สาขาอุตสาหกรรมสำคัญที่หดตัว
อุตสาหกรรม Hard Disk Drive ดัชนีผลผลิตหดตัวร้อยละ 41.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน เนื่องจากความต้องการใช้ในตลาดโลกลดลง รวมถึงการผลิตสินค้าที่มีความจุข้อมูล
สูงขึ้น จึงต้องใช้เวลาในการทดสอบนานขึ้น
อุตสาหกรรมการกลั่นปิโตรเลียม ดัชนีผลผลิตหดตัวร้อยละ 9.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ
ปีก่อน ภาวะการผลิตลดลงเนื่องจากปีนี้ผู้ประกอบการบางรายมีการหยุดซ่อมบำรุงโรงกลั่น
จึงทำให้กระทบต่อปริมาณการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงโดยเฉพาะน้ำมันดีเซลปรับตัวลดลง
อุตสาหกรรมเม็ดพลาสติก ดัชนีผลผลิตหดตัวร้อยละ 18.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปี
ก่อน เนื่องจากมีการหยุดซ่อมบำรุงของผู้ผลิต รวมถึงปรับลดการผลิตและจำหน่ายลงจาก
ความกังวลเรื่องภาวะเศรษฐกิจถดถอย ซึ่งส่งผลต่อกำลังซื้อ รวมทั้ง ปัญหา Over Supply จาก
การที่สหรัฐฯ ส่งออกมากมาตลาดเอเชียมากขึ้น เนื่องจากการบริโภคในสหรัฐฯ ที่ชะลอตัว
การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนตุลาคม 2565 โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมหดตัวร้อยละ 3.7 เมื่อเทียบกับ
เดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผลมาจากการชะลอตัวของอุตสาหกรรมสำคัญ อาทิ อุตสาหกรรม Hard Disk Drive
อุตสาหกรรมการกลั่นปิโตรเลียม และอุตสาหกรรมเม็ดพลาสติก ด้านอัตราการใช้กำลังการผลิตในเดือนตุลาคม 2565
อยู่ที่ร้อยละ 59.9
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนตุลาคม 2565
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th Office of Industrial Economics (OIE)
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
MPI -2.4 -1.2 5.8 18.2 26.0 18.6 3.7 -4.9 0.4 2.7 4.6 6.7 2.0 2.5 0.4 -0.0 -2.0 -0.2 6.4 14.9 3.3 -3.7
อุตสาหกรรม Hard Disk Drive 7.8 4.7 9.6 21.7 8.9 10.1 -10.9 -1.7 -2.7 -17.0 -12.8 -0.4 -20.0 -11.3 -8.9 -28.1 -29.7 -30.6 -29.4 -31.9 -34.9 -41.1
อุตสาหกรรมการกลั่นปิโตรเลียม -10.6 -18.1 -12.0 6.2 3.7 -1.6 -4.8 -6.1 -2.7 6.0 11.9 6.7 9.3 15.9 18.1 12.5 13.1 18.4 13.0 17.6 21.7 -9.4
อุตสาหกรรมเม็ดพลาสติก 9.4 15.7 5.9 3.1 12.1 9.9 12.7 7.4 3.7 -0.9 14.1 3.9 4.0 0.8 -2.2 -2.9 -15.9 -15.7 -7.6 -8.5 -16.9 -18.6
อุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว 2564
(การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับปีก่อน, %YOY)
2565
อุตสาหกรรมยานยนต์ ดัชนีผลผลิตขยายตัวร้อยละ 9.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน
ภาวะการผลิตและการจำหน่ายเพิ่มขึ้น ตามความต้องการของตลาดในประเทศที่ฟื้นตัว
จากภาคการท่องเที่ยว ประกอบกับตลาดส่งออกยานยนต์ยังขยายตัวได้ดีในโอเชียเนียและ
ตะวันออกกลาง
อุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม ดัชนีผลผลิตขยายตัวร้อยละ 31.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน
เนื่องจากมีความต้องการใช้บริโภคในภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ การส่งออก
มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น เนื่องจากมาตรการภาครัฐที่ช่วยสนับสนุนการส่งออก รวมถึงจีน ซึ่งเป็นตลาด
ส่งออกหลัก มีแนวโน้มผ่อนคลายนโยบาย Zero-Covid Policy มากขึ้น
อุตสาหกรรมชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ดัชนีผลผลิตขยายตัวร้อยละ 7.5 เมื่อเทียบ
กับเดือนเดียวกันของปีก่อน ภาวะการผลิตและจำหน่ายเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีความต้องการ
ของตลาดโลกเพิ่มขึ้น ในการใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญสำหรับการผลิตสินค้าสมัยใหม่ในหลาย
อุตสาหกรรม เช่น โทรศัพท์มือถือ ยานยนต์สมัยใหม่ และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ
สาขาอุตสาหกรรมสำคัญที่ขยายตัว
อัตราการใช้กำลังการผลิต เดือน ตุลาคม 2565 อยู่ที่ร้อยละ 59.9
ตุลาคม 2565
ตุลาคม 2563
ตุลาคม 2564
อัตราการใช้กำลังการผลิต ร้อยละ
ดาวน์โหลดเอกสาร
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ข้อมูล ณ เดือน พฤศจิกายน 2565
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
MPI -2.4 -1.2 5.8 18.2 26.0 18.6 3.7 -4.9 0.4 2.7 4.6 6.7 2.0 2.5 0.4 -0.0 -2.0 -0.2 6.4 14.9 3.3 -3.7
อุตสาหกรรมยานยนต์ -5.2 5.0 7.5 291.9 151.4 92.0 31.5 -9.8 -5.4 6.0 -0.9 9.1 5.1 2.2 3.3 12.8 -9.3 4.3 23.8 63.1 26.0 9.9
อุตสาหกรรมนามันปาล์ม -3.8 0.4 13.4 9.9 10.1 -8.0 -10.2 -4.8 0.3 20.3 53.6 33.6 23.2 21.3 -7.1 -15.7 -22.0 -4.8 -0.3 27.8 34.9 31.8
อุตสาหกรรมชิ นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ -0.0 16.4 6.7 10.8 34.0 33.8 19.1 10.3 13.5 12.4 21.0 14.3 17.3 5.7 3.2 6.0 6.8 1.8 9.5 18.9 10.7 7.5
อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว
(การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับปีก่อน, %YOY)
2564 2565
ข้อมูลเพิ่มเติม : นายนเรศ กิจจาพัฒนพันธ์ กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โทร. 0 2430 6806
อุตสาหกรรม
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม