หมายเหตุ : N/A = ไม่ปรากฏข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2566
ประมาณการ ปี 2566 : GDP ประเทศไทย โดย สศช., GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ
จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นางสาวอัมพร สุวรรณรัตน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680680611 ดาวน์โหลดข้อมูล
แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ปัจจัยสนับสนุน
ปัจจัยกดดัน
เศรษฐกิจโลกและประเทศคู่ค้าชะลอตัว
ภาวะเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยขาขึ้นทั่วโลก
ความขัดแย้งด้านภูมิรัฐศาสตร์ยังคงยืดเยื้อ
ภูมิรัฐศาสตร์ยังคงยืดเยื้อ
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ไตรมาสแรก (ม.ค.-มี.ค.) ปี 2566 หดตัวร้อยละ 3.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (YOY) ด้านอัตราการใช้กำลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 63.66 ซึ่งเป็นผลจากเศรษฐกิจโลกเปราะบาง ส่งผลให้บรรยากาศการค้าโลกชะลอตัว อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว การบริโภคภายในประเทศ และการลงทุนภาคเอกชนมีทิศทางปรับตัวเพิ่มขึ้น สะท้อนได้จาก MPI ไตรมาสแรก (ม.ค.-มี.ค.) ปี 2566 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ขยายตัวร้อยละ 7.40 (QOQ) ทั้งนี้ สศอ. ประมาณการ ปี 2566 MPI และ GDP การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 1.5 - 2.5 (YOY) รับอานิสงค์กิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศที่มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง เป็นปัจจัยสนับสนุนให้การผลิตยังคงขับเคลื่อนต่อไปได้
ปี 2566 MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ประมาณการว่าจะขยายตัว
ร้อยละ 1.5 - 2.5 โดยได้รับอานิสงค์จากการท่องเที่ยวและกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศที่มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม ไตรมาสแรก ปี 2566
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (
ยานยนต์ 7. 2 2
- ขยายตัวจากรถยนต์นั่งขนาดกลางและขนาดเล็ก
- การขาดแคลนชิ้นส่วนเซมิคอนดักเตอร์คลี่คลายลง
การกลั่นปิโตรเลียม 7.46
- จากน้ำมันเครื่องบิน แก๊สโซฮอล์ และเบนซิน
- ขยายตัวตามภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว
-
การผลิตน้ำตาล 10.47
- มีการผลิตเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพิ่มขึ้น
- รวมทั้งมีผลผลิตอ้อยเข้าสู่โรงงานมากกว่าปีก่อน
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง 37.64
โดยเฉพาะ HDD จากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ทำให้มีความจุเพิ่มขึ้น สัดส่วนปริมาณการผลิตจึงลดลง
เฟอร์นิเจอร์ 48.88
การผลิตลดลงจากสินค้าเครื่องเรือนทำด้วยไม้และโลหะ เนื่องจากความต้องการใช้สินค้าชะลอตัวลง
-
เม็ดพลาสติก 1 6.56
มีการปรับลดการผลิตลง เนื่องจากต้นทุนสูงขึ้นและ
อยู่ระหว่างวางแผนการผลิตให้สอดรับกับทิศทางตลาด อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI ไตรมาสแรก (ม.ค.-มี.ค.) ปี 2566
การท่องเที่ยวและภาคบริการโตต่อเนื่อง
การลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
ปัญหาห่วงโซ่อุปทานคลี่คลายลง
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม