?รมว.พิมพ์ภัทรา?
เร่งเครื่อง หลังถกประชุมคณะกรรมการนโยบายยานยนต์ไฟฟ้านัดแรก
ดัน
ส่งเสริมการลงทุ นกว่า 359359,000 คัน ต่อ ปี
พิมพ์ภัทรา วิชัยกุล? รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการ
ขับเคลื่อนและติดตามนโยบายการส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ครั้งที่ 1/2566 เผยที่ประชุมรับทราบ
และเห็นชอบแนวทางการดำเนินงาน หลัง สศอ. ในฐานะเลขานุการฯ นำเสนอ พร้อม เตรียม รับเป็นฐานการผลิต
ยานยนต์ไฟฟ้า ในปี 2567 ตามแผนส่งเสริมการลงทุน รวม 359,000 คัน ต่อ ปี
นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ในฐานะ ประธานการประชุม
คณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตามนโยบายการส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ครั้งที่ 1/2566 เปิดเผยว่า
คณะกรรมการฯ ได้รับทราบ และเห็นชอบแนวทางการดำเนินงานที่สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ในฐานะ
ฝ่าย เลขานุการฯ นำเสนอ ได้แก่ ความคืบหน้าของการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า แนวทางการส่งเสริม
การดัดแปลงรถยนต์ไฟฟ้าขนาดใหญ่ ( EV Conversion) แนวทางการส่งเสริม System Integrator (SI) สำหรับ
อุตสาหกรรมการผลิต รวมถึง แนวทางการส่งเสริมและจัดการแบตเตอรี่ในประเทศ ทั้งนี้ ได้ มอบหมายให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหารือในรายละเอียด ข้อกฎหมาย และ รับฟังเสียงสะท้อนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตามระเบียบขั้นตอน เพื่อกำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการเปลี่ยนผ่านไปสู่อุตสาหก รรมผลิตยานยนต์ไฟฟ้า
ครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าทุกประเภททั้งรถขนาดเล็ก เช่น รถจักรยานยนต์ รถยนต์
รถกระบะ ไปจน ถึง รถขนาดใหญ่ เช่น รถโดยสาร รถบรรทุก และ การส่งเสริมการผลิตและการจัดการซากตลอด
ช่วงชีวิตการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้า หรือ End of Life Vehicle (ELV) นอกจากนี้ ที่ ประชุมได้แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น
และข้อเสนอแนะต่อการขับเคลื่อนนโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ทั้งในส่วนของการสร้างเครือข่ายผู้ผลิต
เครื่องจักรกลอัตโนมัติในกระบวนการผลิต และ EV Conversion อาทิ รถขนขยะมูลฝอย รถบรรทุกน้ำ รวมถึง
แนวทางการส่งเ สริมกระบวนการจัดการแบตเตอรี่สำหรับรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อขยายความต้องการลงทุนผลิต
ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศ
นางวรวรรณ ชิตอรุณ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ในฐานะเลขานุการฯ ได้นำเสนอ
ความคืบหน้าของ การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ทั้งด้านการผลิต การใช้ และ การพัฒนา โครงสร้าง
พื้นฐาน ตาม แผน 30@30 เช่น มาตรการส่งเสริมการลงทุน และ มาตการ EV3 ซึ่งประสบความสำเร็จ ด้วยดี
โดยในช่วง 11 เดือนแรกของปี 2566 มียอดจดทะเบียนรถ ไฟฟ้า (Battery Electric Vehicle :BEV) รวม 67,056 คัน
ซึ่งเติบโตมากกว่ ว่าร้อยละ 690 หรื 7 .9 เท่า เมื่อ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน ที่อยู่ที่ 8,483 คัน
ทำให้ ตลาด EV ไทยเป็นอันดับ 1 ของอาเซียน มี ผู้เข้ามาลงทุนผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนในประเทศเพิ่มขึ้น
โดยมีผู้ที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุนผลิต
โดยมีผู้ที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุนผลิต BEV คิดเป็นมูลค่า 39คิดเป็นมูลค่า 39,579 ล้านบาท 579 ล้านบาท กำลังผลิตรวม กำลังผลิตรวม 359,000 คันคันต่อต่อปีปี และและผู้ที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุนผลิตชิ้นส่วน คิดเป็นมูลค่า 35ผู้ที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุนผลิตชิ้นส่วน คิดเป็นมูลค่า 35,303 ล้านบาท303 ล้านบาท นอกจากนี้ นอกจากนี้ ได้นำเสนอได้นำเสนอ แนวทางการส่งเสริมการดัดแปลงรถยนต์แนวทางการส่งเสริมการดัดแปลงรถยนต์ ((EV Conversion) โดยเป็นโดยเป็นการการสร้างสร้างต้นแบบการดัดแปลงรถขนาดใหญ่ต้นแบบการดัดแปลงรถขนาดใหญ่ให้เป็นยานยนต์ไฟฟ้า เช่น รถขนขยะมูลฝอย ให้เป็นยานยนต์ไฟฟ้า เช่น รถขนขยะมูลฝอย และและรถบรรทุกน้ำ เพื่อสนับสนุนการใช้รถบรรทุกน้ำ เพื่อสนับสนุนการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าที่ผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่ผลิต ในประเทศในประเทศ ในราคาที่เหมาะสมและเข้าถึงได้ในราคาที่เหมาะสมและเข้าถึงได้ โดยโดยให้ให้คำนึงถึงการพัฒนาต้นแบบคำนึงถึงการพัฒนาต้นแบบยานยนต์ยานยนต์ที่มีประสิทธิภาพ ที่มีประสิทธิภาพ และและปลอดภัยปลอดภัย รวมไปถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีรวมไปถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีและสร้างมาตรฐานและสร้างมาตรฐานในการดัดแปลงยานยนต์ไฟฟ้าให้กับในการดัดแปลงยานยนต์ไฟฟ้าให้กับผู้ประกอบการผู้ประกอบการ โดยโดยมอบหมายให้สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมดำเนินการกำหนดมาตรมอบหมายให้สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมดำเนินการกำหนดมาตรการการ และและกลไกในการขับเคลื่อนการส่งเสริมยานยนต์กลไกในการขับเคลื่อนการส่งเสริมยานยนต์ดัดแปลงประเภทต่าง ๆ ผ่านคณะอนุกรรมการฯ ซึ่งอยู่ภายใต้ดัดแปลงประเภทต่าง ๆ ผ่านคณะอนุกรรมการฯ ซึ่งอยู่ภายใต้คณะกรรมการนโยบายยานยนต์ไฟฟ้าแห่งชาติต่อไปคณะกรรมการนโยบายยานยนต์ไฟฟ้าแห่งชาติต่อไป
ขณะเดียวกัน
ขณะเดียวกัน ได้นำเสนอแนวทางการส่งเสริม ได้นำเสนอแนวทางการส่งเสริม System Integrator (SI) สำหรับอุตสาหกรรมการผลิต สำหรับอุตสาหกรรมการผลิต โดยกระทรวงอุตสาหกรรมได้จัดทำมาตรการพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในกระบวนการผลิต โดยกระทรวงอุตสาหกรรมได้จัดทำมาตรการพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในกระบวนการผลิต ครอบคลุมมาตรการทางภาษีและมิใช่ภาษี โดยมีมาตรการที่มุ่งเน้นครอบคลุมมาตรการทางภาษีและมิใช่ภาษี โดยมีมาตรการที่มุ่งเน้นเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ System Integrator (SI) ผ่านผ่านการดำเนินงานการดำเนินงาน เช่น เช่น พัฒนาบุคลากร พัฒนาบุคลากร System Integrator (SI) System Integrator (SI) จำนวน 1,301 คน จำนวน 1,301 คน และและบุคลากรในบุคลากรในสถานประกอบการ จำนวน 3,665 คน สถานประกอบการ จำนวน 3,665 คน รวมทั้งพัฒนาต้นแบบหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติรวมทั้งพัฒนาต้นแบบหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ จำนวน 185 ต้นแบบจำนวน 185 ต้นแบบ ซึ่งซึ่งปัจจุบันมีปัจจุบันมี System Integrator (SI) ที่ที่ขึ้นขึ้นทะเบียนรายกิจการทะเบียนรายกิจการ จำนวน จำนวน 1121 กิจการกิจการ ผ่านกลไกผ่านกลไกศูนย์ความเป็นเลิศศูนย์ความเป็นเลิศ ด้าด้านนเทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ Center of Robotics Excellence (CoRE) มีผู้ประกอบการมีผู้ประกอบการขอรับขอรับการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตผลิตไปใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ จำนวน 271 กิจการ ไปใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ จำนวน 271 กิจการ มูลค่ารวม 27,710 ล้านบาทมูลค่ารวม 27,710 ล้านบาท ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ ได้แลกเปลี่ยนความเห็นต่อแนวทางการส่งเสริม ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ ได้แลกเปลี่ยนความเห็นต่อแนวทางการส่งเสริม System Integrator (SI) ให้มีศักยภาพและเพียงพอให้มีศักยภาพและเพียงพอสำหรับอุตสาหกรรมการผลิต สำหรับอุตสาหกรรมการผลิต รวมถึงการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมที่ใช้รวมถึงการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เช่น เทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การผลิตยานยนต์ไฟฟ้า การผลิตยานยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจะเป็นโอกาสที่ดีของซึ่งจะเป็นโอกาสที่ดีของ SI ไทยที่จะสามารถเชื่อมโยงอุตสาหกรรมไทยที่จะสามารถเชื่อมโยงอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของไทย เข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและชิ้นส่วนในประเทศได้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของไทย เข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและชิ้นส่วนในประเทศได้
นอกจากนี้
นอกจากนี้ ยังยังได้นำเสนอแนวทางการได้นำเสนอแนวทางการส่งเสริม และจัดการแบตเตอรี่ในประเทศ สร้างมูลค่าจากการส่งเสริม และจัดการแบตเตอรี่ในประเทศ สร้างมูลค่าจากการจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้วจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้วเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ตามนโยบายตามนโยบายเศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ประกอบด้วยประกอบด้วย กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขกำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการนำมาใช้ซ้ำ (การนำมาใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เนื่องจากแบตเตอรี่มีมูลค่าสูง เนื่องจากแบตเตอรี่มีมูลค่าสูง ซึ่งซึ่งจากจากผลการศึกษาผลการศึกษาที่ที่ได้ประเมินว่าแบตเตอรี่จากยานยนต์ไฟฟ้าที่ใช้แล้ว ได้ประเมินว่าแบตเตอรี่จากยานยนต์ไฟฟ้าที่ใช้แล้ว ยังสามารถนำมาใช้ซ้ำในอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า หรือ การผลิตอุปกรณ์สำรองไฟฟ้า (ยังสามารถนำมาใช้ซ้ำในอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า หรือ การผลิตอุปกรณ์สำรองไฟฟ้า (Energy Storage System: ESS) และและส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมดิจิทัล เช่น ส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมดิจิทัล เช่น Cloud Service โดยคณะกรรมการฯ โดยคณะกรรมการฯ
ได้มอบหมายให้
ได้มอบหมายให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ สำนักงานมาตรฐสำนักงานมาตรฐานานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องในการควบคุม และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องในการควบคุม และติดตามการจัดการแบตเตอรี่ให้เหมาะสม ติดตามการจัดการแบตเตอรี่ให้เหมาะสม โดยโดยกระทรวงอุตสาหกรรมจะกระทรวงอุตสาหกรรมจะดำเนินการดำเนินการแต่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ เพื่อตั้งคณะอนุกรรมการฯ เพื่อศึกษารายละเอียด และกำหนดแนวทางการส่งเสริมในเรื่องดังกล่าวศึกษารายละเอียด และกำหนดแนวทางการส่งเสริมในเรื่องดังกล่าวให้เป็นรูปธรรมให้เป็นรูปธรรมต่อไปต่อไป
สำหรับ
สำหรับการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตามนโยบายการส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตามนโยบายการส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ครั้งที่ 1/2566 ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2566 มีนางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล เป็นประธานการประชุม พร้อมด้วยเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2566 มีนางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล เป็นประธานการประชุม พร้อมด้วย นายดนัยณัฏฐ์ โชคอำนวย ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นางรัดเกล้า อินทวงศ์ สุวรรณคีรี นายดนัยณัฏฐ์ โชคอำนวย ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นางรัดเกล้า อินทวงศ์ สุวรรณคีรี รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน นายนายณัฐพล ณัฐพล รังสิตพล ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงอุตสาหกรรม และผู้ทรงคุณวุฒิจากรังสิตพล ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงอุตสาหกรรม และผู้ทรงคุณวุฒิจาก หลายหน่วยงานหลายหน่วยงานเข้าร่วมการประชุมเข้าร่วมการประชุม โดยมีนางวรวรรณ ชิโดยมีนางวรวรรณ ชิตอรุณ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ตอรุณ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เป็นกรรมการและเลขานุการเป็นกรรมการและเลขานุการ ณ ห้องประชุมชุณหะวัณ กระทรวงอุตสาหกรรมณ ห้องประชุมชุณหะวัณ กระทรวงอุตสาหกรรม
สศอ.
สศอ. 14 ธันวาคม ธันวาคม 2566
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม