(%YOY)
2565 ประมาณการ
Q1 Q2 Q3 Q4 ปี 2566
GDP ประเทศไทย +2.3 +2.5 +4.5 N/A +3.0 ถึง 4.0
GDP การผลิต
อุตสาหกรรม
+2.0 -0.5 +6.3 N/A +2.5 ถึง 3.5
MPI +1.6 -0.8 +8.1 -5.8 +2.5 ถึง 3.5
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม
การผลิต ธ.ค.65 2565
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
(MPI, %YOY) -8.19 +0.62
อัตราการใช้กำลังการผลิต
(CAP-U, ร้อยละ) 59.67 62.61
การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นางสาวอัมพร สุวรรณรัตน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680611 ดาวน์โหลดข้อมูล
หมายเหตุ : N/A = ไม่ปรากฏข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2566
ประมาณการ ปี 2566 : GDP ประเทศไทย โดย สศช. (พฤศจิกายน 2565), GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ. (ธันวาคม 2565)
ปี 2566 MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ประมาณการว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.5 - 3.5
เติบโตตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศที่มีแนวโน้มฟื้นตัว
เดือนธันวาคม 2565
? การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและประเทศคู่ค้าหลักของไทย
ส่งผลให้คำสั่งซื้อจากต่างประเทศปรับตัวลดลง
? ภาวะเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับสูง เป็นปัจจัย
กดดันกำลังซื้อของผู้บริโภค
? อุตสาหกรรมที่เน้นการบริโภคในประเทศและการท่องเที่ยว
ยังขยายตัวได้ อาทิ น้ำมันปาล์ม รถยนต์ การกลั่นน้ำมัน
กระเป๋า และเครื่องดื่ม
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนธันวาคม 2565 หดตัวร้อยละ 8.19
(YOY)
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนธันวาคม 2565
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)
น้ำมันปาล์ม +33.44 %
ราคาจำหน่ายน้ำมันปาล์มสูงขึ้น เกษตรกรจึงบำรุงต้น
ปาล์มมากขึ้น ส่งผลให้มีปริมาณผลผลิตมากกว่าปีก่อน
รถยนต์ +2.06 %
การขยายตัวของตลาดส่งออก หลังปัญหาพื้นที่จอด
รถยนต์ในเรือบรรทุกสินค้าที่มีล้อคลี่คลายลง
การกลั่นน้ำมัน +2.06 %
- จากน้ำมันเครื่องบิน น้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95 และเบนซิน 95
- จากการเปิดประเทศเต็มรูปแบบ ทำให้เดินทางและ
ท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)
HDD -36.36 %
ความต้องการลดลงตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจ
โลก รวมทั้งผู้ผลิตรายใหญ่ปรับลดวันทำงาน
เม็ดพลาสติก -24.59 %
- ความต้องการสินค้าปรับตัวลดลงต่อเนื่อง
- ผู้ผลิตบางรายหยุดซ่อมบำรุงและหยุดผลิตชั่วคราว
เฟอร์นิเจอร์ -46.01 %
- จากเครื่องเรือนทำด้วยไม้และโลหะ เป็นหลัก
- การชะลอคำสั่งซื้อ เนื่องจากมีสินค้าค้างสต๊อก
การท่องเที่ยวโตต่อเนื่อง
กิจกรรมทางเศรษฐกิจใน
ประเทศฟื้นตัว
ปัญหาห่วงโซ่อุปทาน
คลี่คลายลง
ปัจจัยสนับสนุน
เศรษฐกิจโลกเข้าสู่
ภาวะชะลอตัว
ราคาน้ำมันผันผวน
ภาวะเงินเฟ้อและอัตรา
ดอกเบี้ยขาขึ้นทั่วโลก
ปัจจัยกดดัน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม