สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนพฤษภาคม 2566

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday July 11, 2023 13:56 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

(%YOY)

2565

2566

ประมาณการ ปี 2566

Q2

Q3

Q4

Q1

GDP ประเทศไทย

+2.5

+4.6

+1.4

+2.7

2.7 - 3.7

GDP การผลิต

อุตสาหกรรม

-0.8

+6.0

-5.0

-3.1

0.0 - 1.0

MPI

-1.07

+7.70

-6.04

-3.70

0.0 ? 1.0

สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนพฤษภาคม 2566

อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)

ยานยนต์ +17.54 %

การส่งออกรถยนต์เพิ่มขึ้น และการจำหน่ายในประเทศเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ส่งผลให้การผลิตเพิ่มขึ้น

เครื่องปรับอากาศ +12.57 %

เทคโนโลยีฟอกอากาศ PM 2.5 และสภาพอากาศร้อน ส่งผลให้ความต้องการเครื่องปรับอากาศมากขึ้น

น้ำตาล +31.14 %

การบริโภคเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องและปีนี้ผลผลิตน้ำตาลมีปริมาณมากขึ้นและคุณภาพดีขึ้น

อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)

เหล็กและเหล็กกล้า -26.72 %

ผู้บริโภคชะลอคำสั่งซื้อและผู้ผลิตมีการบริหารจัดการสินค้าคงคลังจากความไม่มั่นใจในทิศทางราคา

HDD -27.72 %

เทคโนโลยีความจุที่มากขึ้น ทำให้ผลิตน้อยลง

และแนวโน้มการใช้ SSD ทดแทน HDD เพิ่มมากขึ้น

เครื่องนุ่มห่ม -31.55 %

คำสั่งซื้อของประเทศคู่ค้าลดลง จากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว

การผลิต

พ.ค. 2566

ม.ค.-พ.ค. 2566

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม

(MPI, %YOY)

-3.14

-4.49

อัตราการใช้กำลังการผลิต

(CAP-U, ร้อยละ)

60.20

61.04

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th

สอบถามข้อมูล : นางสาวดุสิตา เนตรโรจน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680615 ดาวน์โหลดข้อมูล

ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2566

ประมาณการ ปี 2566 : - GDP ประเทศไทย โดย สศช.

- GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.

ปี 2566 MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ประมาณการว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.0 - 1.0 (YOY)

เดือนพฤษภาคม 2566

?การผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัว แต่เป็นการหดตัวในอัตราที่ชะลอลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อน จากการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่เริ่มขยายตัวเล็กน้อย

?ปรากฎการณ์เอลนีโญที่อาจรุนแรงขึ้น ส่งผลต่อวัตถุดิบในอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร

?หนี้ครัวเรือนที่สูงขึ้น ส่งผลให้การบริโภคภายในประเทศลดลง

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนพฤษภาคม 2566 หดตัวร้อยละ 3.14

การท่องเที่ยวยังคงขยายตัว

การบริโภคภายในประเทศมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น

การลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชนมีทิศทางขยายตัว

ปัจจัยสนับสนุน

การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก

ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นตามอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น

ปัญหาความขัดแย้ง ด้านภูมิรัฐศาสตร์

ปัจจัยกดดัน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ