(%YOY)
2565
2566
ประมาณการ ปี 2566
Q3
Q4
Q1
Q2
GDP ประเทศไทย
+4.6
+1.4
+2.6
+1.8
2.5 - 3.0
GDP การผลิต
อุตสาหกรรม
+6.0
-5.0
-3.1
-3.2
(-1.5) ? (-2.5)
MPI
+7.70
-6.04
-3.70
-4.60
(-2.8) ? (-3.8)
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนกรกฎาคม 2566
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)
ยานยนต์ +5.34 %
การส่งออกเพิ่มขึ้น ในตลาดเอเชีย โอเชียเนีย ตะวัน ออกกลาง แอฟริกา ยุโรป และอเมริกากลางและใต้
การกลั่นน้ำมัน +4.99 %
เพิ่มขึ้นจากน้ำมันเครื่องบิน ก๊าซหุงต้ม และแก๊สโซฮอล์ 91 ตามความต้องการที่เข้าสู่ระดับปกติ
เหล็กและเหล็กกล้า +7.11 %
ราคาเหล็กปรับตัวดีขึ้น จึงลดการนำเข้าเหล็กลง และหันมาสั่งซื้อเหล็กในประเทศแทน
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)
HDD -39.13 %
เทคโนโลยีความจุที่มากขึ้น ทำให้ผลิตน้อยลงและ แนวโน้มการใช้ SSD ทดแทน HDD เพิ่มมากขึ้น
เฟอร์นิเจอร์ -44.93 %
เศรษฐกิจโลกชะลอตัว ทำให้คำสั่งซื้อลดลง การผลิตลดลงสู่ระดับปกติ ไม่มีคำสั่งซื้อพิเศษเหมือนปีก่อน
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ -9.73 %
ความต้องการของตลาดโลกชะลอตัวจากสงครามการค้าของสินค้าเทคโนโลยีระหว่างจีนและสหรัฐฯ
การผลิต
ก.ค. 2566
ม.ค.-ก.ค. 2566
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
(MPI, %YOY)
-4.43
-4.54
อัตราการใช้กำลังการผลิต
(CAP-U, ร้อยละ)
58.19
60.38
ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th สอบถามข้อมูล : นางสาวดุสิตา เนตรโรจน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680615 ดาวน์โหลดข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม 2566
ประมาณการ ปี 2566 : - GDP ประเทศไทย โดย สศช.
- GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.
ปี 2566 MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ประมาณการว่าจะหดตัวร้อยละ 2.8 ? 3.8 และร้อยละ 1.5 - 2.5 ตามลำดับ (YOY)
เดือนกรกฎาคม 2566
?การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมยังคงชะลอตัว เนื่องจากเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวลง จากกำลังซื้อในตลาดโลกลดลง
?รายได้เกษตรกรหดตัวต่อเนื่อง สะท้อนถึงกำลังซื้อจากภาคเกษตรที่ยังคงลดลง
?ปัญหาหนี้ครัวเรือนของไทยที่อยู่ในระดับสูง และการปล่อยสินเชื่อ ที่เข้มงวดมากขึ้น เป็นปัจจัยกดดันกำลังซื้อในประเทศ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนกรกฎาคม 2566 หดตัวร้อยละ 4.43 (YOY)
การท่องเที่ยวยังคงขยายตัว
การบริโภคภายในประเทศมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
การลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชนมีทิศทางขยายตัว
ปัจจัยสนับสนุน
การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก
ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นตามอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น
ปัญหาความขัดแย้ง ด้านภูมิรัฐศาสตร์ ปัจจัยกดดัน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม