สศอ.
เผยส่งออก อุตสาหกรรม ยังชะลอตัว จากพิษเศรษฐกิจโลก กดดัน ดัชนี MPI
เดือน
ก.ย 2566 หดตัวร้อยละ 6.06 ประมาณการ GDP ภาคอุตฯ ปีนี้ คาด ว่า หดตัวร้อยละ 2.5 3.0
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ เผยดัชนี ผล ผลิตอุตสาหกรรม ( MPI) เดือน กันยายน
ปี 2566 อยู่ ที่ ระดับ 91.60 ลดลง ร้อยละ 6.06 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนไตรมาส 3 ปี 2566
ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 6.19 ส่งผลให้ 9 เดือนแรกของปี 2566 อยู่ที่ระดับ 94.31 ลดลงร้อยละ 5.09
หลัง การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมชะลอตัว สะท้อนแนวโน้มเศรษฐกิจโลกยังคงชะลอตัวต่อเนื่อง
และค่าเงินบาทอ่อนค่าลง กดดัน GDP ภาคอุตฯ ปีนี้คาดหดตัว ร้อยละ 2.5 3.0
นางวรวรรณ ชิตอรุณ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปิดเผยว่า ดัชนีผลผลิต
อุตสาหกรรม ( MPI) เดือน กันยายน ปี 256 2566 อยู่ที่ระดับ 91 60 ลดลงร้อยละ 6.06 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปีก่อน ส่วน ไตรมาส 3 ปี 2566 ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 6.19 ส่งผลให้ 9 เดือนแรกของปี 2566 อยู่ที่ระดับ
94.31 ลดลงร้อยละ 5.09 ด้าน อัตราการใช้กำลังการผลิต เดือนกันยายน อยู่ที่ ร้ อยละ 58. 02 และ 9 เดือนแรก
อยู่ที่ร้อยละ 5 9 .83 ส่วน ไตรมาส 3 ปี 2566 อยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 58.01 ตาม การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ที่ ยัง
ชะลอตัว สะท้อนแนวโน้มเศรษฐกิจโลกยัง คงชะลอตัว ต่อเนื่อง จากความขัดแย้งระหว่างประเทศ ที่ยังยืดเยื้อ
รวมถึง ค่า เงินบาท ในเดือนกันยายน 2566 อ่อนค่าลงร้อยละ 4.23 หรือ ประมาณ 1.50 บาท โดยมี เงินทุน
ไหลออกประเทศจากความกังวลการปรับขึ้นดอกเบี้ยของ ธนาคารกลางสหรัฐ เฟด ) ส่งผลให้ราคาวัตถุดิบนำเข้า
เพิ่มสูงขึ้น อีกทั้ง เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวช้า จาก โครงสร้างการส่งออกของภาคการผลิตไทย ไม่ตอบสนอง
ความต้องการของโลกในยุคปัจจุบัน อย่างไรก็ดี ภาคการท่องเที่ยว ยังคง ขยายตัวต่อเนื่อง จากข้อมูล จำนวน
นักท่องเที่ยว 9 เดือนแรก ปี 2566 อยู่ที่ 20 ล้านคน ขยายตัวร้อยละ 254.98 ทำให้ความต้องการสินค้า
อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม อาทิ น้ำตาล การแปรรูปและการถนอมผลไม้และผัก
ผลิตภัณฑ์นม เบียร์ และ เนื้อไก่แช่แข็งและแช่เย็น
นอกจากนี้ การเตือนภัยด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของไทย ภาพรวม เดือน ตุลาคม 2566 ?ส่งสัญญาณเฝ้า
ระวังในช่วงขาลง? จาก ปัจจัยภายในประเทศชะลอตัวตามการลงทุนและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมที่ลดล ง
โดย ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนของไทยหดตัว ลง จากการนำเข้าสินค้าทุน รวมถึง พื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง และ
ยอดจดทะเบียนรถยนต์เชิ ง พาณิชย์ใหม่ ลดลง เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า ด้าน ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม
3 เดือนข้างหน้า ชะลอตัวในช่วงขาลง จากความกังวลต่อเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว การอ่อนค่าของเงินบาท
และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่ยังไม่มีความชัดเจน ขณะที่ ปัจจัยต่างประเทศ ยัง มีทิศทางชะลอตัว
และส่งสัญญาณเฝ้าร ระวังต่อเนื่อ
?
?หลังจาก 9 เดือนแรก ปี 2566 หลังจาก 9 เดือนแรก ปี 2566 ดัชนี ดัชนี MPI ลดลงร้อยละ 5.09 ส่งผลให้ ลดลงร้อยละ 5.09 ส่งผลให้ สศอ. สศอ. ปรับประมาณการดัชนี ปรับประมาณการดัชนี MPI ปี 2566 อยู่ที่ลดลงร้อยละ ปี 2566 อยู่ที่ลดลงร้อยละ 4.04.0 -- 4.4.55 จากประมาณการเดิมลดลงร้อยละ จากประมาณการเดิมลดลงร้อยละ 2.8 2.8 -- 3.8 3.8 ด้านด้านการการขยายตัวของขยายตัวของเศรษฐกิจเศรษฐกิจ ((GDP) ) ภาคอุตสาหกรรมภาคอุตสาหกรรม ปี 2566 ปี 2566 คาดหดตัวคาดหดตัวร้อยละ ร้อยละ 2.2.55 ?? 3.03.0 จากประมาณการครั้งก่อนคาดจากประมาณการครั้งก่อนคาดว่าจะว่าจะหดตัวร้อยละ หดตัวร้อยละ 1.5 1.5 -- 2.52.5 จากเศรษฐกิจโลกที่ยังชะลอตัว ค่าเงินบาทที่อ่อนค่า และความขัดแย้งระหว่างประเทศยังยืดเยื้อจากเศรษฐกิจโลกที่ยังชะลอตัว ค่าเงินบาทที่อ่อนค่า และความขัดแย้งระหว่างประเทศยังยืดเยื้อ? ? นางวรวรรณ กล่าวนางวรวรรณ กล่าว
สำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตในเดือนสำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตในเดือนกันยายนกันยายน 2566 เมื่อเทียบกับ 2566 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่
พลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น
พลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 12.3512.35 จาก จาก Polyethylene resin, Ethylene และ และ Polypropylene resin เป็นหลัก เป็นหลัก โดยในโดยในปีก่อนปีก่อนมีการลดการผลิตมีการลดการผลิตเนื่องจากมีเนื่องจากมี Over supply ในตลาดโลกในตลาดโลก และมีการหยุดซ่อมบำรุงของผู้ผลิตบางรายและมีการหยุดซ่อมบำรุงของผู้ผลิตบางราย
น้ำตาล
น้ำตาล ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 74.6474.64 จากน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์และน้ำตาลจากน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์และน้ำตาลทรายขาว ทรายขาว เป็นหลัก เป็นหลัก ตามความต้องการของตลาดส่งออก และตลาดในประเทศ ตามความต้องการของตลาดส่งออก และตลาดในประเทศ ซึ่งซึ่งการงดส่งออกน้ำตาลของการงดส่งออกน้ำตาลของประเทศประเทศอินเดียจะส่งผลให้ไทยได้รับคำสั่งซื้อเพิ่มอินเดียจะส่งผลให้ไทยได้รับคำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นขึ้น สำหรับตลาดในประเทศขยายตัวตามกิจกรรมเศรษฐกิจสำหรับตลาดในประเทศขยายตัวตามกิจกรรมเศรษฐกิจโดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่องโดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่อง และมีคำสั่งซื้อของผู้รับซื้อรายใหญ่และมีคำสั่งซื้อของผู้รับซื้อรายใหญ่
สายไฟและเคเบิ้ลอื่นๆ
สายไฟและเคเบิ้ลอื่นๆ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 29.5229.52 จากสายไฟฟ้า เป็นหลัก จากสายไฟฟ้า เป็นหลัก เนื่องจากมีรอบคำสั่งซื้อเนื่องจากมีรอบคำสั่งซื้อจากการไฟฟ้าจากการไฟฟ้านครหลวง ส่วนภูมิภาค และฝ่ายผลิตนครหลวง ส่วนภูมิภาค และฝ่ายผลิต รวมถึงงานโครงการของภาครัฐรวมถึงงานโครงการของภาครัฐและเอกชนมากขึ้นและเอกชนมากขึ้น
เส้นใยประดิษฐ์
เส้นใยประดิษฐ์ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 333.12 3.12 จากเส้นใยประดิษฐ์อื่นจากเส้นใยประดิษฐ์อื่น ๆ และๆ และ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ จากจากคำสั่งซื้อของตลาดคำสั่งซื้อของตลาดส่งออกส่งออกที่เพิ่มขึ้นที่เพิ่มขึ้น เช่น เช่น อินเดีย อินเดีย และและจีน จีน เพื่อนำไปผลิตเป็นชิ้นส่วนต่างเพื่อนำไปผลิตเป็นชิ้นส่วนต่าง ๆๆ ((หลังคา เบาะ หรือ สายพานต่างๆหลังคา เบาะ หรือ สายพานต่างๆ) และเสื้อผ้ากีฬา) และเสื้อผ้ากีฬา
แปรรูปและการถนอมผลไม้และผัก
แปรรูปและการถนอมผลไม้และผัก ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 10.84 10.84 จากข้าวโพดจากข้าวโพดหวานกระป๋องหวานกระป๋อง กะทิกะทิ และน้ำผลไม้ เป็นหลัก โดยข้าวโพดหวานกระป๋อง ได้รับคำสั่งซื้อและน้ำผลไม้ เป็นหลัก โดยข้าวโพดหวานกระป๋อง ได้รับคำสั่งซื้ออย่างอย่างต่อเนื่องจากต่อเนื่องจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ส่วนส่วนกะทิ ลูกค้ากลับมามีคำสั่งซื้อหลังชะลอตัวในช่วงก่อนหน้า และน้ำผลไม้ กะทิ ลูกค้ากลับมามีคำสั่งซื้อหลังชะลอตัวในช่วงก่อนหน้า และน้ำผลไม้ มีการมีการเร่งเร่งผลิตหลังเริ่มต้นฤดูเก็บเกี่ยวสับปะรดรอบใหม่ผลิตหลังเริ่มต้นฤดูเก็บเกี่ยวสับปะรดรอบใหม่
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)
Index
2565
2566
2566
ก.ค.
ก.ค.
ส.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ก.ย.
ต
ต.คค.
พ
พ.ยย.
ธ.ค.
ธ.ค.
เม.ย.
เม.ย.
พ.ค.
พ.ค.
มิ.ย.
มิ.ย.
ก.ค.
ก.ค.
ส.ค.
ส.ค. ก.ย.ก.ย.
ดัชนีผลผลิต
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอุตสาหกรรม
95.36
99.34
97.50
93.39
95.32
93.63
82.99
94.89
92.7676
90.88
90.88
91.
91.6464 91.6091.60
อัตราการ
อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((MOM) %) %
-2.34
4.17
-1.85
-4.22
2.07
-1.77
-21.28
14.34
-2.2424
-
-2.032.03
0.84
0.84 --0.050.05
อัตราการ
อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((YOY) %) %
6.00
14.60
3.01
-4.27
-5.30
-8.45
-8.71
-3.05
-
-5.005.00
-
-4.694.69
-
-7.757.75 --6.066.06
อัตราการใช้
อัตราการใช้กำลังการผลิตกำลังการผลิต
60.84
63.87
63.57
60.07
61.34
59.56
53.55
60.25
59.222
58.09
58.09
5
57.917.91 58.0258.02
ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่
ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 3131 ตุลาคมตุลาคม 25666
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายไตรมาส)
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายไตรมาส)
Index
2565
2566
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
Q2 Q33
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
105.22
95.47
97.40
94.11
101.33
90.2121 91.3791.37
อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน %ไตรมาสก่อน %
5.05
-9.26
2.02
-3.38
7.67
-10.970.97 1.281.28
อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน %ไตรมาสเดียวกันของปีก่อน %
1.44
-1.07
7.70
-6.04
-3.70
-5.511 --6.196.19
อัตราการใช้กำลังการผลิต
อัตราการใช้กำลังการผลิต
66.77
61.20
62.76
60.32
63.81
57.688 58.0158.01
ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 31
ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคมตุลาคม 25666
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม