.2 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลงคือ กระเป๋าเดินทาง และ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ ลดลงร้อยละ
16.0 และ 31.3 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น และสวิตเซอร์แลนด์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3, 20.0 และ 9.4
ตามลำดับ โดยแต่ละประเทศมีสัดส่วนร้อยละ 22.7, 14.2 และ 12.6 ตามลำดับ
- หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 มีมูลค่าส่งออก 138.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3
ของปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 124.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นคือ หนังโคกระบือฟอก, ของเล่นสำหรับสัตว์
เลี้ยง, ถุงมือหนัง และ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 34.8, 4.6, 12.2 และ 0.2 ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ เครื่องแต่ง
กายและเข็มขัด ลดลงร้อยละ 16.9
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมีมูลค่าส่งออก 124.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนัง
โคกระบือฟอก, เครื่องแต่งกายและเข็มขัด และหนัง ผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.1, 24.5 และ 25.6 ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ
ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง และถุงมือหนัง ตลาดส่งออกสำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ฮ่องกง, จีน และเวียดนาม เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.5, 67.3 และ 29.0
ตามลำดับ โดยมีสัดส่วนตลาด ร้อยละ 28.1, 13.8 และ12.4 ตามลำดับ
ตารางที่ 2: โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ ปี 2549 ปี 2550 %อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(50)/ Q3(50) Q4(50)/Q4(49)
รองเท้าและชิ้นส่วน 226.5 227.4 247.1 224.5 243.8 251.2 242 240.2 -0.7 7
รองเท้ากีฬา 136 144.2 130.7 132.9 122.3 133.9 116 124 6.9 -6.7
รองเท้าแตะ 19.4 18.3 19.3 21.1 23.2 25.5 18.7 20.1 7.3 -5.1
รองเท้าหนัง 48.5 48.6 78.6 50.9 70.1 63.2 82.5 75.8 -8.1 49.1
รองเท้าอื่นๆ 18.7 13 14.8 16.2 23.4 23.6 20.4 15.5 -24.1 -4.5
ส่วนประกอบของรองเท้า 3.8 3.4 3.6 3.4 4.8 4.9 4.4 4.9 11.1 42.4
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 48.1 49.4 52.7 51.2 54.6 56.3 61.3 57.5 -6.1 12.3
กระเป๋าเดินทาง 17.7 19 18.8 18.5 17.2 23.5 16.6 15.5 -6.7 -16
กระเป๋าถือ 8.8 9.2 10.9 10.2 10.7 8.9 13.6 14.4 5.8 41.3
กระเป๋าใส่เศษสตางค์ 5.5 4.8 5.2 5.8 5.4 5.7 3.8 4 4 -31.3
เครื่องเดินทางอื่น ๆ 16.2 16.4 17.7 16.7 21.3 18.1 27.2 23.6 -13.2 41.2
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด 108.4 108.5 110.2 123.9 132.5 142.9 124.8 138.3 10.8 11.6
หนังโคกระบือฟอก 37.5 37.7 36.8 44.2 52 54.5 34.8 46.9 34.8 6.1
ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง 8 6.8 8.4 7.4 3.3 2.8 4.6 4.8 4.6 -34.8
ถุงมือหนัง 17.2 12.3 11.5 12.6 14.9 11.3 10.3 11.6 12.2 -8.2
เครื่องแต่งกายและเข็มขัด 1.2 1.1 1.1 0.8 1.2 1.1 1.2 1 -16.9 24.5
หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ 44.4 50.7 52.5 58.9 61.1 73.2 73.8 74 0.2 25.6
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การนำเข้า
- หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 150.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับ ไตรมาสที่ 3 ปี 2550 มี
มูลค่าการนำเข้า 155.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมีมูลค่าการนำเข้า 124.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.7 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอาร์เจนตินา มีสัดส่วนร้อยละ 16.2, 9.9 และ 8.5 ตามลำดับ
- รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 41.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า
41.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 2.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ที่มีมูลค่าการนำเข้า 28.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ
45.2 แหล่งนำเข้า คือ จีน อินโดนีเซีย และเวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 57.2, 8.7 และ 5.1 ตามลำดับ
- กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 28.7ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า
28.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ที่มีมูลค่าการนำเข้า 18.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อย
ละ 56.4 แหล่งนำเข้า คือ จีน อิตาลี และฝรั่งเศส โดยมีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 45.7, 19.4 และ 15.4 ตามลำดับ
ตารางที่ 3: โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ ปี 2549 ปี 2550 %อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(50)/ Q3(50) Q4(50)/Q4(49)
หนังดิบและหนังฟอก 108 113.6 128 124.9 129.9 135.3 155.5 150.7 -3.1 20.7
รองเท้า 24 27.6 29.9 28.2 33.2 39.9 41.8 41 -2 45.2
รองเท้ากีฬา 4.9 4.1 4.7 5.1 4.7 5.1 4.2 3.6 -14.9 -30.1
รองเท้าหนัง 4.4 4.3 5.1 4 5.4 7.1 6 5 -16.1 24.8
รองเท้าทำด้วยยางหรือพลาสติก 3.7 3.9 4.2 5.2 5.1 7.4 7.1 8.4 18 59.5
รองเท้าอื่น ๆ 11.1 15.2 15.9 13.8 17.9 20.3 24.5 24 -2.1 73.4
กระเป๋า 19.4 16.7 24.1 18.3 24.6 25 28.1 28.7 2 56.4
กระเป๋าเดินทาง 4.7 5.4 6.7 5.9 6 7.8 7.9 10.1 28 71.5
กระเป๋าถือและกระเป๋าอื่น ๆ 14.8 11.3 17.4 12.4 18.6 17.3 20.2 18.6 -8.2 49.2
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทย ภาวะการผลิตรองเท้าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อน แต่มูลค่าการส่งออกลดลงในไตรมาสที่ 4
เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ถึงอย่างไรก็ตามมูลค่าการส่งออกรองเท้าและชิ้นส่วนโดยรวมทั้งปี 2550 ก็ยังมีอัตราที่เพิ่มขึ้น แนวโน้มของรองเท้าหนัง
รองเท้าแตะ และ รองเท้าอื่นๆ ในปี 2551 คาดว่าจะมีอัตราที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการเปิดตลาดในประเทศใหม่ๆ และประเทศไทยมีศักยภาพในด้านการ
ออกแบบ และเป็นที่ยอมรับจากลูกค้าในเรื่องของคุณภาพ ส่วนรองเท้ากีฬามีแนวโน้มลดลง แต่อัตราการเติบโตโดยรวมของรองเท้าคาดว่าจะต่ำกว่าใน
ปี 2550 ประมาณร้อยละ 3-4 เนื่องจากปัญหาค่าเงินบาทและผลกระทบจากวิกฤตตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัยลูกหนี้คุณภาพต่ำของสหรัฐอเมริกา
ภาวะการผลิตหนังฟอกในไตรมาสที่ 4 ลดลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากดัชนีการผลิตลดลง ถึงอย่างไรก็ตามมูลค่าการส่งออกโดยรวมทั้ง
ปี 2550 ยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศจีนและเวียดนาม และการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกในปี 2551 ทำให้
ปริมาณการส่งออกไปยังประเทศจีนเติบโตค่อนข้างมาก
หนังดิบและหนังฟอกที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นหนังกึ่งสำเร็จรูปและสินค้าสำเร็จรูปแล้วส่งออกมีมูลค่าการนำเข้าในไตรมาสที่ 4 ปี
2550 ลดลงจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 3.1 ซึ่งสอดคล้องกับดัชนีการผลิตที่ลดลงในไตรมาสที่ 4 แต่แนวโน้มการนำเข้าหนังดิบและหนังฟอกยังคงขยาย
ตัวอย่างต่อเนื่องในปี 2551 ตามสัดส่วนการขยายตัวของการผลิตและการส่งออก ส่วนการนำเข้าของไทยในส่วนของสินค้าสำเร็จรูปประเภทกระเป๋าที่
เป็นสินค้าแฟชั่นและสินค้าราคาถูกยังมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งแหล่งนำเข้าที่สำคัญโดยมีสัดส่วนมากที่สุดและขยายตัวอย่างต่อเนื่องได้แก่ จีน
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-