สศอ.
เผย ดัชนี MPI เดือน พ ย . 2566 หดตัวร้อยละ 4.71 และ 11 เดือนแรกหดตัวร้อยละ 5. 01
ลุ้นการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมกลับมาขยายตัว หนุนดัชนีอุตฯ ฟื้นต่อเนื่อง
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ
เผยดัชนี ผล ผลิตอุตสาหกรรม ( MPI) เดือน พฤศจิกายน
ปี 2566 อยู่ ที่ ระดับ 90.8.83 หดตัว ร้อยละ 4.4.71 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ส่งผลให้ 111 เดือนแรก
ของปี 2566 หดตัว ร้อยละ 5. 01 หลัง จาก เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวช้า และ เศรษฐกิจโลก ที่ ชะลอตัว
คาด การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่กลับมาขยายตัว จะส่งผลบวกต่อ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ต่อเนื่อง
นางวรวรรณ ชิตอรุณ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปิดเผยว่า ดัชนีผลผลิต
อุตสาหกรรม ( MPI) เดือน พฤศจิกายน ปี 256 2566 อยู่ที่ระดับ 90.8.83 หดตัว ร้อยละ 4.4.71 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปีก่อน ส่งผลให้ 111 เดือนแรกของปี 2566 หดตัว ร้อยละ 5.0 5.01 ด้าน อัตราการใช้กำลังการผลิต เดือน
พฤศจิกายน อยู่ที่ ร้ อยละ 57.887 และ 111 เดือนแรกอยู่ที่ เฉลี่ย ร้อยละ 5 9 .3.38 เนื่องจาก เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัว
ได้ ช้ จากปัญหาหนี้ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ผู้บริโภคยังคงระมัดระวังในการจับจ่ายใช้สอย และ
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่เพิ่มสูงขึ้นทำให้ต้นทุนทางการเงินและภาระหนี้ของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น รวมถึง เศรษฐกิจ
ประเทศคู่ค้ายังคงชะลอตัว เนื่องจากนโยบายการเงินของต่างประเทศยังคงตรึงอัตราดอกเบี้ยในระดับสูง
อย่างไรก็ตาม ภาคการท่องเที่ยว ยังคงขยายตัว ทำให้ความต้องการสินค้าอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะกลุ่ม
ผลิตภัณฑ์การกลั่นปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์กลุ่มอาหาร สะท้อน การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมในเดือน
พฤศจิกายน มี มูลค่าการส่งออกรวมขยายตัวร้อยละ 3.37 และการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมหักทองขยายตัว
ร้อยละ 2.94 โดยคาดว่า จะส่งผลทำให้ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมดีขึ้นในช่วงเวลาหลังจากนี้
นอกจากนี้ ระบบ การเตือนภัยด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ภาพรวม ของไทยเดือน ธันวาคม 2566
?ส่งสัญญาณเฝ้าระวัง เพิ่มขึ้น จาก ปัจจัยภายในประเทศ ที่ ส่งสัญญาณเฝ้าระวัง ในทุกองค์ประกอบ โดย ดัชนี
ความเชื่อมั่นทางธุรกิจ ปรับตัวลดลงจาก ความเชื่อมั่น ที่ไม่ใช่ ภาค การผลิตลดลง กำลังซื้อของผู้บริโภคยังฟื้นตัวไม่
เต็มที่ และ ภาคการก่อสร้างที่ส่วนหนึ่งได้รับผลกระทบจากงบ ประมาณ ปี 2567 ที่ล่าช้า ส่งผลต่อการประมูล
โครงการก่อสร้างของภาครัฐ และ ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมยังกังวลต่อการขึ้นค่าแรง ในขณะที่ ปัจจัย
ต่างประเทศ ส่งสัญญาณเฝ้าระวังต่อเนื่อง โดยภาคการผลิตของญี่ปุ่นยังคงหดตัว ส่วนสหภาพยุโรปและ
สหรัฐอเมริกายังกังวลเรื่องเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยที่ยังอยู่ในระดับสูง
สำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตเดือนสำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตเดือนพฤศจิกายนพฤศจิกายน 2566 เมื่อเทียบกับ 2566 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 29.9129.91 จากการผลิตจากการผลิตสินค้าในกลุ่มที่ใช้สำหรับการเดินทางเป็นหลัก ได้แก่ น้ำมันดีเซล สินค้าในกลุ่มที่ใช้สำหรับการเดินทางเป็นหลัก ได้แก่ น้ำมันดีเซล น้ำมันเครื่องบิน น้ำมันเครื่องบิน แก๊สโซฮอล์แก๊สโซฮอล์ และน้ำมันเตาและน้ำมันเตา จากกิจกรรมการเดินทางในประเทศจากกิจกรรมการเดินทางในประเทศที่ที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับการหยุดซ่อมบำรุงโรงกลั่นในปีก่อนเพิ่มขึ้น ประกอบกับการหยุดซ่อมบำรุงโรงกลั่นในปีก่อน
เครื่องประดับเพชรพลอยแท้
เครื่องประดับเพชรพลอยแท้ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 12.9112.91 จากแหวน สร้อย และจากแหวน สร้อย และเพชร เพชร เป็นหลัก โดยขยายตัวทั้งตลาดในประเทศและตลาดส่งออก ประเทศคู่ค้าหลักกลับเข้าสู่ภาวะปกติมากขึ้นทั้งเป็นหลัก โดยขยายตัวทั้งตลาดในประเทศและตลาดส่งออก ประเทศคู่ค้าหลักกลับเข้าสู่ภาวะปกติมากขึ้นทั้งการท่องที่ยวหรือการจัดงานแสดงอัญมณี และเร่งคำสั่งซื้อรองรับความต้องการในช่วงเทศกาลการท่องที่ยวหรือการจัดงานแสดงอัญมณี และเร่งคำสั่งซื้อรองรับความต้องการในช่วงเทศกาลปีใหม่ปีใหม่
สายไฟและเคเบิลอื่น
สายไฟและเคเบิลอื่น ๆๆ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 24.8924.89 จากสายไฟฟ้าเป็นหลัก จากสายไฟฟ้าเป็นหลัก เนื่องจากเนื่องจากการขยายตัวของตลาดในประเทศ การขยายตัวของตลาดในประเทศ รวมถึงรวมถึงการส่งมอบตามคำสั่งซื้อของการไฟฟ้าการส่งมอบตามคำสั่งซื้อของการไฟฟ้า
เยื่อกระดาษ กระดาษ และกระดาษแข็ง
เยื่อกระดาษ กระดาษ และกระดาษแข็ง ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 14.1814.18 เนื่องจากเนื่องจากความต้องการใช้ในกลุ่มบรรจุภัณฑ์ที่ขยายตัว ความต้องการใช้ในกลุ่มบรรจุภัณฑ์ที่ขยายตัว รวมถึงรวมถึงราคาเยื่อกระดาษ กระดาษแข็งและกระดาษคราฟท์ปรับตัวราคาเยื่อกระดาษ กระดาษแข็งและกระดาษคราฟท์ปรับตัวลดลงทำให้มีคำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นลดลงทำให้มีคำสั่งซื้อเพิ่มขึ้น
เส้นใยประดิษฐ์
เส้นใยประดิษฐ์ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 29.3129.31 จากเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยประดิษฐ์อื่นๆ เนื่องจากการขยายตัวของตลาดส่งออกและตลาดในประเทศ โดยเป็นตามคำสั่งซื้อในอุตสาหกรรมประดิษฐ์อื่นๆ เนื่องจากการขยายตัวของตลาดส่งออกและตลาดในประเทศ โดยเป็นตามคำสั่งซื้อในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เช่น ชิ้นส่วนอุปกรณ์รถยนต์ ของตกแต่งบ้าน เชือก และต่อเนื่อง เช่น ชิ้นส่วนอุปกรณ์รถยนต์ ของตกแต่งบ้าน เชือก และสายเคเบิสายเคเบิลล
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)
Index
2565
2566
2566
ก.ค.
ก.ค.
ส.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ก.ย.
ต
ต.คค.
พ
พ.ยย.
ธ.ค.
ธ.ค.
มิ.ย.
มิ.ย.
ก.ค.
ก.ค.
ส.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ก.ย.
ต.ค.
ต.ค. พ.ย.พ.ย.
ดัชนีผลผลิต
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอุตสาหกรรม
95.36
99.34
97.50
93.39
95.32
93.63
92.76
90.88
91.64
91.34
89.36 90.83
อัตราการ
อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((MOM) %) %
-2.34
4.17
-1.85
-4.22
2.07
-1.77
-2.24
-2.03
0.84
-0.32
-2.17 1.64
อัตราการ
อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((YOY) %) %
6.00
14.60
3.01
-4.27
-5.30
-8.45
-5.00
-4.69
-7.75
-6.32
-4.31 -4.71
อัตราการใช้
อัตราการใช้กำลังการผลิตกำลังการผลิต
60.84
63.87
63.57
60.07
61.34
59.56
59.22
58.09
57.91
58.05
56.79 57.87
ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่
ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคมธันวาคม 25666
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม