เดือนธันวาคม 2564 การส่งออกรวมมีมูลค่า 24,930.33 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 24.18 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เมื่อพิจารณาการส่งออกในหมวดสินค้าสาคัญพบว่า สินค้าเกษตรกรรม มีมูลค่า 2,229.85 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 21.12 สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร มีมูลค่า 1,713.92 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 24.11 ด้านสินค้าอุตสาหกรรม มีมูลค่า 20,090.83 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 24.0 สินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา) มีมูลค่า 19,850.90 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 23.95 โดยขยายตัวจากรถยนต์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ และเครื่องปรับอากาศ ภาพรวมปี 2564 การส่งออกรวมมีมูลค่า 271,173.51 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 17.07 และการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา อาวุธ รถถัง ยานรบหุ้มเกราะ และอากาศยานรบ) มีมูลค่า 209,861.31 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 24.71
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนธันวาคม 2564 ขยายตัวร้อยละ 6.83 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สูงสุดเป็นประวัติการณ์ฟื้นรับเศรษฐกิจโลกที่ดีขึ้นตามลาดับ โดยขยายตัวในอุตสาหกรรมรถยนต์ การกลั่นปิโตรเลียม และน้าตาล
ภาพรวมปี 2564 MPI ขยายตัวร้อยละ 5.93 เมื่อเทียบกับปีก่อน สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้ สาหรับแนวโน้ม ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.0-5.0 เมื่อเทียบกับปีก่อน ขานรับสัญญาณเชิงบวกตลอดปีที่ผ่านมา จากการส่งออกที่โตต่อเนื่อง การนาเข้าที่ขยายตัวทั้งสินค้าทุนและสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป ซึ่งเป็นปัจจัยสะท้อนการเตรียมความพร้อมรองรับการผลิตที่มีโอกาสปรับตัวเพิ่มขึ้นในระยะข้างหน้า
เดือนธันวาคม ปี 2564 การส่งออกรวมขยายตัวร้อยละ 24.18 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา) ขยายตัวร้อยละ 23.95 สาหรับการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา อาวุธ รถถัง ยานรบหุ้มเกราะ และอากาศยานรบ) ขยายตัวร้อยละ 23.56 เป็นการขยายตัวจากรถยนต์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ โดยขยายตัวในตลาดหลักทั้งสหรัฐอเมริกา อาเซียน (5) ออสเตรเลีย สหภาพยุโรป (27) จีน CLMV ตะวันออกกลาง (15) และอินเดีย มีเพียงญี่ปุ่นที่การส่งออกหดตัวลงเล็กน้อย
ภาพรวมปี 2564 การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคา อาวุธ รถถัง ยานรบหุ้มเกราะ และอากาศยานรบ) ขยายตัวร้อยละ 24.71 สินค้าที่ขยายตัว ได้แก่ รถยนต์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศ เม็ดพลาสติก และเคมีภัณฑ์ เป็นต้น นอกจากนี้ตลาดหลักทุกตลาดยังขยายตัวได้ดี อาทิ สหรัฐอเมริกา อาเซียน (5) สหภาพยุโรป (27) จีน อินเดีย CLMV ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น และตะวันออกกลาง (15)
สถานการณ์การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเดือนธันวาคมและภาพรวมปี 2564
อัตราการขยายตัวของตลาดส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่สาคัญของไทย (ไม่รวมทองคาแท่ง) ธันวาคม 2564
World +23.95%
หมายเหตุ : อาเซียน (5) ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไน
CLMV ได้แก่ กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม
ตะวันออกกลาง (15) ได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กาตาร์ คูเวต โอมาน บาห์เรน เลบานอน จอร์แดน ซีเรีย อิรัก เยเมน อิหร่าน ตุรกี ไซปรัส และอิสราเอล
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์ ประมวลผลโดยสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
EU (27) +18.58%
USA +38.30 %
เดือนธันวาคม 2564 การนาเข้ามีมูลค่ารวม 25,284.48 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 33.37 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยสินค้าเชื้อเพลิงมีมูลค่า 5,234.76 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 118.29 สินค้าทุนมีมูลค่า 5,542.20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 4.46 ขยายตัวจากเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ด้านสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป (ไม่รวมทองคา) มีมูลค่า 9,214.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 29.31 จากเคมีภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เหล็กและผลิตภัณฑ์ ภาพรวมปี 2564 การนาเข้ามีมูลค่า 267,600.34 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 29.80
สำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม Office of Industrial
JP -1.69 %
India +22.10%
AU +58.52%
CN +9.18 %
CLMV +11.13%
MidEast (15) +26.82%
Asean (5) +35.32%
การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่สาคัญ
ในเดือน ธ.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 4,224.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 20.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่การส่งออกขยายตัว เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และแผงวงจรไฟฟ้า ขยายตัวร้อยละ 28.6 และ 11.5 ตามลาดับ จากการส่งออกไปสหรัฐอเมริกา ฮ่องกง จีน ไต้หวัน และ อินเดีย
ภาพรวมการส่งออกเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 17.5 จากการส่งออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และจีน
ในเดือน ธ.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 3,,665.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 38.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ตามการส่งออกรถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบขยายตัวร้อยละ 45.0 โดยเฉพาะรถยนต์นั่งขยายตัวร้อยละ 47.3 ไปยังประเทศออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์ จีน สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ อิสราเอล เม็กซิโก
ภาพรวมการส่งออกยานยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ ปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 28.7 จากการส่งออกรถยนต์ ขยายตัวร้อยละ 40.0ไปยังประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ASEAN ASEAN (55) และเวียดนาม
ในเดือน ธ.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 2,579.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 16.7 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เครื่องไฟฟ้าที่การส่งออกขยายตัว เช่น เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ ขยายตัวร้อยละ 25.8 จากการส่งออกไปประเทศสหรัฐอเมริกา ไต้หวัน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
ภาพรวมการส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 20.3 จากการส่งออกเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ ขยายตัวร้อยละ 23.5 ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อินเดีย และสิงคโปร์
ในเดือน ธ.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 600.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 15.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน การส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มขยายตัวตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยสินค้าต้นน้าอย่างด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ขยายตัวร้อยละ 34.4 และสินค้ากลางน้าอย่างผ้าผืนขยายตัวร้อยละ 8.6 และสินค้าปลายน้าอย่างเสื้อผ้าสาเร็จรูปขยายตัวร้อยละ 24.1
ภาพรวมการส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 13.6 จากการส่งออกไปยังประเทศอินโดนีเซีย อินเดีย บังคลาเทศ และฮ่องกง
ในเดือน ธ.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 957.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 25.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ตามการส่งออกไปประเทศเวียดนาม อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา เมียนมา ทั้งนี้การส่งออกเม็ดพลาสติกในเดือน ธ.ค. 2564 เป็นการปรับเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและราคา โดยปริมาณการส่งออกเม็ดพลาสติกมีจานวน 579.2 ล้านกิโลกรัม ขยายตัวร้อยละ 1.7 และดัชนีราคาส่งออกเม็ดพลาสติกขยายตัวร้อยละ 5.9
ภาพรวมการส่งออกเม็ดพลาสติกปี 2564 มีมูลค่าการส่งออก 1111,24248.11 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 411.11 และการส่งออกในรูปปริมาณมีจานวน 7,058.4 ล้านกิโลกรัม ขยายตัวร้อยละ 4.7
ในเดือน ธ.ค. 2564 มีมูลค่าการส่งออก 5587.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 29.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากการส่งออกอัญมณีประเภทเพชรไปยังประเทศเวียดนาม ฮ่องกง และอินเดีย ในขณะที่การส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับมีมูลค่าการส่งออก 827.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 29.0 จากการส่งออกทองคาที่ยังไม่ได้ขึ้นรูปไปยังประเทศออสเตรเลีย CLMVCLMV
ภาพรวมการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคาแท่ง) ปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 26.5 จากการส่งออกไปยังประเทศ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป((2727))
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์
สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
เครื่องใช้ไฟฟ้า
ยานยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ
เม็ดพลาสติก
อัญมณีและเครื่องประดับ(ไม่รวมทองคาแท่ง)
ข้อมูลเพิ่มเติม : อัมพร สุวรรณรัตน์ และ ชุติมา ชุติเนตร กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โทร. 0-2430-6806 ต่อ 680610-611
อุตสาหกรรม
สำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม Office of Industrial EconomicsOffice of Industrial Economics
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม