(%YOY) 2565 2566 ประมาณการ ปี 2566 Q2 Q3 Q4 Q1
GDP ประเทศไทย
+2.5
+4.6
+1.4
N/A
+2.7 ถึง +3.7 GDP การผลิต อุตสาหกรรม -0.8 +6.0 -4.9 N/A +1.5 ถึง +2.5
MPI
-1.07
+7.70
-6.04
-3.94
+1.5 ถึง +2.5
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม
การผลิต มี.ค. 2566 ม.ค.-มี.ค. 2566 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI, %YOY) -4.56 -3.94
อัตราการใช้กำลังการผลิต
(CAP-U, ร้อยละ)
66.06
63.66
การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นางสาวอัมพร สุวรรณรัตน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 68061 4 ดาวน์โหลดข้อมูล
หมายเหตุ : N/A = ไม่ปรากฏข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2566
ประมาณการ ปี 2566 : GDP ประเทศไทย โดย สศช., GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ
ปี 2566 MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ประมาณการว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.5 ? 2.5 (YOY)
โดยได้รับอานิสงค์จากภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนที่มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง
เดือนมีนาคม ปี 2566
?
การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ทำให้การบริโภคในตลาดโลกซบเซา
?
ประเทศคู่ค้าหลักหลายประเทศประสบกับปัญหาเงินเฟ้อ และการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง กระทบต่อกำลังซื้อของผู้บริโภค
?
อุปสงค์ภายในประเทศยังคงทยอยฟื้นตัวต่อเนื่อง ตามการเติบโตของภาคการท่องเที่ยว ภาคบริการ และภาคการลงทุน ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนมีนาคม 2562566 หดตัวร้อยละ 4.56 (
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนมีนาคม 256 6
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (
ยานยนต์ +8.18
โดยเฉพาะการผลิตรถยนต์นั่งขนาดเล็ก ซึ่งมีคำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นจากการส่งออกไปยังเอเชีย ยุโรป และสหรัฐฯ
การกลั่นน้ำมัน +6.15 %
จากน้ำมันเครื่องบินเป็นหลัก ซึ่งโตตามการเดินทางรับมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวและการเปิดประเทศ
เครื่องปรับอากาศ +7.09
ขยายตัวตามตลาดส่งออก รวมถึงการเร่งส่งมอบให้กับประเทศคู่ค้าโดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (
HDD
30.83 %
- มีการพัฒนาความจุเพิ่มขึ้น ทำให้ปริมาณการผลิตลดลง
- การผลิต SSD ซึ่งเป็นสินค้าทดแทนมีความต้องการ
เพิ่มขึ้น โดยไทยไม่มีฐานการผลิต SSD
เฟอร์นิเจอร์ -39.11 %
- หดตัวจากเฟอร์นิเจอร์ที่ทำด้วยไม้และโลหะเป็นหลัก
- ส่วนหนึ่งเพราะฐานการผลิตปีก่อนค่อนข้างสูง
เม็ดพลาสติก -11.72
ต้นทุนวัตถุดิบสูงขึ้น รวมทั้งมีการซ่อมบำรุงโรงกลั่นน้ำมัน/โรงแยกก๊าซ ทำให้การผลิตชะลอตัวลง
การท่องเที่ยวโตต่อเนื่อง
กิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศฟื้นตัว
ปัญหาห่วงโซ่อุปทาน
คลี่คลายลง
ปัจจัยสนับสนุน
เศรษฐกิจโลกชะลอตัว
ภาวะเงินเฟ้อและดอกเบี้ยขาขึ้นทั่วโลก
ความขัดแย้งด้าน
ภูมิรัฐศาสตร์ยังคงยืดเยื้อ
ปัจจัยกดดัน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม