สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนเมษายน 2566

ข่าวเศรษฐกิจ Monday June 12, 2023 13:40 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

(%YOY)

2565 2566 ประมาณการ

Q2 Q3 Q4 Q1 ปี 2566

GDP ประเทศไทย +2.5 +4.6 +1.4 +2.7 2.7 - 3.7

GDP การผลิต

อุตสาหกรรม

-0.8 +6.0 -5.0 -3.1 0.0 - 1.0

MPI -1.07 +7.70 -6.04 -3.70 0.0 ? 1.0

สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนเมษายน 2566

อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)

น้ำตาล +19.15 %

การบริโภคเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องและ

ปีนี้ผลผลิตน้ำตาลต่อต้นอ้อยโดยเฉลี่ยสูงขึ้น

การกลั่นน้ำมัน +1.87 %

ขยายตัวตามการเดินทางของนักท่องเที่ยวและ

การเดินทางภายในประเทศกลับเข้าสู่ระดับปกติ

เบียร์ +17.58 %

ความต้องการบริโภคที่มากขึ้นในเทศกาลสงกรานต์

รวมถึงนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาในประเทศเพิ่มขึ้น

อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)

HDD -41.59 %

การพัฒนาเทคโนโลยีความจุสูงขึ้น ทำให้ผลิตน้อยลง

รวมทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก

เหล็กและเหล็กกล้า -23.36 %

ลดลงตามความต้องการบริโภคภายในประเทศและ

คำสั่งซื้อชะลอตัว เนื่องจากความผันผวนของราคา

เฟอร์นิเจอร์ -36.03 %

โดยเฉพาะเฟอร์นิเจอร์ไม้ เนื่องจากผู้ผลิตรายใหญ่ใน

พื้นที่ภาคเหนือและตะวันออกมีคำสั่งซื้อลดลง

การผลิต เม.ย. 2566 ม.ค.-เม.ย. 2566

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม

(MPI, %YOY) -8.14 -4.69

อัตราการใช้กำลังการผลิต

(CAP-U, ร้อยละ) 53.82 61.31

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th

สอบถามข้อมูล : นางสาวอัมพร สุวรรณรัตน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680614 ดาวน์โหลดข้อมูล

ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2566

ประมาณการ ปี 2566 : - GDP ประเทศไทย โดย สศช.

- GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.

ปี 2566 MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ประมาณการว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.0 - 1.0 (YOY)

เดือนเมษายน 2566

? การผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัว เนื่องจากต้นทุนการผลิตและ

ต้นทุนการเงินอยู่ในระดับสูง รวมทั้งเศรษฐกิจโลกถดถอย เป็น

ปัจจัยกดดันให้การผลิตหดตัวต่อเนื่อง

? เศรษฐกิจในประเทศยังคงทยอยปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามการท่องเที่ยว

ที่ฟื้นตัว ประกอบกับวันหยุดยาว ส่งผลให้อุตสาหกรรมการกลั่น

น้ำมัน เบียร์ และขวดพลาสติกได้รับอานิสงส์ปรับตัวดีขึ้น

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนเมษายน 2566 หดตัวร้อยละ 8.14 (YOY)

การฟื้นตัวของภาคบริการ

และการท่องเที่ยว

การบริโภคภายในประเทศ

มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น

การลงทุนทั้งภาครัฐและ

เอกชนมีทิศทางขยายตัว

ปัจจัยสนับสนุน

เศรษฐกิจโลกชะลอตัว

ต้นทุนการผลิตปรับตัว

เพิ่มขึ้นตามราคาพลังงาน

และอัตราดอกเบี้ย

ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่

ยืดเยื้อ

ปัจจัยกดดัน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


แท็ก อุตสาหกรรม   GDP  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ