(%YOY) 2565 2566 ประมาณการ ปี 2566 Q4 Q1 Q2 Q3
GDP ประเทศไทย
1.4
2.6
1.8
N/A
2.5 - 3.0 GDP การผลิต อุตสาหกรรม -5.0 -3.0 -3.3 N/A (-2.5) - (-3.0)
MPI
-3.38
-3.70
-5.51
-6.19
(-4.0) - (-4.5)
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ
MPI เดือน กันยายน 256 6
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก
(
เม็ดพลาสติก +
12.35
ส่วนหนึ่งเป็นผลบวกจากปีก่อนมีการปิดซ่อมบำรุง
ของโรงงานปิโตรเคมีขั้นต้น
น้ำตาล +74.64
ขยายตัวทั้งใน
และต่าง ประเท ศ รวมถึง อานิสงส์จาก
อินเดียงดการส่งออ ก ทำให้คำสั่งซื้อ ของ ไทยเพิ่มขึ้น
สายไฟ +29.52
ขยายตัวจากการผลิตเพื่อส่งมอบให้กับการไฟฟ้า
ตามรอบการปรับปรุงและการปรับเปลี่ยนสายไฟ
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ
(
ยานยนต์
7.65
หดตัวจากตลาดในประเทศเป็นหลัก เนื่องจาก
สถาบันการเงินเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อ
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
17.69
เศรษฐกิจโลกชะลอตัวและนโยบายลดการพึ่งพาจีน
ของสหรัฐฯ กระทบ ต่อ ห่วงโซ่อุปทานไทย
การกลั่นน้ำมัน
5.05
หดตัวเนื่องจาก
ผู้ผลิตบางรายหยุดซ่อมบำรุงโรงกลั่น
การผลิต ก.ย. 2566 ม.ค.-ก.ย. 2566 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI, %YOY) -6.06 -5.09
อัตราการใช้กำลังการผลิต
(CAP-U, ร้อยละ)
58.02
59.83
ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
จัดทำโดย
: กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล
: นางสาวอัมพร สุวรรณรัตน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 68061 4 ดาวน์โหลดข้อมูล
หมายเหตุ :
N/A = ไม่ปรากฏข้อมูล
ที่มา
: GDP โดย สศช. ., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือน ตุลาคม 256 6
ประมาณการ
ปี 256 6 : GDP ประเทศไทย โดย สศช. GDP อุตสาหกรรม , MPI โดย สศอ
ปี 2566 ประมาณการ MPI หดตัวร้อยละ 4.0 - 4.5 (YOY) และ
GDP การผลิตอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 2.5 - 3.0 (YOY)
กันยายน 2566
?
ประเทศคู่ค้าฟื้นตัวช้า สะท้อนได้จากการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม
หดตัวลง ส่งผลให้การผลิตรองรับตลาดส่งออกฟื้นตัวได้จำกัด
?
เศรษฐกิจภายในประเทศ
ได้รับ ผลกระทบ จาก ค่าครองชีพ และ
หนี้ภาคครัวเรือน
อยู่ในระดับสูง กดดันกำลังซื้อภายในประเทศ
?
อย่างไรก็ตาม
จำนวนนักท่องเที่ยว ที่ เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ส่งผล บวก
ต่อภาคบริการและ
การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับ
ภาคธุรกิ
จที่เกี่ยวข้อง อาทิ อาหารและเครื่องดื่ม การกลั่นน้ำมัน
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (
MPI) เดือน กันยายน 256 6 หดตัวร้อยละ 6.06 (
เศรษฐกิจโล
ก ฟื้นตัวช้า
ดอกเบี้ยขาขึ้น
กดดัน
การผลิตและการบริโภค
ปัญหา
ข้อพิพาทเชิง
ภูมิรัฐศาสตร์ ยืดเยื้อ
ปัจจัย
กดดัน
การท่องเที่ยวขยายตัว
ต่อเนื่อง
เศรษฐกิจประเทศคู่ค้า
ทยอยฟื้นตั วอย่างค่อย
เป็นค่อยไป
ปัจจัยสนับสนุน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม