เศรษฐกิจโลกและประเทศคู่ค้าหดตัวต่อเนื่อง
วิกฤตการเงินของธนาคารในสหรัฐฯ และยุโรป
ปัญหาห่วงโซ่อุปทานชิปคลี่คลายดีขึ้น
อัตราเงินเฟ้อของประเทศคู่ค้ามีแนวโน้มชะลอตัว ปัจจัยกดดัน
ปัจจัยสนับสนุน
ล้านดอลลาร์สหรัฐ, (%YOY)
ม.ค.-พ.ค. 66
พ.ค. 66 นำเข้ารวม 122,709.52 26,190.23 (-2.48) (-3.43)
การนำเข้ารวม (ไม่รวมทองคำ)
120,070.81
25,350.54
(-1.74)
(-1.68) สินค้าทุน 28,346.54 6,471.36 (-0.84) (17.64)
สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป
(ไม่รวมทองคำ)
45,815.47
9,871.78
(-6.45)
(-8.83)
ล้านดอลลาร์สหรัฐ, (%YOY)
ม.ค.-พ.ค. 66
พ.ค. 66 ส่งออกรวม 116,344.2 24,340.9 (-5.09) (-4.57)
สินค้าอุตสาหกรรม
90,872.7
19,012.5
(-5.39)
(1.54) สินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ) 87,901.6 18,765.1 (-4.19) (1.61)
สินค้าอุตสาหกรรม
(ไม่รวมทองคำและยุทธปัจจัย)
86,440.9
18,353.6
(-4.30)
(0.003)
เดือนพฤษภาคม 2566 ตลาดคู่ค้าสำคัญขยายตัว ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป (27) อาเซียน (5) และตะวันออกกลาง ขยายตัวร้อยละ 6.38 15.22 6.68 และ 0.83 ตามลำดับ ส่วนการส่งออกไปยังประเทศจีน ญี่ปุ่น และ CLMV ยังคงชะลอตัว EUEU27
+15.22
(+1.85)
การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ) ไปยังประเทศคู่ค้าสำคัญของไทย สหรัฐฯ
+6.38
(-0.64) สถานการณ์การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม จีน
-
6 58
(-13.15)
รถปิคอัพ
14.7
อุปกรณ์กึ่งตัวนำ
ทรานซิสเตอร์
87.7
เครื่องปรับอากาศ
และส่วนประกอบ
10.2
เหล็ก เหล็กกล้า
และผลิตภัณฑ์
น้ำมันดิบ
-6.89
เคมีภัณฑ์
16 72
การนำเข้าสินค้าสำคัญ
เดือนพฤษภาคม 2566
โลก
+1 61
(-4.19)
พ.ค. 66 %YOY
ตะวันออกกลาง
+0 83
(+7.00)
ญี่ปุ่น
-
3 98
(-1.49)
%YOY
พ.ค.66
(ม.ค.-พ.ค.)
CLMV
-7.91
(-10.01)
อาเซียน (
+6.68
(-4.36)
ภาวะการค้าระหว่างประเทศ
การส่งออก
การนำเข้า
จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นางสาวชุติมา ชุติเนตร และนางสาวปทิตตา เตชะศุภสิน โทรศัพท์ 0 2430 6806 ต่อ 68061680610-111 ดาวน์โหลดข้อมูล
ที่มาข้อมูล : สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า ประมวลผลโดยสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
-13.55
การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสำคัญ
การส่งออกรวม หดตัวร้อยละ 4.57 (YOY) หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 จากภาวะเศรษฐกิจในประเทศคู่ค้าหลักหดตัวต่อเนื่อง การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ) ขยายตัวร้อยละ 1.61 (YOY) จากรถปิคอัพ รถบัสและรถบรรทุก อุปกรณ์ กึ่งตัวนำ ทรานซิสเตอร์และไดโอด เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคำ) ประเภทพลอย เป็นต้น
การนำเข้ารวม หดตัวร้อยละ 3.43 (YOY) หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 จากฐานที่สูงในปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นการหดตัวในหมวดสินค้าเชื้อเพลิง หดตัวร้อยละ 13.07 เป็นผลจากความต้องการใช้น้ำมันที่ลดลง โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีนที่ชะลอตัวทั้งในภาคอุตสาหกรรมและบริการ หมวดสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป (ไม่รวมทองคำ) หดตัวร้อยละ 8.83 จากเคมีภัณฑ์ และเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม