(%YOY
2565 2566 ประมาณการ
ปี 2566 Q3 Q4 Q1 Q2
GDP ประเทศไทย +4.6
+1.4
+2.6
+1.8
2.5
3.0
GDP การผลิต
อุตสาหกรรม
+6.0 -5.0 -3.0 -3.3 11.5) 22.5)
MPI
+7.70
-6.04
-3.70
-4.60
(
2 8) 3 8)
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนสิงหาคม 2566
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)
น้ำตาล +40.51 %
ความต้องการเพิ่มขึ้นทั้งตลาดในประเทศและตลาดส่งออก เพื่อตอบสนองผู้บริโภคในกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม
ปุ๋ยเคมี +29.52 %
จากราคาปุ๋ยซึ่งปรับลดลงจากปีก่อน รวมถึงมีการทำโปรโมชั่นกระตุ้นยอดขาย สินค้าจึงถูกระบายออกต่อเนื่อง
การกลั่นน้ำมัน +1.50 %
จากน้ำมันเครื่องบิน ก๊าซหุงต้ม และน้ำมันเบนซิน 95 เป็นหลัก รวมถึงภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่อง
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)
ยานยนต์ -11.39 %
จากการหดตัวของตลาดในประเทศเป็นหลัก เนื่องจากความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงิน
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ -13.65 %
ภาวะตลาดโลกที่ชะลอตัว ผู้ผลิตมียอดการผลิตและจำหน่ายลดลง สินค้ามีมูลค่าสูงแต่ปริมาณการผลิตน้อย
HDD -32.36 %
เทคโนโลยีความจุที่มากขึ้น ทำให้ผลิตน้อยลง
และแนวโน้มการใช้ SSD ทดแทน HDD เพิ่มมากขึ้น
การผลิต ส ค 252566 ม.ค. ส ค . 2566
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
MPI, %YOY) -77.53 4.95
อัตราการใช้กำลังการผลิต
CAP-U, ร้อยละ) 5
8 1 8 6
0 09
ประมาณการ
ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นายนเรศ กิจจาพัฒนพันธ์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680613 ดาวน์โหลดข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม 2566
ประมาณการ ปี 2566 : - GDP ประเทศไทย โดย สศช.
- GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.
ปี
2566 MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ประมาณการ จะ หด ตัวร้อยละ 2.8 3.8 (YOY) และ 1.5 2.5 (YOY) ตามลำดับ
เดือน
สิงหาคม 2566
?
การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลต่อกำลังซื้อของประเทศ คู่ค้าที่อ่อนแอ แม้ว่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวมทองคำ) เดือน ส.ค. 66 จะมีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.85 เทียบกับปีก่อน
?
เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวช้า จากปัญหาหนี้ภาคครัวเรือนอยู่ในระดับสูง รวมถึงปรากฏการณ์เอลนีโญซึ่งยังส่งผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตรและรายได้ของเกษตรกร
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนสิงหาคม 2566 หดตัวร้อยละ 7.53 (YOY)
การท่องเที่ยว
ยัง คง
ขยายตัว
การบริโภคภายในประเทศ
มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่ มขึ้น
การลงทุนทั้งภาครัฐและ
เอกชนมีทิศทางขยายตัว
ปัจจัยสนับสนุน
การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก
ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นตามอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น
ปัญหาความขัดแย้ง ด้านภูมิรัฐศาสตร์
ปัจจัยกดดัน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม