การผลิตและการจำหน่าย
การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณและของที่เกี่ยวข้องกัน ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 (ดูตารางที่ 1 ประกอบ) เมื่อพิจารณาจากดัชนี
อุตสาหกรรมเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน ดัชนีการผลิตและดัชนีการจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.37 และ 10.77 และดัชนี
สินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 6.42 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน แต่ดัชนีการผลิต และดัชนีการจำหน่าย เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.01 และ 3.96 และดัชนี
สินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 1.05 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
การตลาด
การส่งออก
ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 (ดูตารางที่ 2 ประกอบ) ไทยส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 1,885.18 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 17.34 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 93.58 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลจากการส่ง
ออกเครื่องประดับแท้ที่มีมูลค่า 790.03 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเป็นผลจากการส่งออกทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่มีมูลค่า 598.35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ผลิตภัณฑ์สำคัญๆ ได้แก่
1. อัญมณี ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 349.29 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 8.95 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ อิสราเอล ฮ่องกง และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
20.64, 17.63และ 17.25 ตามลำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์อัญมณีที่สำคัญมีดังนี้
1.1 เพชร ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 252.79 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 2.92 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.30 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ อิสราเอล เบลเยี่ยม และฮ่องกง คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 28.37, 23.64และ 14.73 ตามลำดับ
1.2 พลอย ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 92.53 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 20.64 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.18 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และอินเดีย คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 27.17, 25.01 และ 10.36 ตามลำดับ
2. เครื่องประดับแท้ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 790.03 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 42.30 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.86 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และเยอรมนี คิด
เป็นสัดส่วนร้อยละ 40.92, 10.94 และ 5.45 ตามลำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์เครื่องประดับแท้ที่สำคัญมีดังนี้
2.1 ทำด้วยเงิน ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 267.28 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 39.54 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 57.72 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และ
เยอรมนี คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 48.92, 8.57 และ 7.14 ตามลำดับ
2.2 ทำด้วยทอง ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 492.81 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.65 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 43.57 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และ
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 38.06, 11.62 และ 7.90 ตามลำดับ
3. เครื่องประดับอัญมณีเทียม ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 44.72ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 8.92 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.47 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส คิด
เป็นสัดส่วนร้อยละ 43.23, 24.00 และ 8.33 ตามลำดับ
4. อัญมณีสังเคราะห์ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 55.46 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 126.83 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 339.46 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ตุรกี ฮ่องกง และออสเตรีย คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 74.01, 9.00 และ 5.34 ตามลำดับ
5. ทองคำที่ยังไม่ได้ขึ้นรูป ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 598.35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.78 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 545.68 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 36.17, 34.99 และ 1.91 ตามลำดับ
การนำเข้า
1. เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 (ดูตารางที่ 3 ประกอบ) มีมูลค่าการนำเข้า 944.87 ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 15.90 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนแต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน วัตถุดิบสำคัญ ได้แก่
1.1 เพชร ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 348.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 11.29 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.54 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ อินเดีย อิสราเอล และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 23.96, 21.41 และ 15.83 ตามลำดับ
1.2 พลอย ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 55.64 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 12.60 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.43 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง อินเดีย และสหรัฐอเมริกา คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 31.10, 19.40 และ 16.23 ตามลำดับ
1.3 ทองคำ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 295.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 33.72 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 32.58 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย และฮ่องกง คิด
เป็นสัดส่วนร้อยละ 27.53, 26.12 และ 10.30 ตามลำดับ
1.4 เงิน ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 150.98 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.54 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.37 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ และโปแลนด์ คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 58.99, 8.03 และ 6.37 ตามลำดับ
1.5 โลหะมีค่าและโลหะอื่นๆ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 62.49 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ
8.29 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 54.53 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น ฮ่องกง และเยอรมนี
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 93.31, 1.74 และ 1.51 ตามลำดับ
โดยการนำเข้าเพชร พลอย ทองคำ เงิน โลหะมีค่าและโลหะอื่นๆ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 96.73 ของการนำเข้าวัตถุดิบทั้งหมด
2. เครื่องประดับอัญมณี ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าทั้งสิ้น 82.00 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.60 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 72.67 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ผลิตภัณฑ์สำคัญๆ ได้แก่
2.1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 76.27ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ
40.43 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 76.43 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ อิตาลี ฮ่องกง และสหรัฐ
อเมริกา คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.89, 7.14 และ 7.11 ตามลำดับ
2.2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 5.73ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ
0.17 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.51 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส และเยอรมนี
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 22.99, 19.91 และ 8.66 ตามลำดับ
สรุปและแนวโน้ม
ภาพรวมอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 ด้านการผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.37 และการจำหน่ายได้
ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.77 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนด้านการส่งออกมีการขยายตัวอย่างสูงมากคือ เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 17.34 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน ผลิตภัณฑ์เครื่องประดับแท้เป็นผลิตภัณฑ์หลักที่มีผลต่อมูลค่าการส่งออกในทางบวก คือ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 42.30 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และขยายตัวร้อยละ 50.86 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเครื่องประดับแท้มีสัดส่วนการส่งออกสูงถึงร้อยละ 41.91 ของการส่งออกอัญมณีและ
เครื่องประดับทั้งหมด หากไม่นับทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่เป็นสินค้าวัตถุดิบ ส่วนการนำเข้าสินค้าซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบในไตรมาสนี้ได้ลดลงร้อยละ
15.90 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผ่านมา และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
แนวโน้มภาพรวมการส่งออกในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 จากการที่แนวโน้มราคาทองคำในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นแตะระดับ 900 ดอลลาร์
สหรัฐฯ ต่อออนซ์ จะเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการส่งออกเครื่องประดับแท้ที่ทำด้วยทอง เนื่องจากผู้นำเข้าจะชะลอการสั่งซื้อเพื่อดูทิศทางราคาทองคำว่าจะ
ปรับตัวสูงขึ้นหรือลดลง อย่างไรก็ดีหากปัญหาการปล่อยสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพ (Sub prime) ที่สหรัฐอเมริกาเผชิญอยู่ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่
ไม่ยุติลงโดยเร็ว อาจส่งผลให้ผู้บริโภคในสหรัฐอเมริกามีความกังวลและมีการใช้จ่ายอย่างระวังมากขึ้น ซึ่งในสถานการณ์นี้สินค้าฟุ่มเฟือยจะถูกพิจารณา
เป็นหมวดแรกที่จะถูกลดการบริโภคลง และที่สำคัญสหรัฐอเมริกาเป็นตลาดหลักในการส่งออกของไทย อย่างไรก็ตามการหาตลาดใหม่ๆ และผลจาก
JTEPA จะเป็นปัจจัยสนับสนุน ดังนั้นคาดว่าแนวโน้มการส่งออกในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 จะลดลงบ้างเล็กน้อยเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2550
ตารางที่ 1 การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน
ดัชนี 2549 2550 อัตราการขยายตัว(%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(50)/ Q4(50)/
Q3(50) Q4(49)
ผลผลิต 60.8 66.3 69.2 84 69 56.7 74.2 84.9 14.37 1.01
ส่งสินค้า 64.9 67 73.9 84 69.7 59.7 78.7 87.2 10.77 3.96
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 92.3 89.6 95 92 98.9 98.3 97.8 91.5 -6.42 -1.05
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ฐานเฉลี่ย ปี 2543
และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
ตารางที่ 2 มูลค่าการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ
รายการ ------------------------- มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ------------------------------ อัตราการขยายตัว(%)
2549 2550 Q4(50) เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q3(50) Q4(49)
อัญมณีและเครื่องประดับ 902.53 904.89 887.03 973.84 1033.77 856.94 1606.61 1885.18 17.34 93.58
1 อัญมณี 300.63 263.8 302.06 278.71 309.47 293.5 383.61 349.29 -8.95 25.32
(1) เพชร 231.15 201.1 220.81 208.4 218.17 219.29 260.4 252.79 -2.92 21.3
(2) พลอย 66.01 56.24 76.31 69.48 89.18 73.06 116.6 92.53 -20.64 33.18
(3) ไข่มุก 3.47 6.47 4.92 0.83 2.12 1.15 6.61 3.97 -39.94 378.31
2 เครื่องประดับแท้ 369.57 366.52 478.79 523.68 366.84 395.62 555.17 790.03 42.3 50.86
(1) ทำด้วยเงิน 116.98 129.56 153.55 169.47 152.91 175.09 191.54 267.28 39.54 57.72
(2) ทำด้วยทอง 243.09 226.86 314.21 343.26 186 192.96 343.06 492.81 43.65 43.57
(3) ทำด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 9.5 10.08 11.03 10.96 27.93 27.57 20.57 29.94 45.55 173.18
3 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 32.64 40.6 42.69 44.07 43.47 42.05 49.1 44.72 -8.92 1.47
4 อัญมณีสังเคราะห์ 3.6 12.84 12.92 12.62 12.35 12.3 24.45 55.46 126.83 339.46
5 ทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูป 173.74 206.91 34.96 92.67 274.57 80.02 560.37 598.35 6.78 545.68
6 โลหะมีค่าและของที่หุ้มด้วยโลหะมีค่าอื่นๆ 22.35 14.22 15.61 22.09 27.07 33.45 33.91 47.33 39.58 114.26
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
ตารางที่ 3 มูลค่าการนำเข้าเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว:(%)
2549 2550 Q4 (50)เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q3(50) Q4(49)
เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ 961.65 1027.19 969.73 932.26 903.67 1145.59 1123.52 944.87 -15.9 1.35
1 เพชร 371.81 303.76 308.25 291.91 339.08 320.05 393.35 348.95 -11.3 19.54
2 พลอย 43.62 35.82 46.74 42.66 63.91 42.04 63.66 55.64 -12.6 30.43
3 อัญมณีสังเคราะห์ 8.11 8.85 9.94 9.52 7.57 14.63 19.03 20.48 7.62 115.1
4 ไข่มุก 6.22 2.78 3.59 2.74 6.24 2.97 6 4.63 -22.8 68.98
5 ทองคำ 405.18 551.36 481.14 438.87 325.64 568.34 446.43 295.89 -33.7 -32.58
6 เงิน 98.72 93.83 80.28 102.45 103.96 134.21 120.26 150.98 25.54 47.37
7 แพลทินัม 7.44 5.16 7.46 3.67 5.87 4.72 6.65 5.81 -12.6 58.31
8 โลหะมีค่า และโลหะอื่น ๆ 20.55 25.63 32.33 40.44 51.4 58.63 68.14 62.49 -8.29 54.53
เครื่องประดับอัญมณี 64.3 49.85 62.5 47.49 52.9 60.22 60.03 82 36.6 72.67
1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ 59.9 45.67 57.65 43.23 48.06 54.82 54.31 76.27 40.43 76.43
2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 4.4 4.18 4.85 4.26 4.84 5.4 5.72 5.73 0.17 34.51
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณและของที่เกี่ยวข้องกัน ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 (ดูตารางที่ 1 ประกอบ) เมื่อพิจารณาจากดัชนี
อุตสาหกรรมเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน ดัชนีการผลิตและดัชนีการจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.37 และ 10.77 และดัชนี
สินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 6.42 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน แต่ดัชนีการผลิต และดัชนีการจำหน่าย เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.01 และ 3.96 และดัชนี
สินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 1.05 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
การตลาด
การส่งออก
ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 (ดูตารางที่ 2 ประกอบ) ไทยส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 1,885.18 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 17.34 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 93.58 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลจากการส่ง
ออกเครื่องประดับแท้ที่มีมูลค่า 790.03 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเป็นผลจากการส่งออกทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่มีมูลค่า 598.35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ผลิตภัณฑ์สำคัญๆ ได้แก่
1. อัญมณี ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 349.29 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 8.95 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ อิสราเอล ฮ่องกง และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
20.64, 17.63และ 17.25 ตามลำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์อัญมณีที่สำคัญมีดังนี้
1.1 เพชร ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 252.79 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 2.92 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.30 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ อิสราเอล เบลเยี่ยม และฮ่องกง คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 28.37, 23.64และ 14.73 ตามลำดับ
1.2 พลอย ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 92.53 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 20.64 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.18 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และอินเดีย คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 27.17, 25.01 และ 10.36 ตามลำดับ
2. เครื่องประดับแท้ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 790.03 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 42.30 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.86 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และเยอรมนี คิด
เป็นสัดส่วนร้อยละ 40.92, 10.94 และ 5.45 ตามลำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์เครื่องประดับแท้ที่สำคัญมีดังนี้
2.1 ทำด้วยเงิน ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 267.28 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 39.54 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 57.72 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และ
เยอรมนี คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 48.92, 8.57 และ 7.14 ตามลำดับ
2.2 ทำด้วยทอง ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 492.81 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.65 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 43.57 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และ
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 38.06, 11.62 และ 7.90 ตามลำดับ
3. เครื่องประดับอัญมณีเทียม ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 44.72ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 8.92 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.47 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส คิด
เป็นสัดส่วนร้อยละ 43.23, 24.00 และ 8.33 ตามลำดับ
4. อัญมณีสังเคราะห์ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 55.46 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 126.83 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 339.46 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ตุรกี ฮ่องกง และออสเตรีย คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 74.01, 9.00 และ 5.34 ตามลำดับ
5. ทองคำที่ยังไม่ได้ขึ้นรูป ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการส่งออก 598.35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.78 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 545.68 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 36.17, 34.99 และ 1.91 ตามลำดับ
การนำเข้า
1. เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 (ดูตารางที่ 3 ประกอบ) มีมูลค่าการนำเข้า 944.87 ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 15.90 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนแต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน วัตถุดิบสำคัญ ได้แก่
1.1 เพชร ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 348.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 11.29 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.54 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ อินเดีย อิสราเอล และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 23.96, 21.41 และ 15.83 ตามลำดับ
1.2 พลอย ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 55.64 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 12.60 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.43 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง อินเดีย และสหรัฐอเมริกา คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 31.10, 19.40 และ 16.23 ตามลำดับ
1.3 ทองคำ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 295.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 33.72 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 32.58 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย และฮ่องกง คิด
เป็นสัดส่วนร้อยละ 27.53, 26.12 และ 10.30 ตามลำดับ
1.4 เงิน ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 150.98 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.54 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.37 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ และโปแลนด์ คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 58.99, 8.03 และ 6.37 ตามลำดับ
1.5 โลหะมีค่าและโลหะอื่นๆ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 62.49 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ
8.29 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 54.53 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น ฮ่องกง และเยอรมนี
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 93.31, 1.74 และ 1.51 ตามลำดับ
โดยการนำเข้าเพชร พลอย ทองคำ เงิน โลหะมีค่าและโลหะอื่นๆ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 96.73 ของการนำเข้าวัตถุดิบทั้งหมด
2. เครื่องประดับอัญมณี ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าทั้งสิ้น 82.00 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.60 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 72.67 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ผลิตภัณฑ์สำคัญๆ ได้แก่
2.1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 76.27ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ
40.43 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 76.43 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ อิตาลี ฮ่องกง และสหรัฐ
อเมริกา คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.89, 7.14 และ 7.11 ตามลำดับ
2.2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม ในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 5.73ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ
0.17 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.51 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส และเยอรมนี
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 22.99, 19.91 และ 8.66 ตามลำดับ
สรุปและแนวโน้ม
ภาพรวมอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาสที่ 4 ปี 2550 ด้านการผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.37 และการจำหน่ายได้
ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.77 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนด้านการส่งออกมีการขยายตัวอย่างสูงมากคือ เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 17.34 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน ผลิตภัณฑ์เครื่องประดับแท้เป็นผลิตภัณฑ์หลักที่มีผลต่อมูลค่าการส่งออกในทางบวก คือ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 42.30 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และขยายตัวร้อยละ 50.86 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเครื่องประดับแท้มีสัดส่วนการส่งออกสูงถึงร้อยละ 41.91 ของการส่งออกอัญมณีและ
เครื่องประดับทั้งหมด หากไม่นับทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่เป็นสินค้าวัตถุดิบ ส่วนการนำเข้าสินค้าซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบในไตรมาสนี้ได้ลดลงร้อยละ
15.90 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผ่านมา และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
แนวโน้มภาพรวมการส่งออกในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 จากการที่แนวโน้มราคาทองคำในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นแตะระดับ 900 ดอลลาร์
สหรัฐฯ ต่อออนซ์ จะเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการส่งออกเครื่องประดับแท้ที่ทำด้วยทอง เนื่องจากผู้นำเข้าจะชะลอการสั่งซื้อเพื่อดูทิศทางราคาทองคำว่าจะ
ปรับตัวสูงขึ้นหรือลดลง อย่างไรก็ดีหากปัญหาการปล่อยสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพ (Sub prime) ที่สหรัฐอเมริกาเผชิญอยู่ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่
ไม่ยุติลงโดยเร็ว อาจส่งผลให้ผู้บริโภคในสหรัฐอเมริกามีความกังวลและมีการใช้จ่ายอย่างระวังมากขึ้น ซึ่งในสถานการณ์นี้สินค้าฟุ่มเฟือยจะถูกพิจารณา
เป็นหมวดแรกที่จะถูกลดการบริโภคลง และที่สำคัญสหรัฐอเมริกาเป็นตลาดหลักในการส่งออกของไทย อย่างไรก็ตามการหาตลาดใหม่ๆ และผลจาก
JTEPA จะเป็นปัจจัยสนับสนุน ดังนั้นคาดว่าแนวโน้มการส่งออกในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 จะลดลงบ้างเล็กน้อยเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2550
ตารางที่ 1 การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน
ดัชนี 2549 2550 อัตราการขยายตัว(%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(50)/ Q4(50)/
Q3(50) Q4(49)
ผลผลิต 60.8 66.3 69.2 84 69 56.7 74.2 84.9 14.37 1.01
ส่งสินค้า 64.9 67 73.9 84 69.7 59.7 78.7 87.2 10.77 3.96
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 92.3 89.6 95 92 98.9 98.3 97.8 91.5 -6.42 -1.05
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ฐานเฉลี่ย ปี 2543
และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
ตารางที่ 2 มูลค่าการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ
รายการ ------------------------- มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ------------------------------ อัตราการขยายตัว(%)
2549 2550 Q4(50) เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q3(50) Q4(49)
อัญมณีและเครื่องประดับ 902.53 904.89 887.03 973.84 1033.77 856.94 1606.61 1885.18 17.34 93.58
1 อัญมณี 300.63 263.8 302.06 278.71 309.47 293.5 383.61 349.29 -8.95 25.32
(1) เพชร 231.15 201.1 220.81 208.4 218.17 219.29 260.4 252.79 -2.92 21.3
(2) พลอย 66.01 56.24 76.31 69.48 89.18 73.06 116.6 92.53 -20.64 33.18
(3) ไข่มุก 3.47 6.47 4.92 0.83 2.12 1.15 6.61 3.97 -39.94 378.31
2 เครื่องประดับแท้ 369.57 366.52 478.79 523.68 366.84 395.62 555.17 790.03 42.3 50.86
(1) ทำด้วยเงิน 116.98 129.56 153.55 169.47 152.91 175.09 191.54 267.28 39.54 57.72
(2) ทำด้วยทอง 243.09 226.86 314.21 343.26 186 192.96 343.06 492.81 43.65 43.57
(3) ทำด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 9.5 10.08 11.03 10.96 27.93 27.57 20.57 29.94 45.55 173.18
3 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 32.64 40.6 42.69 44.07 43.47 42.05 49.1 44.72 -8.92 1.47
4 อัญมณีสังเคราะห์ 3.6 12.84 12.92 12.62 12.35 12.3 24.45 55.46 126.83 339.46
5 ทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูป 173.74 206.91 34.96 92.67 274.57 80.02 560.37 598.35 6.78 545.68
6 โลหะมีค่าและของที่หุ้มด้วยโลหะมีค่าอื่นๆ 22.35 14.22 15.61 22.09 27.07 33.45 33.91 47.33 39.58 114.26
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
ตารางที่ 3 มูลค่าการนำเข้าเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว:(%)
2549 2550 Q4 (50)เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q3(50) Q4(49)
เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ 961.65 1027.19 969.73 932.26 903.67 1145.59 1123.52 944.87 -15.9 1.35
1 เพชร 371.81 303.76 308.25 291.91 339.08 320.05 393.35 348.95 -11.3 19.54
2 พลอย 43.62 35.82 46.74 42.66 63.91 42.04 63.66 55.64 -12.6 30.43
3 อัญมณีสังเคราะห์ 8.11 8.85 9.94 9.52 7.57 14.63 19.03 20.48 7.62 115.1
4 ไข่มุก 6.22 2.78 3.59 2.74 6.24 2.97 6 4.63 -22.8 68.98
5 ทองคำ 405.18 551.36 481.14 438.87 325.64 568.34 446.43 295.89 -33.7 -32.58
6 เงิน 98.72 93.83 80.28 102.45 103.96 134.21 120.26 150.98 25.54 47.37
7 แพลทินัม 7.44 5.16 7.46 3.67 5.87 4.72 6.65 5.81 -12.6 58.31
8 โลหะมีค่า และโลหะอื่น ๆ 20.55 25.63 32.33 40.44 51.4 58.63 68.14 62.49 -8.29 54.53
เครื่องประดับอัญมณี 64.3 49.85 62.5 47.49 52.9 60.22 60.03 82 36.6 72.67
1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ 59.9 45.67 57.65 43.23 48.06 54.82 54.31 76.27 40.43 76.43
2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 4.4 4.18 4.85 4.26 4.84 5.4 5.72 5.73 0.17 34.51
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-